ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ata, -ata- Possible hiragana form: あた |
|
| *มีน* | [ไทยたべる Thai 食べる.Kanji Katakana] slang colloqial pl sg meen, mean, maen I มีน |
| | unbeatable | (adj) ไม่มีทางแพ้, หาใครเทียบไม่ได้ เช่น You can get a quote right now for your van by soliciting our services and we will provide you with unbeatable van insurance immediately or your money back., Syn. invincible | avatar | (n) ตัวแทนตัวตนของเราในโลกเสมือนจริงหรืออินเทอร์เน็ต, ตัวตนจำลอง, See also: repretation | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | big data | (n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | avatar | (n) อวทาร์, รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกม ซึ่งอาจเป็นสองมิติหรือสามมิติก็ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | catastrophic | (adj) ให้ผลหายนะอย่างใหญ่หลวง |
| cata | (prf) ลง, See also: ผ่าน | data | (n) ข้อมูล, See also: ตัวเลข, สถิติ, Syn. information, facts | fatal | (adj) ซึ่งทำให้ถึงตาย, See also: ซึ่งรักษาไม่ได้, Syn. curely, deadly, incurable, Ant. curable | fatal | (adj) ซึ่งทำให้ล้มเหลว, See also: ซึ่งทำให้หายนะ, Syn. annihilating, fateful | natal | (adj) เกี่ยวกับการเกิด, See also: โดยกำเนิด, Syn. native, aboriginal, Ant. nonnative | Qatar | (n) ประเทศการ์ต้า | Qatar | (n) การ์ต้า | Satan | (n) ซาตาน, See also: ภูตผี, ปีศาจ, Syn. Mephistopheles, devil | satang | (n) สตางค์ (หน่วยเงินตราไทย 1 บาท เท่ากับ 100 สตางค์) | sonata | (n) ดนตรีที่เรียบเรียงสำหรับเครื่องดนตรีหนึ่งหรือสองชิ้น | biodata | (n) ข้อมูลเกี่ยวกับคนหรือสิ่งที่ทำในชีวิต | blatant | (adj) ชัดแจ้ง, See also: โจ่งแจ้ง, Syn. downright, clear, Ant. inconspicuous | cantata | (n) การเล่นดนตรีและร้องเพลงที่มีเนื้อหาทางศาสนา | catalog | (adj) เกี่ยวกับบัญชีรายชื่อ, Syn. catalogue | catalog | (n) บัญชีรายชื่อ, Syn. catalogue, list | catalog | (vt) บันทึกในบัญชีรายชื่อ, Syn. catalogue, record | catalog | (n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, Syn. catalogue | eatable | (adj) ที่กินได้, See also: ซึ่งใช้กินได้, ซึ่งเหมาะสำหรับกินได้, Syn. edible, palatable | eatable | (n) อาหาร, See also: ของกิน, Syn. food, victual | fatally | (adv) อย่างปางตาย, Syn. terribly, hopelessly | matador | (n) นักสู้วัวในกีฬาสู้วัว, See also: มาทาดอร์, Syn. bullfighter | palatal | (adj) เกี่ยวกับเพดานปาก | ratable | (adj) ซึ่งประเมินได้, See also: ซึ่งตีราคาได้, Syn. rateable | ratafia | (n) เหล้าทำจากผลไม้ | satanic | (adj) เกี่ยวกับซาตาน, See also: เป็นลักษณะของซาตาน, ชั่วร้าย, Syn. evil, malicious, vicious | blatancy | (n) ความชัดแจ้ง, See also: ความโจ่งแจ้ง | catacomb | (n) หลุมฝังศพใต้ดินที่มีหลายๆ ห้อง, Syn. underground cemetery | catalyst | (n) คนหรือสิ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง, Syn. spur, impetus, instigator | catalyst | (n) ตัวเร่งปฎิกิริยา, Syn. accelerator, chemical reactor | catalyze | (vt) ทำให้เป็นตัวกระตุ้น | catapult | (vt) ขว้างหรือยิงก้อนหิน, Syn. fling | catapult | (n) เครื่องยิงในสมัยโบราณ | catapult | (vt) เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว | catapult | (n) หนังสติ๊กรูปตัววี, See also: ไม้หนังสติ๊กรูปตัววาย Y, Syn. slingshot, sling | cataract | (n) ต้อ, See also: ต้อกระจก, ต้อแก้วตา | cataract | (n) น้ำตกที่สูงชัน, Syn. waterfall, rapids | database | (n) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ, Syn. data bank | dilatant | (adj) ซึ่งขยายออกได้, See also: ซึ่งแผ่ออก | fatality | (n) ความตายที่มาจากอุบัติเหตุหรือสงคราม, See also: ความตาย, Syn. accident, dying, mortality | miasmata | (n) สิ่งที่เป็นพิษ | natality | (n) อัตราการเกิด, Syn. birth rate | neonatal | (adj) เกี่ยวกับเด็กแรกเกิด | prenatal | (adj) ก่อนคลอด, Syn. fetal, before birth | ratables | (n) ภาษีรายได้จากทรัพย์สิน | cataclysm | (n) การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง (โดยเฉพาะทางสังคมหรือการเมือง) | cataclysm | (n) การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงของเปลือกโลก, Syn. catastrophe | cataclysm | (n) ความหายนะ, See also: ความพินาศ, Syn. disaster | catalepsy | (n) การเจ็บป่วยที่ผู้ป่วยไม่สามารถขยับเขยื้อนตนเองได้ | catalogue | (adj) เกี่ยวกับบัญชีรายชื่อ, Syn. catalog | catalogue | (n) บัญชีรายชื่อ, Syn. catalog, list |
| acatalectic | เอแคททะเลค' ทิค) adj. สมบูรณ์ | acataposis | ความยากในการกลืน | acroataxia | ภาวะที่นิ้วมือนิ้วเท้าไม่ประสานกัน | anatase | (แอน' นะเทส) n. แร่จำพวก titanium dioxide., Syn. octahedrite | antenatal | (แอนทีเน' เทิล) adj. ก่อนเกิด | ataghan | (แอท'ทะแกน) n. yataghan | ataraxia | (แอททะแรก'เซีย, -ซี) n. ภาวะสงบเงียบ, ภาวะไร้อารมณ์หรือความกังวล. -ataractic, ataxic adj. (tranquillity) | atavism | (แอท'ทะวิสซึม) n. การปรากฎลักษณะของบรรพบุรุษที่ขาดหายไปบางชั่วคน, สัตว์หรือพืชที่มีลักษณะดังกล่าว, การกลับคืนมาของลักษณะดังกล่าว. -atavist n. (reversion to an earlier type) | atavistic | (แอททะวิส 'ทิค) adj. เกี่ยวกับหรือมีลักษณะของ atavism | ataxia | (อะแทค'เซีย, -ซี) n. ภาวะกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน (โดยเฉพาะกล้ามเนื้อแขนขา) . -ataxic adj. เดินโซเซ | autocatalysis | (ออโทคะแทล'ลิซิส) n., (pl. -ses) ภาวะที่เพิ่มขึ้นของปฏิกริยาทางเคมีเนื่องจากตัวกระตุ้น (catalyst) ที่เกิดขึ้น. -autocatalytic adj. | automata | (ออทอม'มาทะ) พหูพจน์ของ automation | automatic data processing | ขบวนการป้อนข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ ใช้อักษรย่อว่า ADP | avatar | (แอฟวะทาร์') n. อวตาร, การจุติลงมาเกิดของเทพในศาสนาพราหมณ์, ร่างอวตาร, ร่างที่แบ่งภาค | blatant | (เบล'เทินทฺ) adj. ครึกโครม, ห้าว, ชัดเจน, โออวด, บาดตา, See also: blatancy n. ดูblatant, Syn. obtrusive, Ant. subtle | cantata | n. การร้องประสานเสียง | catabasis | (คะแทบ'บะซิส) n. การเดินขบวนสู่ฝั่งทะเล, การถอนทัพ -pl. catabases | catabiosis | (แค็ททะไบโอ'ซิส) n. การที่เซลล์เชื่อม | catabolism | (คะแทบ'บะลิซซึม) n. การสันดาปที่เป็นการทำลาย, การสลายตัวของสารเชิงซ้อนในสิ่งมีชีวิตเป็นสารที่ต่ำลง, See also: catabolic adj. ดูcatabolism, Syn. katabolism | catabolite | (คะแท็บโบไลท์) n. ผลิตผลของcatabolism | catacaustic | adj. เกี่ยวกับผิวหน้าหรือความโค้งที่เกิดจากการสะท้อนของแสง | catachresis | n. ศัพท์ที่ใช้ผิด, การใช้คำผิด, See also: catachrestic adj. ดู catachresis catachrestical adj. ดูcatachresis -pl . catachreses | cataclasite | (แคททะแคลส'ไซทฺ) n. หินที่แตกละเอียด | cataclatic | (แคททะแคลท'ทิค) adj. ซึ่งแตกละเอียด | cataclysm | (แคท'ทะคลิซ'ซึม) n. การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง (โดยเฉพาะทางการเมืองและสังคม) , ความเกลียด, ความหายนะ., See also: cataclysmic adj, ดูcataclysm cataclysmal adj. ดูcataclysm, Syn. disaster | catacomb | (แคท'ทะโคม) n. สุสานใต้ดิน, ห้องสุสานใต้ดิน, อุโมงค์เก็บเหล้า, Syn. underground cemetery | catacrotism | (คะแท็ค'โครทิสซึม) n. ชีพจรวิกล | catafalque | (แคท'ทะฟอลค) n. ที่ตั้งศพ, เชิงเทินตั่งศพ, รถบรรทุกศพ | catagenesis | (-เจ็น'นิซิส) n. การถอยหลังหรือinvolution | catalepsy | (แคท'ทะเลพซี) n. ภาวะการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อในร่างกายบางส่วน/ทำให้ร่างอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งชั่วขณะ, See also: cataleptic adj. ดูcatalepsy | catalog | (แคท'ทะลอก) n. บัญชีรายชื่อ, รายชื่อ, ระบบรายชื่อ vt. ใส่รายชื่อในบัญชีรายชื่อ, See also: cataloger, cataloguer, catalogist n. | catalogue | (แคท'ทะลอก) n. บัญชีรายชื่อ, รายชื่อ, ระบบรายชื่อ vt. ใส่รายชื่อในบัญชีรายชื่อ, See also: cataloger, cataloguer, catalogist n. | catalysis | (คะแทล'ลิซิส) n. การเร่งปฏิกิริยาทางเคมีโดยการเติมสารกระตุ้น, ปฏิกิริยาระหว่างบุคคลหรือแรงโดยมีตัวกระตุ้นที่ไม่ถูกกระทบกระเทือน, See also: catalytic adj. ดูcatalysis pl. catalyses, Syn. katalysis, stimulation | catalyst | (แคท'ทะลิสทฺ) n. ตัวเร่งปฏิกิริยา, ตัวเร่ง, Syn. katalyst | catalyze | (แคท'ทะไลซ) { catalyzed, catalyzing, catalyzes } vt. กระตุ้น, กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี, See also: catalyzer n. | catamaran n. | เรือลำคู่, เรือเล็ก, เรือใบน้ำตื้น | catamenia | n. ประจำเดือน, ระดู | catamount | n. สัตว์ป่าในตระกูลแมว, ผู้ที่ชอบทะเลาะวิวาท | cataneous haemorrhage | เลือดออกตามผิวหนัง | cataplasia | n. การเสื่อมของเนื้อเยื่อหรือเซลล์ | cataplasm | n. ยาพอก, ยาเหนียว, Syn. poulltice | cataplexy | n. ช็อคที่เกิดขึ้นอย่างกระทันหัน ซึ่งกล้ามเนื้อไร้กำลังและคนไข้ล้มลง | catapult | (แคท'ทะพัลทฺ) n. เครื่องเหวี่ยงขีปนาวุธ, หนังสติ๊ก, เครื่องเหวี่ยงกระสุน.vt. เหวี่ยงกระสุน | cataract | (แคท'ทะแรคทฺ) n. น้ำตกขนาดใหญ่, การไหลเชี่ยวของน้ำ, ฝนที่เทกระหน่ำลงมา, น้ำป่า, แก่งในแม่น้ำ, ต้อกระจก | catarrh | (คะทาร์') n. โรคหวัดที่มีน้ำมูกไหลออกมาก, See also: catarrhal adj. ดูcatarrh catarrhous adj. ดูcatarrh | catastrophe | (คะแทส'กระฟี) n. ความหายนะ, เหตุการณ์ที่ร้ายกาจ, ภัยพิบัติ, ตอนจบของละคร, จุดจบ, See also: catastrophic adj., Syn. disaster | catathermometer | n. เครื่องวัดความชื้นในอากาศ | celibatarian | (เซลลิบะแท'เรียน) n. ผู้ที่เป็นโสด | charlatan | (ชาร์'ละเทิน) n. กำมะลอ, หมอเถื่อน, นักต้ม, See also: charlatanistic adj. charlatanism n. charlatanish adj., Syn. impostor | charlatanry | (ชาร์'ละเทินรี) n. การหลอกลวงว่าเป็นผู้รู้หรือผู้ชำนาญ |
| blatant | (adj) อึกทึกครึกโครม, ดัง, โอ่อ่า, โอ้อวด | cataclysm | (n) น้ำท่วม, แผ่นดินไหว, มหาภัยพิบัติ, ความหายนะ, กลียุค | catacomb | (n) ที่ฝังศพ, สุสาน, อุโมงค์ใต้ดิน | catafalque | (n) เชิงตะกอน, ที่ตั้งศพ, จิตกาธาน, รถบรรทุกศพ | catalog | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า | catalog | (vt) ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ | catalogue | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า | catalogue | (vt) ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ | cataract | (n) แก่ง, น้ำป่า, โรคต้อกระจก | catarrh | (n) โรคหวัด | catastrophe | (n) ภัยพิบัติ, ความพินาศ, ความวิบัติ, ความหายนะ, เหตุร้าย | charlatan | (n) คนล่อลวง, คนปลิ้นปล้อน, คนคุยโต, หมอกำมะลอ | combatant | (adj) เกี่ยวกับการรบ, เกี่ยวกับการต่อสู้ | combatant | (n) ทหาร, ผู้ทำการรบ | data | (n) ข้อมูล, ตัวเลข, สถิติ, สิ่งที่รู้ | debatable | (adj) ซึ่งยังไม่ตกลงกัน, เป็นปัญหา, เป็นที่ถกเถียงกัน | eatable | (adj) น่ากิน, น่ารับประทาน, กินได้, รับประทานได้ | fatal | (adj) เกี่ยวกับเคราะห์กรรม, ร้ายแรง, ถึงตาย, เป็นอันตราย, ร้ายกาจ | fatality | (n) เคราะห์กรรม, อุบัติเหตุ, โชคชะตา, อุปัทวเหตุ | fatally | (adv) อย่างเป็นอันตรายถึงชีวิต, ตามโชคชะตา, ตามพรหมลิขิต | matador | (n) มาธาดอร์ | natal | (adj) เกี่ยวกับการเกิด | natation | (n) การลอยน้ำ, การว่ายน้ำ | noncombatant | (adj) ไม่เกี่ยวกับการรบ | noncombatant | (n) พลเรือน | palatable | (adj) อร่อย, โอชะ, ถูกปาก, น่ากิน, หวาน, เป็นที่พอใจ | satan | (n) ปีศาจ, ผี, มาร, ซาตาน, ภูตผี | sonata | (n) บทเพลงเข้าเปียโน | strata | (n pl ของ) stratum | stratagem | (n) ยุทธวิธี, เล่ห์เหลี่ยม, อุบาย, กลยุทธ์, กุศโลบาย, แผนการ |
| pro rata (L.) | ตามสัดส่วน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pro rata premium | เบี้ยประกันภัยที่แบ่งชำระเป็นงวด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | prodrome; prodromata | อาการบอกเหตุ, อาการบอกเหตุโรค, อาการบอกล่วงหน้าโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prenatal | -ก่อนเกิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | procatarctic; predisposing | -โน้มเอียงเกิดโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palatine; palatal | -เพดาน(ปาก) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | placenta fenestrata | รกโหว่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prodromata; prodrome | อาการบอกเหตุ, อาการบอกเหตุโรค, อาการบอกล่วงหน้าโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | predeciduous tooth; tooth, neonatal | ฟันน้ำนมเด็กแรกเกิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | plica fimbriata; fimbriated fold | ส่วนทบหยัก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | plicated tongue; lingua plicata; tongue, cerebriform; tongue, crocodile; tongue, fissured; tongue, furrowed; tongue, grooved; tongue, scrotal; tongue, sulcated; tongue, wrinkled | ลิ้นย่นริ้ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | post-neo-natal mortality | ภาวะการตายของทารกหลังระยะแรกเกิด (ระหว่าง ๑ เดือนถึง ๑ ปีบริบูรณ์) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | packet; data packet | กลุ่ม, กลุ่มข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | postdam area; posterior palatal seal area; postpalatal seal area | ส่วนกั้นท้ายฟันปลอม [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | persona grata (L.) | บุคคลที่พึงปรารถนา (ทางการทูต) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | persona non grata (L.) | บุคคลที่ไม่พึงปรารถนา (ทางการทูต) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | persona non grata | บุคคลไม่พึงปรารถนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | patatopharyngeal arch; palatopharyngeal arch; posterior pillar | รอยนูนโค้งหลังทอนซิล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | predisposing; procatarctic | -โน้มเอียงเกิดโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prataksina | ประทักษิณ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | postnatal | -หลังคลอด (ลูก) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | postpalatal seal area; postdam area; posterior palatal seal area | ส่วนกั้นท้ายฟันปลอม [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | palatal; palatine | -เพดาน(ปาก) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palatal; palatal sound | เสียงจากเพดานแข็ง, ตาลุชะ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | palatal arch | ส่วนโค้งเพดานปาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palatal plate | แผ่นด้านเพดาน(ปาก) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | palatal root; lingual root | รากฟันด้านเพดานปาก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | palatal sound; palatal | เสียงจากเพดานแข็ง, ตาลุชะ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | palatal strap | แถบยึดด้านเพดาน(ปาก) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | palatal surface | ๑. ด้าน(ฟัน)ทางเพดานปาก๒. พื้นผิว(ฟัน)ทางเพดานปาก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | palatalization | ลักษณะลิ้นส่วนหน้าสู่เพดานแข็ง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | phosphataemia; hyperphosphataemia; hyperphosphatemia; phosphatemia | ภาวะเลือดมีฟอสเฟตเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | phosphatemia; hyperphosphataemia; hyperphosphatemia; phosphataemia | ภาวะเลือดมีฟอสเฟตเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pancrealgia; pancreatalgia | อาการปวดตับอ่อน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pancreatalgia; pancrealgia | อาการปวดตับอ่อน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pre-palatal | หน้าเพดานแข็ง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | primary data | ข้อมูลปฐมภูมิ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | posterior palatal seal; post palatal seal | ขอบผนึกท้ายเพดาน(ปาก) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | posterior palatal seal area; postdam area; postpalatal seal area | ส่วนกั้นท้ายฟันปลอม [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | posterior pillar; palatopharyngeal arch; patatopharyngeal arch | รอยนูนโค้งหลังทอนซิล [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | private data network | เครือข่ายข้อมูลส่วนบุคคล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pronatalist | ผู้สนับสนุนการเกิด, ที่สนับสนุนการเกิด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | pro rata reinsurance | การประกันภัยต่อแบบตามสัดส่วน มีความหมายเหมือนกับ proportional reinsurance [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | pro rata reinsurance | การประกันภัยต่อแบบตามสัดส่วน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pro-rata premium | มีความหมายเหมือนกับ fractional premium [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | perinatal | -ปริสูติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | perinatal death | การตายปริชาตะ (การตายของทารกก่อนคลอดหรือแรกเกิด) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | perinatal mortality | ภาวะการตายปริชาตะ (ภาวะการตายของทารกก่อนคลอดหรือแรกเกิด) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | perinatal mortality rate | อัตราภาวะการตายปริชาตะ (อัตราภาวะการตายของทารกก่อนคลอดหรือแรกเกิด) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | perinatal mortality ratio | อัตราส่วนภาวะการตายปริชาตะ (อัตราส่วนภาวะการตายของทารกก่อนคลอดหรือแรกเกิด) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
| Catalog card | บัตรรายการ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Metadata | เมทาดาทา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database | ฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Data mining | ดาต้าไมนิง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Eletronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Data content | เนื้อหาข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Anglo-American Cataloguing Rules | หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน, Example: เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Catalog card | บัตรรายการ, Example: บัตรที่บันทึกรายการต่างๆ ซึ่งเป็นข้อมูลของหนังสือ รายการต่างๆ นั้น ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ภาพประกอบ ชื่อชุด หมายเหตุ รายการเลขมาตรฐานสากล และแนวสืบค้น ซึ่งบัตรรายการนี้ เป็นเครื่องมือสำหรับผู้อ่านในการค้นหาหนังสือในห้องสมุด เนื่องจากในบัตรรายการจะประกอบด้วยเลขเรียกหนังสือด้วย <br> <br> การเรียงบัตรรายการแยกตามประเภทของบัตรผู้แต่ง บัตรชื่อเรื่อง บัตรหัวเรื่อง ภายใต้บัตรแต่ละประเภทนั้น จัดเรียงตามลำดับตัวอักษรแบบพจนานุกรม <br> <br> บัตรรายการทำด้วยกระดาษขนาด 3x5 นิ้ว ด้านล่างของบัตรเจาะรูสำหรับร้อยบัตรเก็บไว้ในลิ้นชักตู้บัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cataloging | การทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cataloging in Publication | การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Data content | เนื้อหาข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Data mining | ดาต้าไมนิง, Example: <p>การทําเหมืองข้อมูล (Data Mining) คือ กระบวนการจัดการกับข้อมูลจํานวนมากเพื่อค้นหารูปแบบและความสัมพันธ์ที่ซ่อนอยู่ในชุดข้อมูลนั้น ในปัจจุบันการทําเหมืองข้อมูลได้ถูกนําไปประยุกต์ใช้ในงานหลายประเภท ทั้งในด้านธุรกิจที่ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร ในด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ รวมทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม <p>การทําเหมืองข้อมูลเปรียบเสมือนวิวัฒนาการหนึ่งในการจัดเก็บและตีความหมายข้อมูล จากเดิมที่มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างง่าย มาสู่การจัดเก็บในรูปฐานข้อมูลที่สามารถดึงข้อมูลสารสนเทศมาใช้จนถึงการทําเหมืองข้อมูลที่สามารถค้นพบความรู้ที่ซ่อนอยู่ในข้อมูล <p>วิวัฒนาการของการทำเหมืองข้อมูล <p>- 1960 Data Collection คือ การนําข้อมูลมาจัดเก็บอย่างเหมาะสมในอุปกรณ์ที่น่าเชื่อถือและป้องกันการสูญหายได้เป็นอย่างดี <p>- 1980 Data Access คือ การนําข้อมูลที่จัดเก็บมาสร้างความสัมพันธ์ต่อกันในข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการนําไปวิเคราะห์ และการตัดสินใจอย่างมีคุณภาพ <p>- 1990 Data Warehouse & Decision Support คือ การรวบรวมข้อมูลมาจัดเก็บลงไปในฐานข้อมูลขนาดใหญ่โดยครอบคลุมทุกด้านขององค์กร เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ <p>- 2000 Data Mining คือ การนําข้อมูลจากฐานข้อมูลมาวิเคราะห์และประมวลผล โดยการสร้างแบบจําลองและความสัมพันธ์ทางสถิติ <p>ขั้นตอนการทำเหมืองข้อมูล ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ <p>- Data Cleaning เป็นขั้นตอนสำหรับการคัดข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป <p>- Data Integration เป็นขั้นตอนการรวมข้อมูลที่มีหลายแหล่งให้เป็นข้อมูลชุดเดียวกัน <p>- Data Selection เป็นขั้นตอนการดึงข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์จากแหล่งที่บันทึกไว้ <p>- Data Transformation เป็นขั้นตอนการแปลงข้อมูลให้เหมาะสมสำหรับการใช้งาน <p>- Data Mining เป็นขั้นตอนการค้นหารูปแบบที่เป็นประโยชน์จากข้อมูลที่มีอยู่ <p>- Pattern Evaluation เป็นขั้นตอนการประเมินรูปแบบที่ได้จากการทำเหมืองข้อมูล <p>- Knowledge Representation เป็นขั้นตอนการนำเสนอความรู้ที่ค้นพบ โดยใช้เทคนิคในการนำเสนอเพื่อให้เข้าใจ <p>แหล่งข้อมูลสำหรับการทำเหมืองข้อมูล ได้แก่ Database, Data Warehouse, World Wide Web และ Other Info Repositories <p>ส่วนประกอบในการทำเหมืองข้อมูล <p>- Database หรือ Data Warehouse Server ทำหน้าที่นำเข้าข้อมูลตามคำขอของผู้ใช้ <p>- Knowledge Base ได้แก่ ความรู้เฉพาะด้านในงานที่ทำจะเป็นประโยชน์ต่อการสืบค้น หรือประเมินความน่าสนใจของรูปแบบผลลัพธ์ที่ได้ <p>- Data Mining Engine เป็นส่วนประกอบหลักประกอบด้วยโมดูลที่รับผิดชอบงานทำเหมืองข้อมูลประเภทต่างๆ ได้แก่ การหากฎความสัมพันธ์ การจำแนกประเภท การจัดกลุ่ม <p>- Pattern Evaluation Module ทำงานร่วมกับ Data Mining Engine โดยใช้มาตรวัดความน่าสนใจในการกลั่นกรองรูปแบบผลลัทธ์ที่ได้ เพื่อให้การค้นหามุ่งเน้นเฉพาะรูปแบบที่น่าสนใจ <p>- Graphic User Interface ส่วนติดต่อประสานระหว่างผู้ใช้กับระบบการทำเหมืองข้อมูล ช่วยให้ผู้ใช้สามารถระบุงานทำเหมืองข้อมูลที่ต้องการทำ ดูข้อมูลหรือโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล ประเมินผลลัพธ์ที่ได้ <p>ประเภทข้อมูลที่ใช้ทำเหมืองข้อมูล <p>- Relational Database เป็นฐานข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในรูปแบบของตาราง โดยในแต่ละตารางจะประกอบไปด้วยแถวและคอลัมน์ ความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมดสามารถแสดงได้โดย Entity Relationship Model <p>- Data Warehouses เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลายแหล่งมาเก็บไว้ในรูปแบบเดียวกันและรวบรวมไว้ในที่ๆ เดียวกัน <p>- Transactional Database ประกอบด้วยข้อมูลที่แต่ละทรานเเซกชันแทนด้วยเหตุการณ์ในขณะใดขณะหนึ่ง เช่น ใบเสร็จรับเงิน จะเก็บข้อมูลในรูปชื่อลูกค้าและรายการสินค้าที่ลูกค้ารายซื้อ <p>- Advanced Database เป็นฐานข้อมูลที่จัดเก็บในรูปแบบอื่นๆ เช่น ข้อมูลแบบ Object-Oriented ข้อมูลที่เป็น Text File ข้อมูลมัลติมีเดีย ข้อมูลในรูปของ Web <p>งานของ Data Mining ในทางปฏิบัติจริงจะประสบความสำเร็จกับงานบางกลุ่มเท่านั้น ไม่มีเทคนิคหรือเครื่องมือเพียงชนิดเดียวของ Data Mining ที่เหมาะสมกับงานทุกชนิด งานในแต่ละชนิดก็จะมีเทคนิคของ Data Mining ที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับชนิดของงาน <p>บรรณานุกรม <p>อดุลย์ ยิ้มงาม. การทําเหมืองข้อมูล (Data Mining). Aavailable at : http://compcenter.bu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=75&Itemid=172. Accessed July 25, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database | ฐานข้อมูล, Example: <p>ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง ที่รวมของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน แต่ละฐานข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) โดยแต่ละแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กลงมาอีกระดับหนึ่งเรียกว่า ระเบียน (Record) และแต่ละระเบียนประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล (Field) เขตข้อมูลประกอบไปด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กกรองลงไปอีก คือ ไบต์หรือ อักขระ (Character) <p>ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกเก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลผลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น การค้นคืน (Retrieval) การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย (Update) การจัดเรียง (Sorting) ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้มาแสดงผลทางหน้าจอ และสามารถพิมพ์ผลการค้นคืนออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกเก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้ <p>ฐานข้อมูล หากจัดแบ่งตามลักษณะของการแสดงผลหรือวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้ มี 2 ลักษณะ คือ <p>1. ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full text database) เป็นฐานข้อมูลที่มีข้อมูลสมบูรณ์ โดยที่ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการสืบค้น จะมีเนื้อหาเหมือนกับเอกสารต้นฉบับทุกประการ <p>2. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference database) หรือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic database) เป็นฐานข้อมูลที่เป็นการอ้างอิง หรือ ชี้แนะแหล่งให้ผู้ใช้ไปหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากต้นฉบับ หรือจากแหล่งปฐมภูมิ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ <p>บรรณานุกรม <p>คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Eletronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | MAchine Readable Cataloging | การลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้, Example: MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Names, Personal (Cataloging) | ชื่อบุคคล (การทำบัตรรายการ) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Card catalog cabinet | ตู้บัตรรายการ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet2.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Catalog | แค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cataloger | บรรณารักษ์ผู้ทำบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Catalog copy | บัตรร่าง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Corporate heading (Cataloging) | รายการนิติบุคคล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Descriptive cataloging | การลงรายการเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Serial Data System | ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ, Example: <p>ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ (ISDS) เป็นระบบที่ดำเนินการเก็บรวบรวมและสร้างแหล่งข้อมูลวารสารทั่วโลกด้วยคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้าเป็นสมาชิก ISDS ได้ โดยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับประเทศขึ้น ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้ รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ประเทศสมาชิก คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย <p>ISSN เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Metadata | เมทาดาทา, Example: เมทาดาทา คือ การอธิบายให้ทราบรายละเอียดของข้อมูล ซึ่งจะต้องคุณสมบัติ 2 ประการ คือ เป็นข้อมูลที่มีโครงสร้าง และ ต้องอธิบายถึงทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ <p>ความจำเป็นที่ต้องมีเมทาดาทา เกิดขึ้น เนื่องจากสารสนเทศที่สร้างขึ้นประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ลักษณะ คือ <p>1. เนื้อหา (Content) ของงาน เกี่ยวกับชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ต้นฉบับ (แำหล่งที่มา) ภาษา เรื่องที่เกี่ยวข้อง และขอบเขต <p>2. บริบท (Context) ของสารสนเทศ เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาของงาน เช่น ผู้เขียน ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สำนักพิมพ์ ผู้มีส่วนร่วมในผลงาน และสิทธิในงานนั้นๆ <p>3. โครงสร้าง (Structure) ของข้อมูลเกี่ยวกับ วัน เดือน ปีที่สร้างผลงาน ประเภทของเนื้อหา รูปแบบการนำเสนอผลงาน และตัวบุ่งชี้หรือตัวระบุถึงทรัพยากร <p>ประเภทและหน้าที่ของเมทาดาทา <p>การทำเมทาดาทา จะต้องเข้าใจถึงประเภทของเมทาดาทาซึ่งจำแนกตามหน้าที่ได้ 3 ประการ คือ <p>1. เมทาดาทาเชิงการบริหาร (Administrative metadata) เป็นการกำหนดเมทาดาทาเพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว เช่น เป็นเมทาดาทาของข้อมูลเกี่ยวกับ การจัดหาสารสนเทศนั้นๆ การสร้าง การปรับปรุงสารสนเทศ เป็นเมทาดาทาเกี่ยวกับการสงวนรักษาข้อมูล เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการย้้ายสภาพ เป็นต้น <p>2. เมทาดาทาเชิงการพรรณนา (Descriptive metadata) เป็นเมทาดาทาที่อธิบายเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ เช่น การลงรายการ ชื่อเรื่อง ชื่่อผู้แต่ง หัวเรื่อง การจัดหมวดหมู่ <p>3. เมทาดาทาเชิงโครงสร้าง (Structure metadata) เป็นเมทาดาทาที่แสดงหรือนำสารสนเทศไปถึงผู้ใช้ เช่น เมทาดาทาของข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์หรือเครื่องที่ใช้ในการอ่านภาพ ข้อมูลการแปลงเป็นดิจิทัล เป็นต้น <p>ลักษณะของเมทาดาทา <p>การใส่เมทาดาทา เพื่ออธิบายสารสนเทศนั้น สามารถใส่เมทาดาทาไปกับตัววัตถุ (Embedded object) เช่น ใส่เมทาดาทาไปกับแฟ้มข้อมูลที่สร้างขึ้น หรือ ใส่เมทาดาทาแยกจากสารสนเทศ โดยผ่านตัวแบบฟอร์มการกรอกเมทาดาทาของระบบอีกต่อหนึ่ง <p>ความสำคัญของเมทาดาทา <p>1. เพื่อการค้นหาสารสนเทศ เมทาดาทาที่ถูกกำหนดไว้จะเป็นตัวช่วยในการเข้าสารสนเทศได้ <p>2. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เว็บพอร์ทัลที่เชื่อมโยงไปยังสารสนเทศต่างๆ จะได้ประโยชน์โดยเฉพาะถ้าเว็บเหล่านั้น ถูกสร้างเป็นแบบไดนามิกเว็บจากเมทาดาทาที่เก็บในฐานข้อมูล โดยการใช้โปรแกรมหรือเครื่องมือในการดึงและการปรับรูปแบบใหม่ (Reformat) ได้ <p>3. การใช้งานได้หลากหลายระบบ (Interoperability) ด้วยความแตกต่างทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โครงสร้างข้อมูลและส่วนต่อประสาน การกำหนดใช้เมทาดาทา โปรโตคอลที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูล และ Crosswalk ระหว่างเมทาดาทา สามารถช่วยให้การสืบค้นข้ามระบบหรือทำให้ความแตกต่างดังกล่าวไม่เป็นอุปสรรค โดย 2 แนวทาง ได้แก่ <p>3.1 การสืบค้นข้ามระบบ (Cross-system search) โดยมีโปรโตคอล Z39.50 เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการสืบค้นข้ามระบบ <p>3.2 การเก็บเกี่ยวเมทาดาทา (Metadata harvesting) Open Archives Initiative (OAI) OAI เสนอกลไกสำหรับเจ้าของสารสนเทศให้เปิดเผยเมทาดาทาที่ใช้ เพื่อให้ระบบสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นและเข้าถึงข้อมูลได้ OAI เป็นการหาข้อมูลทั้งหมด จากนั้นแปลเมทาดาทาของเดิม (Native metadata) ไปเป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้กันโดยทั่วไป และนำออกเพื่อการเก็บเกี่ยว (harvesting) ตัวให้บริการคำค้นจะรวบรวมเมทาดาทาเข้าไปเก็บไว้ในดรรชนีส่วนกลาง (คลังเก็บคำค้นส่วนกลาง) เพื่อให้มีการสืบค้นข้ามแหล่งเก็บนี้ได้ <p>4. การบ่งชี้ดิจิทัล เค้าร่างเมทาดาทาส่วนใหญ่ มีองค์ประกอบที่เป็นเลขมาตรฐาน เพื่อเป็นการบ่งชี้เฉพาะถึงผลงานหรือสารสนเทศที่เมทาดาทานั้นอ้างถึง ที่อยู่หรือตำแหน่งของสารสนเทศดิจิทัลอาจถูกกำหนดด้วยชื่อแฟ้มข้อมูล ยูอาร์แอลหรือตัวบ่งชี้ถาวร การมีองค์ประกอบที่มีข้อมูลตัวนี้จะเป็นตัวชี้ไปยังสารสนเทศ เมทาดาทาสามารถถูกรวมไปกับการอธิบายตัวข้อมูลด้วย <p>5. การเก็บถาวรและการสงวนรักษา เมทาดาทาเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้แน่ใจว่า สารสนเทศจะถูกสามารถเข้าใช้หรือเข้าถึงได้อย่างต่อเนื่อง องค์ประกอบของการจัดเก็บถาวรและสงวนรักษา จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อติดตามเส้นทางของสารสนเทศ (แหล่งที่มา และประวัติการเปลี่นแปลง) เพื่อดูรายละเอียดของลักษณะทางกายภาพ และเพื่อที่จะแข่งขันหรือพยายามเลียนแบบเทคโนโลยีในอนาคต [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online database | ฐานข้อมูลแบบออนไลน์, Example: <p>ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญในการให้บริการของห้องสมุด ฐานข้อมูลออนไลน์ หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้จัดการฐานข้อมูลหรือสำนักพิมพ์สามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา <p>ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ <p>1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง อาจมีสาระสังเขปเพื่อแนะนำผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบับจริง เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) ฐานข้อมูล ISI : Web of Science ฐานข้อมูล Scopus โดยทั้งสองฐานข้อมูลเป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ให้ข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citation Database) ครอบคลุมสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ในสาขาวิชาหลัก คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยวิชาการ (Research Performance Evaluation / Research Performance Measurement: RPM) ฐานข้อมูล DAO ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ ฐานข้อมูล ERIC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจากวารสารด้านการศึกษา เป็นต้น <p>2. ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วน เช่นเดียวกับต้นฉบับ เช่น ฐานข้อมูล ScienceDirect, IEEE/IEE Electronic Library (IEL) หรือ ACM Digital Library เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online Public Access Catalog | รายการเข้าถึงแบบออนไลน์, Example: <p>คือ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่ออำนวยความแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นและชี้แหล่งรายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่ หากมีก็จะแจ้งให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนตัดสินใจคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ และจะไปหาตัวเล่มบนชั้นต่อไป อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลครั้งเดียวแต่ได้ข้อมูลหลากประเภทในเวลาเดียวกัน เช่น หนังสือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวารสาร เป็นต้น จากช่องทางการสืบค้น ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งใช้หลักการสืบค้นเช่นเดียวกับการสืบค้นด้วยบัตรรายการ แต่มีความสะดวก รวดเร็วและค้นหาได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากแหล่งบริการสารสนเทศส่วนใหญ่ใช้ระบบออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต อีกทั้งผู้ใช้ยังสามารถสั่งพิมพ์ ดาวน์โหลด หรือ export รายการที่สืบค้นได้ เพื่อส่งผ่านทางอีเมลต่อไป รวมถึงทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจากเมื่อห้องสมุดได้รับทรัพยากรใหม่ๆ เข้ามาในห้องสมุด หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล บรรณารักษ์ก็จะทำการปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลอยู่เสมอ <p>ตัวอย่างหน้าแรกของ Online Public Access Catalog ของศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-1.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>ตัวอย่างหน้า Online Public Access Catalog ซึ่งแสดงรายระเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมเลขเรียกหนังสือ สถานภาพ และสถานที่จัดเก็บ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-2.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>แหล่งข้อมูล <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Printed catalog | รายการบัตรของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Publisher's catalog | บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์, Example: <P>บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ (Publisher's catalog) ใช้สำหรับแสดงรายการสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของสำนักพิมพ์ วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่รายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์แต่ละแห่งเป็นเจ้าของ รวมทั้งรายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์วางแผนจะผลิตหรือตีพิมพ์จำหน่าย <p>ในห้องสมุด บรรณารักษ์งานจัดหา ใช้บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ สำหรับการติดตาม และตรวจสอบรายการสิ่งพิมพ์ใหม่ที่น่าสนใจ ในการพิจารณาคัดเลือกเข้าห้องสมุด <p>ตัวอย่าง บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ เช่น ของสมาคม American Chemical Society (ACS) ได้จัดทำบัญชีรายชื่อ ACS Publications Product Catolog 2012 หรือ Karger Libri Catolog 2012 ของสำนักพิมพ์ Karger Libri AG เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Union catalog | สหบัตร, สหบรรณานุกรม, Example: สหบัตร/สหบรรณานุกรม เป็นรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดของห้องสมุดหลายแห่งมารวมไว้ในรายการเดียวกัน มีชื่อหรืออักษรย่อของห้องสมุดกำกับไว้ เพื่อให้ทราบว่ารายการนั้นๆ มีอยู่ที่ห้องสมุดแห่งใด <p> <p> <p>เดิมที่ยังใช้บัตรรายการในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศนั้น จะเป็นการรวมรายการบัตรของห้องสมุดไว้เป็นรายการบัตรเดียวกันในแต่ละบัตรรายการจะมีชื่อหรืออักษรย่อของชื่อของห้องสมุดกำกับไว้เช่นเดียวกัน โดยทั่วไปจัดเรียงบัตรรายการตามลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง หรืออาจจะเรียงลำดับตามหัวข้อวิชา อาจจะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มได้ <p>การจัดทำสหบัตรหรือสหบรรณานุกรมมีประโยชน์หลายประการ คือ <p>1. ทำให้ทราบแหล่งทรัพยากรสารสนเทศว่ามีอยู่ในห้องสมุดใดบ้าง <p>2. ทำให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ โดยอาจมีข้อตกลงในการจัดหาร่วมกัน ห้องสมุดแห่งใดมีรายการทรัพยากรสารสนเทศนั้นแล้ว ห้องสมุดแห่งอื่นไม่จำเป็นต้องซื้อมาซ้ำอีก สามารถใช้บริการยืม-คืนระหว่างห้องสมุด <p>3. ทำให้สามารถรวบรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศตามผู้แต่ง หรือกลุ่มสาขาวิชาได้สะดวกและรวดเร็ว <p>ตัวอย่าง <p>สหบัตรของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย หอสมุดกลาง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวบรวมบัตรรายการของทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2521-2529 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120825-Union-Catalog.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog"> <p>จากภาพจะเป็นการรวมสหบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจากรายการตัวอย่าง จะเห็นว่ารายการนี้มีอยู่ในห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ ศูนย์เอกสารประเทศ และหอสมุดกลาง <p>ปัจจุบันมีการจัดทำฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมมหาวิทยาลัย โดยสำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ได้ริเริ่มดำเนินงานโครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุมหาวิทยาลัย/สถาบัน มหาิวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เข้าด้วยกัน <p>ตัวอย่าง รายการสหบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของโครงการ ThaiLIS <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-Union-Catalog-ThaiLIS.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog-ThaiLIS"> <p>จากตัวอย่างข้างต้นจะปรากฏว่า หนังสือ เรื่อง คิดถึงทุกปี ของ บินหลา สันกาลาคีรี มีอยู่ในห้องสมุด 14 แห่ง <p>รายการอ้างอิง <p>สุนทรี หังสสูต. สหบัตรและรวมรายชื่อวารสาร. หน้า 61-66 ใน การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. <p>Reitz, Joan M. Dictionary for library and information science. Westport, Conn. : Libraries Unlimited, 2004. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Union catalog database | ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database searching | การค้นหาฐานข้อมูล, Example: <p>การค้นหาฐานข้อมูล หรือ การสืบค้นฐานข้อมูล หมายถึงกระบวนการ วิธีการ ในการสืบค้นสารสนเทศประเภทฐานข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปมีขั้นตอนในการสืบค้น ดังนี้ <p>1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>2. กำหนดคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>3. เลือกฐานข้อมูล <p>4. หากผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่ตรงกับความต้องการ ให้ปรับปรุงกลวิธีการสืบค้น อาจใช้เทคนิคการสืบค้นแบบขั้นสูง โดยการใช้ตรรกะ (Logical operator) and or not ช่วยในการสืบค้น เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น <p>ประโยชน์ของฐานข้อมูล มีดังนี้ <P>1. จัดเก็บสารสนเทศได้ปริมาณมาก ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ <p>2. จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทำให้เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากกว่าการค้นด้วยมือ ประหยัดเวลาในการค้นหา <p>3. ปรับปรุง และแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัย <p>4. เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง โดยไม่ต้องเดินทางไปค้นหาจากหลายแหล่ง <p>5. มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบเครือข่ายที่ทันสมัย ทำให้ฐานข้อมูลแพร่หลาย และสามารถจัดหาเพื่อให้บริการได้ง่ายจากทั่วโลก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Optical data processing | การประมวลผลด้วยแสง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Real-time data processing | การประมวลผลแบบทันที [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online data processing | การประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Electronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dublin Core Metadata | ดับลินคอร์เมทาดาทา, Example: ดับลินคอร์เมทาดาทา เป็นหลักเกณฑ์ของการลงเมทาดาทาสำหรับเอกสารบนเว็บ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีสารสนเทศจำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นเอกสารที่เจ้าของผลงานผลิตขึ้นเองโดยใช้เพียงภาษาเอชทีเอ็มแอล ในการกำหนดรูปแบบการแสดงผลและเชื่อมโยงข้อมูลเท่านั้น ไม่มีโครงสร้างมาตรฐานสำหรับสืบค้นที่ระบุเขตข้อมูล คณะทำงานดับลินคอร์ซึ่งประกอบด้วย บรรณารักษ์ นักเทคโนโลยีสารสนเทศและผู้ทำงานด้านสร้างข้อมูลในเว็บของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และหลายประเทศในยุโรปต่างประสบปัญหาและเห็นว่าการสร้างสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์จำเป็นต้องมีการกำหนดคำจำกัดความตามมาตรฐาน เพื่อช่วยให้สืบค้นสารสนเทศได้เนื้อหาตรงกับความต้องการได้ ในปี ค.ศ. 1995 คณะทำงานดับลินคอร์จึงได้ประชุมกันครั้งแรกที่เมืองดับลิน รัฐโอไฮโอ และกำหนดชุดหน่วยข้อมูลย่อย 15 หน่วย สำหรับใช้พรรณนาสารสนเทศดิจิทัลเพื่อให้เจ้าของผลงานจัดทำเมทาดาทาด้วยตนเอง และสามารถสืบค้นร่วมกันกับฐานข้อมูลต่างระบบ ปัจจุบันดับลินคอร์ได้รับการประกาศเป็นมาตรฐานสากล ISO 15836 และมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา NISO Z39.85 ดับลินคอร์ได้รับการนำไปใช้อย่างกว้างขวางและเป็นพื้นฐานของการประยุกต์ใช้ ในโครงการต่างๆ หรือห้องสมุดต่างๆ มากมาย หน่วยข้อมูลย่อยดับลินคอร์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ <p>หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวกับเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ เป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับ ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ต้นฉบับ (แหล่งที่มา) ภาษา เรื่องที่เกี่ยวข้อง และขอบเขต <p>หน่วยข้อมูลย่อย ที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา เป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับ ผู้เขียน ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สำนักพิมพ์ ผู้มีส่วนร่วมในผลงานนั้นๆ และสิทธิ <p>หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบที่ปรากฏให้ใช้งาน เป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับ วัน เดือน ปี ที่สร้างผลงาน ประเภทของเนื้อหา รูปแบบของการนำเสนอผลงาน และตัวบ่งชี้หรือตัวระบุถึงทรัพยากร <p>ดับลินคอร์เมทาดาทา 15 เขตข้อมูล ได้แก่ <p> 1. Title ชื่อของทรัพยากรสารสนเทศ ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร โดยทั่วไปใช้ชื่อที่รู้จักแพร่หลายอย่างเป็นทางการ <p> 2. Creator ผู้รับผิดชอบการจัดทำต้นฉบับเนื้อหาทรัพยากร หมายรวมถึง บุคคล องค์กร หรือหน่วยบริการ ปกติชื่อเจ้าของงานควรใช้ชื่อที่มีตัวตนเป็นรูปธรรมหรือหน่วยงานที่มีอยู่จริง <p> 3. Subject หัวเรื่องของเนื้อหา จะแสดงด้วยคำสำคัญ วลีสำคัญ หรือรหัสหมวดวิชาที่กล่าวถึงทรัพยกร <p> 4. Description คำอธิบายย่อเนื้อหาของทรัพยากร เป็นบทคัดย่อจากเนื้อหาของทรัพยากรที่เจ้าของงานหรือผู้อื่นเป็นผู้จัดทำ <p> 5. Publisher ผู้รับผิดชอบให้มีการสร้างหรือผลิตทรัพยากรขึ้น หมายรวมถึง บุคคล องค์กรหรือหน่วยบริการ ปกติควรใช้สำนักพิมพ์ที่มีตัวตนเป็นรูปธรรมหรือหน่วยงานที่มีอยู่จริง <p> 6. Contributor ผู้รับผิดชอบร่วมให้มีการสร้างหรือผลิตด้านเนื้อหาทรัพยากร หมายรวมถึงบุคคล องค์กรหรือหน่วยบริการ ปกติควรใช้ชื่อที่มีตัวตนเป็นรูปธรรมหรือหน่วยงานที่มีอยู่จริง <p> 7. Date ปีที่จัดพิมพ์เผยแพร่เอกสารในรูปสิ่งพิมพ์ แนะนำให้ใช้แบบแผน ISO 8601 yyyy-mm-dd <p> 8. Type ประเภททรัพยากร ชนิดของเนื้อหาหรือประเภทของสารสนเทศ <p> 9. Format รูปลักษณ์ของทรัพยากร <p> 10. Identifier รหัสทรัพยากรสารสนเทศ รหัสที่ใช้ระบุว่าหมายถึงทรัพยากรรายการนั้น เช่น URL UR ISBN หรือเลขเรียกหนังสือ (Call no.) <p> 11. Source การอ้างอิงต้นฉบับของทรัพยากรซึ่งเป็นที่มาของการแปลง แปร หรือแปลทรัพยากรสู่รูปแบบปัจจุบัน <p> 12. Language ภาษาที่ใช้เรียบเรียงเนื้อหา <p> 13. Relation การอ้างอิงถึงทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง <p> 14. Coverage ระยะเวลาหรือขอบเขตเนื้อหาของทรัพยากร <p> 15. Rights ข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีสิทธิในทรัพยากรนั้นๆ <p> ตัวอย่าง Dublin Core ในเอกสารเว็บ <p><a href ="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120526-Dublin-Core.jpg"><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120526-Dublin-Core.jpg" alt="Dublin Core" width="670px"></a> <p>การที่ดับลินคอร์เมทาดาทาเป็นที่นิยมใช้ เนื่องจาก ผู้นำไปใช้ไม่จำเป็นต้องใช้หน่วยข้อมูลย่อยทั้งหมด สามารถเลือกใช้เท่าที่จำเป็นหรือต้องการ สามารถใช้หน่วยข้อมูลซ้ำได้ สามารถเพิ่มขยายหน่วยข้อมูลได้ตามความจำเป็น และใช้งานได้หลากหลายระบบ (Interoperability) และเป็นสากล <p>บรรณานุกรม: <p>Dublin Core Metadata Initiative. [ Online ]. Available: http://dublincore.org/ Accessed: 2012-05-26. <p>Dublin Core Tutorial. [ Online ]. Available: http://www.tutorialsonline.info/Common/DublinCore.html. Accessed: 2012-05-26. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Data structures (Computer sciences) | โครงสร้างข้อมูล (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Data sharing | การแลกเปลี่ยนข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic data processing documentation | เอกสารประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Catalytic cracking | การแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Data compression (Telecommunication) | การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Data compression (Telecommunication) | การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [เทคโนโลยีการศึกษา] | Photocatalysis | การเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Distributed database | ฐานข้อมูลแบบกระจาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| acatalepsy | (n) แนวคิดทางปรัชญาที่ว่าความรู้ของมนุษย์ไม่เคยมีความแน่นอน | Automated Meteorological Data Acquisition System | (jargon) ระบบรับข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยอัตโนมัติ | avatar | อวทาร์ (ref.ราชบัณฑิต) รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกมซึ่งอาจเป็นสองหรือสามมิติก็ได้ | big data | (n) ข้อมูลมหัต | cataclysmic | (adj) ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือหายนะอย่างฉับพลันและรุนแรง | catalogue | (n) รายการ | collection of data | การเก็บรวบรวมข้อมูล | data warehouse | (n) ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา ซึ่งอาจมี schema แตกต่างกัน มาไว้รวม ณ ที่เดียวกัน (และใช้ schema เดียวกัน) | desiderata | (n) (Latin for "desired things", plural of desideratum) Desiderata (Latin for "desired things", plural of desideratum) is an inspirational prose poem about attaining happiness in life. It was written in 1927 by Max Ehrmann. | fatalistic | (adj) เกี่ยวกับพรหมลิขิต ชะตาลิขิต | Giornata | [จอร์นาตา] (n) งานเขียนบนปูนเปียกที่เขียนเสร็จในแต่ละวัน (เกี่ยวกับวิธีเขียนจิตรกรรมฝาผนัง), See also: Buon fresco | IATA :International Air Transport Association | (org) สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ | metadata | (n) ข้อมูลของข้อมูล ซึ่งจะใช้ข้อมูลอธิบายถึงข้อมูลอีกชุดหนึ่งตามต้องการ, See also: metatable | metadata | (n) นิยามข้อมูล | metatable | (n) ตารางของตาราง ซึ่งใช้ตารางสำหรับอธิบายตารางเช่น เช่นเดียวกับคำว่า Metadata ซึ่งใช้ข้อมูลอธิบายข้อมูล, See also: metadata | nata de coco | (n) วุ้นมะพร้าวที่เกิดจากการหมักด้วยน้ำมะพร้าว | nata de pina | (n) วุ้นมะพร้าวที่เกิดจากการหมักด้วยสับประรด | natatory | เกี่ยวกับการว่ายน้ำ | palatability | (n) ความน่ากิน, ความน่ารับประทาน, ความอร่อย, ความหวาน, ความไพเราะ, ความถูกรสนิยม, See also: palatable, acceptable, delectable, pleasant, Syn. deliciousness | payment pro rata | การชำระเงินตามสัดส่วน | pro rata | ตามสัดส่วน, ตามส่วน | processing of personal data | (phrase) การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล | rhatany | รากของพืชจำพวก Krameria ในเปรู ใช้เป็นยาฝาดสมานและแต่งสีไวน์ | schemata | (uniq) โครงสร้างทางความรู้ | subjectcataloging | รายการทรัพยากรสารสนเทศ | supernatant | (n, adj) ส่วนลอย, ส่วนเหนือตะกอน, ลอยข้างบน, อยู่บนผิว, Syn. supernate |
| He's going to Matagalpa, no? | Er geht nach Matagalpa, oder? Under Fire (1983) | What's Rafael doing in Matagalpa? | Was macht Rafael in Matagalpa? Under Fire (1983) | - How was Matagalpa? | - Wie war's in Matagalpa? Under Fire (1983) | He has been killed in an ambush near Matagalpa. | Er wurde durch einen Hinterhalt nahe Matagalpa getötet. Under Fire (1983) | I'm not gonna die in Matagalpa. | Ich werde nicht in Matagalpa sterben. Under Fire (1983) | León has fallen and today we took Matagalpa. | León ist erobert, und heute haben wir Matagalpa eingenommen. Under Fire (1983) | NataIya | Natalja Vassa (1983) | He's courting NataIya Sergeyevna. | Er flirtet mit Natalja Sergejewna. Vassa (1983) | Nata, tell them to bring me some tea. | Nata, sage, man soll mir Tee bringen. Vassa (1983) | NataIya knows already. She told me about it. | Natalja weiß es, sie sagte es mir. Vassa (1983) | - So you do remember, Nata? - Yes, I do. | - Also erinnerst du dich, Nata? Vassa (1983) | Go, NataIya. | Geh, Natalja. Vassa (1983) | NataIya Sergeyevna is singing their songs too. | Natalja Sergejewna singt auch ihre Lieder. Vassa (1983) | He's been drinking even more lately. And he's teaching Nata to. | Er trinkt immer mehr, auch Nata bringt er es bei. Vassa (1983) | Is that true, Nata? | Stimmt das, Nata? Vassa (1983) | Oh, NataIya! Take care! | O, Natalja, sieh zu! Vassa (1983) | Nata got very impudent to Mother. | Nata ist Mutter gegenüber sehr frech geworden. Vassa (1983) | Luda, NataIya, try to persuade her. | Ljudotschka, Natalja, überredet sie. Vassa (1983) | It's terrible the way NataIya loves to bully me. | Wie gern mich Natalja doch kränkt! Vassa (1983) | That's enough, Nata! | Hör auf, Nata. Vassa (1983) | What do you think, Nata? | Was denkst du denn, Nata? Vassa (1983) | That's a great idea! | Prachtkerl, Nata. Vassa (1983) | NataIya. | Natalja. Vassa (1983) | He's very poorly, Nata. | Natascha, ihm geht es schlecht. Vassa (1983) | Go and rest. NataIya will show you. | Geh, Natalja zeigt es. Vassa (1983) | And what about NataIya? | Und Natalja? Vassa (1983) | And when NataIya suggested kidnapping, he was all for that too. | Als aber Natascha vorschlug: "Stehle sie", Da sagte er das auch. Vassa (1983) | You'II go with NataIya. | Du fährst mit Natalja. Vassa (1983) | NataIya Sergeyevna, Luda has fainted. | Natalja Sergejewna, Ljudotschka ist besinnungslos. Vassa (1983) | Need she be, NataIya Sergeyevna? | Muss man es ihr denn sagen, Natalja Sergejewna? Vassa (1983) | Look, Nata, how big predators eat up small ones. | Da, Natascha, schau, kleine Raubtiere fressen die großen. Vassa (1983) | NataIya | Natalja Vassa (1983) | Could be a mirage. | Könnte auch eine Fata Morgana sein. Yellowbeard (1983) | It must be the cinnamon in the baked apple. | Das muss der Zimt in dem Bratapfel sein. Yentl (1983) | She's called Cognata by everyone but my mother. | Alle außer meiner Mutter nennen sie Cognata, was "Schwägerin" heißt. One Deadly Summer (1983) | And it works. She's won twice. | Wir haben schon zweimal gewonnen und jedes Mal war es Cognata. One Deadly Summer (1983) | Let's play rummy with Cognata tonight. | Heute Abend spielen wir Rommé mit Cognata. One Deadly Summer (1983) | As Cognata says, "Those were the days." I won't believe they're over. | Wie sagt doch Cognata? "War das eine schöne Zeit." Aber ich lasse mir von niemandem einreden, dass das früher war. One Deadly Summer (1983) | Oh, hey, oh! | Ja, ja, fatal, fatal, fatal. Fanny Hill (1983) | - D. SUMBATASHVlLl Lali - | D. SUMBATASCHWILI Lali: Blue Mountains, or Unbelievable Story (1983) | Director of Photography Levan PAATASHVlLl | Kamera: Lewan PAATASCHWILI Blue Mountains, or Unbelievable Story (1983) | Don't worry. He's having fun. | - Er hat seine Privataudienz. The Lift (1983) | It would be a disaster if anyone found out. | Wenn das jemand herausfindet, gibt es eine Katastrophe. The Lift (1983) | We face nuclear destruction. | Wir stehen vor einer Atomkatastrophe. Part Three (1984) | -A fatal miscalculation for us. | - Eine fatale Fehleinschätzung. Part Three (1984) | Oh, what I'm calling a mistake, that would have been a catastrophe! | Ach, was heißt ein Fehler, das wäre eine Katastrophe gewesen! Teil 6 (1984) | When he gets extradited to California... he'll turn State's witness. | Wenn er nach Kalifornien überstellt wird, wird er Zeuge der Staatanwaltschaft. It's a Desert Out There (1984) | Red level. Full data scan, interlocking with Interpol and Federal satellite relays. | Kompletter Datascan, Zugang zu Interpol und FBI Satellitenübertragungen. The Battle of Bel Air (1984) | Do you think she discovered our plan to assassinate Sheik Fatasi at 2.:00? | KEINE Glauben Sie, sie weiß vom Attentatsplan auf Scheich Fatasi um 2.00 Uhr heute? The Battle of Bel Air (1984) | Need I tell you that our clock is running out on this Fatasi matter? | Vergessen Sie nicht, dass uns die Zeit in der Fatasi-Sache ausläuft. The Battle of Bel Air (1984) |
| ata | "Pet Sematary" was a real cliff-hanger. | ata | Reexamination of the data is required to make the formula accurate. | ata | With regard to your letter of July 22nd, I enclose our most recent catalogue. | ata | This data is incorrect. | ata | Minutes or hours later Dr. Numata came in and felt Sadako's forehead. | ata | I proved the fact on the strength of the data. | ata | Satan's ghost awakes. | ata | I'll play a sonata for you. | ata | It is questionable whether this data can be relied on. | ata | Participating in the General Meeting made me aware of the new technology of data transportation. | ata | Once the flood was fatal to the region. | ata | Could I get you to update this data for me? | ata | "Haruki, you ask for a seat at the front as well." (Ack) "What's wrong, why the look of blatant dislike?" | ata | The Shinkansen from Hakata pulled in just on time. | ata | My legs ache from sitting on tatami. | ata | I am already accustomed to sitting on tatami. | ata | Thanks to Mr Nagata. | ata | "The prince of darkness" means "Satan". | ata | She was a Wakahata before she married. | ata | Why God allows these sort of actions by Satan is explained in Job in the New Testament. | ata | The strong yen was a fatal blow to the company. | ata | We used to compile survey results using spreadsheet programs but recently we feel that database software's summing methods are quicker so we use databases to total them. | ata | It would be difficult to improve the device when there is no effective catalyst. | ata | Therefore, they cannot catalyze deregulation without "external pressure". | ata | This data is of no value now. | ata | I would like to get your latest catalogue. | ata | However he has to take it at fixed intervals, just one day without taking it is swiftly fatal. | ata | As a beginning I would like to examine the catalyzer used in this experiment. | ata | Computer technology is indispensable to access many pertinent items of data. | ata | Oh, I lost the data! | ata | This artist is soon to be famous like Yamagata. | ata | I have a large body of information in my computer database. | ata | It seems that Wataru devoted himself to his studies. | ata | How far is it from here to Hakata? | ata | Data can be transmitted from the main computer to yours, and vice versa. | ata | Six months ago I had an operation for the cataract in my right eye. | ata | The data collected in Tyrel's research is of great value both to administrators and to educators. | ata | The last wound proved fatal. | ata | The train runs between Tokyo and Hakata. | ata | However, the color was different from the sample color in your catalog. | ata | The slightest mistake may lead to a fatal disaster. | ata | We look forward to receiving the catalog soon. | ata | "How can I lose?" answered Satan. "All the umpires are down here in Hell." | ata | For a display where the data items increase and decrease I think you are best making use of a spreadsheet program, not Access. | ata | My name is Yatarou. | ata | The next discussion concerns the transplantation of prenatal tissues. | ata | These straw mats ("tatami") are no longer made by hand. | ata | Please send me a catalogue. | ata | The means of communication can include letters, magazine and newspaper advertisements, radio and television commercials, and telephone marketing, as well as catalogs. | ata | Send me a new catalog. |
| บัตรรายการ | (n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด | ผู้บันดาล | (n) inspirer, See also: catalyst, Syn. คนบันดาล, Example: คนบางกลุ่มมีความเชื่อว่า เทพเจ้าเป็นผู้บันดาลให้พืชพันธุ์ธัญชาติงอกงาม หรือทำให้เสียหายได้, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ทำให้เป็นไป | กลเม็ดเด็ดพราย | (n) trick, See also: finesse, stratagem, artifice, ingenious device, technique, Syn. กลเม็ด, Example: ผู้สอนไม่เคยลงมือเขียน จึงไม่อาจพบกับกลเม็ดเด็ดพรายที่เกิดจากฉันทลักษณ์หรือหลักการ เพื่อเอาไว้แนะผู้เรียนได้, Thai Definition: วิธีที่พลิกแพลงเป็นพิเศษ | รสเด็ด | (adj) delicious, See also: tasty, palatable, flavoursome, good, very good, Syn. รสอร่อย, Example: เพลงลูกทุ่ง ถ้าไม่มีหางเครื่องก็คล้ายส้มตำรสเด็ดที่ขาดปลาร้าปรุงรส, Thai Definition: เกี่ยวกับอาหารที่มีรสชาติอร่อย | เครื่องเก็บบันทึกข้อมูล | (n) data entry equipment, Syn. เครื่องบันทึกข้อมูล, Thai Definition: อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียม และบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ในการประมวลผล | จอแสดงผล | (n) screen for viewdata, See also: monitor for viewdata | ข้อมูลดิบ | (n) raw data, Example: นักสถิติใช้ประโยชน์จากข้อมูลดิบเพื่อแปลงผลข้อมูล, Thai Definition: ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่มักเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อยหรือน้อยไปหามาก | สำรองข้อมูล | (v) store data | แหล่งข้อมูล | (n) data source | การประมวลผล | (n) data processing, Example: มนุษย์ได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลเป็นเวลาเกือบครึ่งศตวรรษแล้ว, Thai Definition: การรวบรวมผลที่ได้ให้เป็นระเบียบและหมวดหมู่ | ประมวลผลข้อมูล | (v) process data (information), See also: evaluate data (information), Example: ดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ประมวลผลข้อมูลในลักษณะของตัวเลข, Thai Definition: รวบรวมผลของข้อมูลให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ | ผาก | (n) species of thornless bamboo, See also: Oxytenanthera nigrociliata, Syn. ไผ่ผาก, Example: พ่อกำลังอยากได้ไผ่ผากมาประดับสวนที่บ้าน, Thai Definition: ชื่อไผ่ชนิด Gigantochloa hasskarliana Back. ในวงศ์ Gramineae ไม่มีหนาม ปล้องยาว กาบหุ้มลําต้นแข็ง สีส้ม มีขนดํา | แมลงทับ | (n) Buprestis beetle, See also: Mettalic wood-boring beetle, Sternocera aequisignata, Example: สมัยเป็นเด็ก ฉันเคยจับแมลงทับจากต้นมะขามเทศมาเลี้ยงไว้ในกล่อง, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อแมลงปีกแข็งที่มีปีกเขียวเลื่อมพราย | วิบัติ | (n) disaster, See also: destruction, calamity, catastrophe, ruin, misfortune, Syn. พิบัติ, ความฉิบหาย, ความล่มจม, ความหายนะ, Ant. เจริญ, Example: งบประมาณในด้านต่างๆ ถูกตัดลงอย่างถ้วนหน้า เหตุเพราะวิบัติทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | สถิติ | (n) statistics, See also: figures, data, record, Example: การแข่งขันด้านความเร็วทำให้สถิติการเกิดอุบัติเหตุล้ำหน้าสถิติการเกิดโรค, Thai Definition: หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสำหรับเปรียบเทียบ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | สลึง | (n) twenty -five satangs, See also: quarter of a baht, Example: สมัยคุณหนูดวงเป็นเด็ก ขนมชิ้นละสลึงสองสลึงเอง, Thai Definition: มาตราเงินตามวิธีประเพณี 25 สตางค์ เท่ากับ 1 สลึง | ลูกจาก | (n) atap, See also: nipa palm, Nipa fruticana, Syn. จาก, Example: พ่อไปเก็บลูกจากในสวนทุกวัน, Count Unit: ลูก, ผล, Thai Definition: ชื่อพรรณไม้จำพวกปาล์ม ใบใช้มุงหลังคาและกรุฝา ผลรับประทานได้ | ลูกไม้ | (n) trick, See also: trickery, finesse, stratagem, wile, ruse, artifice, Syn. เล่ห์เหลี่ยม, กลเม็ด, กลอุบาย, อุบาย, Example: เขามีลูกไม้แพรวพราวในการทำธุรกิจ เขาจึงชนะคู่แข่งเสมอมา, Thai Definition: เล่ห์เหลี่ยม หรืออุบายที่ใช้หลอกลวงผู้อื่น | เลศนัย | (n) hidden motive, See also: ruse, artifice, stratagem, Syn. เล่ห์เหลี่ยม, Example: แววตาของเขามักมีเลศนัยเสมอ ไม่น่าไว้ใจเลย, Thai Definition: สิ่งที่ซ่อนเร้น | เล่ห์กระเท่ | (n) trick, See also: artifice, stratagem, ruse, subterfuge, ploy, Syn. เล่ห์, เล่ห์กล, กลอุบาย, อุบาย, Example: คนบางคนชอบใช้เล่ห์กระเท่เอาชนะผู้อื่นแทนที่จะใช้ความสามารถของตัวเอง, Thai Definition: กลอุบายหรือเงื่อนงำอันอาจทำให้คนอื่นหลงผิดหรือเข้าใจผิด | อสูร | (n) devil, See also: demon, giant, evil spirit, fiend, satan, Syn. ยักษ์, อสุรี, Example: นนทกาลเป็นตัวละครในรามเกียรติ์ซึ่งเป็นอสูรที่ทำหน้าที่เฝ้าประตูอยู่ที่เขาไกรลาส, Thai Definition: อมนุษย์พวกหนึ่ง ถือกันว่ามีรูปร่างใหญ่โตน่ากลัว มีเขี้ยวงอก ใจดำอำมหิต ชอบกินมนุษย์ กินสัตว์ โดยมากมีฤทธิ์เหาะได้จำแลงตัวได้ | มะตะบะ | (n) Mataba, See also: kind of Muslim food, Example: พอผมไปถึงก็เห็นคุณพ่อนั่งรออยู่แล้ว พร้อมกับมะตะบะชิ้นใหญ่วางอยู่บนโต๊ะ 2 ชิ้น, Thai Definition: ชื่ออาหารอย่างมุสลิมชนิดหนึ่ง คล้ายโรตี แต่มีไส้ทำด้วยเนื้อและหอมหัวใหญ่เป็นต้น | เภทภัย | (n) calamity, See also: disaster, catastrophe, Syn. ภัย, ภัยอันตราย, เหตุเภทภัย, Example: ชีวิตของคนเราเต็มไปด้วยเภทภัยต่างๆ, Thai Definition: ภัยต่างๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | เภทุบาย | (n) trick, See also: craft, plot, artifice, wiles, stratagem, Syn. อุบาย, เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม, Example: เขาใช้เภทุบายต่างๆ เพื่อจะซื้อกิจการของคุณ, Thai Definition: อุบายที่ทำให้ผู้อื่นแตกกัน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | โภช | (n) eatables, See also: comestibles, Syn. ของบริโภค, ของกิน, Thai Definition: ของควรบริโภค, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | โภชนะห้า | (n) five eatables, Thai Definition: ข้าว 5 อย่างคือ ข้าว, ขนมสดที่จะบูดเมื่อล่วงเวลา, ขนมแห้งที่ยังไม่บูด, ปลารวมทั้งหอยกุ้งและสัตว์น้ำที่กินได้, เนื้อสัตว์บกและนกที่ใช้เป็นอาหาร | กลมารยา | (n) trick, See also: artifice, stratagem, deception, wile, ruse, Syn. มารยา, เล่ห์เหลี่ยม, Example: เธอใช้กลมารยาทุกอย่างเพื่อยั่วยวนเขา, Thai Definition: เล่ห์เหลี่ยมมารยา | ย่อยยับ | (adv) disastrously, See also: ruinously, catastrophically, terribly, Syn. พินาศ, ฉิบหาย, ป่นปี้, วอดวาย, สูญสิ้น, Example: กิจการของเขาขาดทุนย่อยยับตั้งตัวแทบไม่ติด, Thai Definition: เสียหายหรือสูญสิ้นไปอย่างมากมาย | รายการ | (n) catalogue, See also: list, list of items, directory, record, Example: ซีดีรอมเพียงสองแผ่นสามารถจะบรรจุรายการหนังสือได้มากกว่าหนึ่งล้านเล่ม, Count Unit: รายการ, Thai Definition: บัญชีแจ้งรายชื่อและจำนวนเป็นต้นของสิ่งต่างๆ | พลเรือน | (n) civilian, See also: noncombatants, Syn. ประชาชน, ราษฎร, พลเมือง, Example: ผู้มาจากพลเรือนอย่างเขาจะไปสู้กับใครได้, Count Unit: คน, Thai Definition: พลเมืองของประเทศที่ไม่ใช่ทหาร | ภัยพิบัติ | (n) disaster, See also: calamity, catastrophe, Syn. เภทภัย, ภัย, หายนะ, ภัยอันตราย, ภัยพินาศ, Example: มูลนิธินี้ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้เดือดร้อนจากภัยพิบัติต่างๆ ทั่วโลก, Thai Definition: สิ่งที่น่ากลัวอันตราย, สิ่งที่ทำให้เกิดความเสียหายเดือดร้อนเป็นอย่างมาก | พะงาบ | (adv) fatally, See also: mortally, nearly death, Syn. พะงาบๆ, Example: สามีของหล่อนนอนพะงาบรอให้หมอมาตรวจที่บ้าน, Thai Definition: มีอาการอ้าปากแล้วหุบเข้าช้าๆ (เป็นอาการของคนและสัตว์ที่จวนจะตาย) | ขี้ครอก | (n) Urend lobata, See also: Malvaceae, Syn. ขี้อ้น, ต้นขี้ครอก, Example: เขาไม่นิยมปลูกขี้ครอกไว้ใกล้ๆ ที่เลี้ยงสัตว์เพราะมันเป็นพิษต่อสัตว์, Count Unit: คน, Thai Definition: ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Xanthium strumarium Linn. ในวงศ์ Compositae มักขึ้นเป็นวัชพืชในทุ่งนาและริมน้ำ ต้นสูงประมาณ 60 เซนติเมตร ลำต้นและใบคาย ใบมนเว้า ขอบจัก โคนใบแหลม ดอกเล็กรวมเป็นกระจุก ผลรี มีหนามปลายงอทั่วทั้งผล รากหอมอ่อนๆ ใช้อบผ้าได้ | ไข่ | (n) name of a species of banana, See also: fruit of the plant of the genus Musa Acuminata Colla, Count Unit: ใบ, ลูก, Thai Definition: ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่งซึ่งกลายมาจากกล้วยป่า (Musa acuminata Colla) ผลเล็ก เปลือกบาง ไม่มีเมล็ด บางพันธุ์มีกระ | ข้อมูลออก | (n) output data, Ant. ข้อมูลเข้า, Example: ข้อมูลออกจะเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลแยกต่างหาก, Thai Definition: ข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์ซึ่งแสดงหลังจากที่ใส่หรือผ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว | ข้อมูลร่วม | (n) common data, See also: general data, ordinary message, Example: คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองผู้ใช้ที่มีความต้องการจะมีข้อมูลร่วมเพิ่มขึ้น | ข้อมูลเข้า | (n) input data, Ant. ข้อมูลออก, Example: ข้อมูลเข้าของตัวสร้างภาษาคือรูปแทนภาษากลาง, Thai Definition: ข้อมูลที่ใส่หรือป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางคีย์บอร์ด | ข้อมูล | (n) data, See also: information, Example: ไวรัสตัวใหม่ทำให้ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์หายไป, Thai Definition: ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ | ไข่เน่า | (n) Vitex glabrata (Verbenaceae), See also: tree of the genus vitex, Syn. ต้นไข่เน่า, Example: ต้นไข่เน่าไม่มีผู้ใดนิยมปลูกในบ้าน อาจจะเป็นเพราะชื่อที่ไม่ค่อยเป็นมงคล, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Vitex glabrata R. Br. ในวงศ์ Verbenaceae ขึ้นตามป่าดิบและที่ราบลุ่มทั่วๆ ไป สูง 8-12 เมตร ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย 5 ใบ ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ผลรูปไข่ขนาดหัวแม่มือ สุกสีดำ กินได้ มีรสหวานเล็กน้อย เปลือกและรากใช้ทำยาได้ | คา | (n) Imperata cylindrica Beauv., Example: บ้านตามต่างจังหวัดส่วนใหญ่มีหลังคาสูง แหลม ซึ่งบางบ้านมุงด้วยกระเบื้อง บางบ้านมุงด้วยหญ้าคา, Thai Definition: ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Imperata cylindrica Beauv. ในวงศ์ Gramineae ใบคาย แข็ง เอามากรองเป็นตับมุงหลังคา เหง้าใช้ทำยาได้ | ความหายนะ | (n) disaster, See also: catastrophe, calamity, ruin, destruction, Syn. ความเสียหาย, ความฉิบหาย, ความวิบัติ, ความวอดวาย, ความย่อยยับ, ความเสื่อม, Example: ข้อเรียกร้องภายนอกของสังคมหลายๆ อย่างที่ขัดแย้งกันย่อมนำไปสู่ความหายนะได้ในที่สุด | คอขาดบาดตาย | (adj) serious, See also: fatal, critical, Syn. ร้ายแรง, Example: ส่วนตัวเขาเองนั้นไม่กลัวตายเพราะชีวิตเขาผ่านเรื่องคอขาดบาดตายมานักต่อนักแล้ว, Thai Definition: ร้ายแรงถึงอาจต้องสูญเสียชีวิตได้ | เครื่องกิน | (n) food, See also: foodstuff, edibles, eatables, Syn. อาหาร | แค็ตตาล็อก | (n) catalog, See also: catalogue, Example: ห้างสรรพสินค้าส่งแค็ตตาลอกมาให้เขาทุกเดือน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ เป็นต้น ที่มีภาพสินค้า เช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสำหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ | แง่งอน | (n) artifice, See also: stratagem, trick, ruse, Syn. ชั้นเชิง, มารยา, เกี่ยงงอน, ข้อแม้, Example: เขาลงนามในสัญญาโดยปราศจากแง่งอน, Thai Definition: อาการที่แสร้งทำชั้นเชิงเพื่อให้ผู้อื่นเอาใจหรือให้เป็นที่พอใจตน | ปาทังกา | (n) patanga, See also: a species of grasshoppers, locust, Syn. ตั๊กแตนปาทังกา, Example: ตั๊กแตนปาทังกาเป็นศัตรอันดับหนึ่งของต้นข้าวโพด, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อตั๊กแตนชนิด Patanga succincta ในวงศ์ Acrididae ตัวยาว 6 - 7 เซนติเมตร กว้าง 7 - 8 มิลลิเมตร สีแตกต่างกันไปเป็นสีน้ำตาล น้ำตาลแก่ แดงปนเขียว มีแถบสีครีมทอดจากหน้าไปสันหลังปล้องอกจนถึงปีก ใต้ตามีแถบสีครีมยาวเรียวรูปดาบ ปีกมีรอยจุดและรอยด่างกระจายทั่วไป | ปางตาย | (adv) fatally, See also: nearly dead, Syn. จวนตาย, เกือบตาย, Example: อ้ายวายร้ายโดนยิงหลายนัด หากไม่ตายก็คงเจ็บปางตาย | แผนการ | (n) plan, See also: stratagem, plot, design, scheme, project, Syn. แนวทาง, เป้าหมาย, หลัก, กลยุทธ์, กำหนดการ, Example: หัวหน้าฝ่ายต่างๆ เข้าพบผู้จัดการเพื่อแจ้งแผนการดำเนินการในเดือนต่อไป, Count Unit: แผนการ, แผน, Thai Definition: แผนตามที่กำหนดไว้ | เฝื่อน | (adj) bitter and harsh to the taste, See also: unpalatable, ill-favoured, Syn. ฝาด, ขื่น, เจื่อน, เฝื่อนฝาด, Example: เพราะรสเฝื่อนของเหล้าทำให้เขารู้สึกบอกไม่ถูกเมื่อกลืนลงไป, Thai Definition: รสที่เจือฝาดและขื่นอย่างรสดีเกลือ | พิบัติ | (n) disaster, See also: calamity, catastrophe, Syn. ความฉิบหาย, หายนะ, ภัยพิบัติ, Example: ผมคาดว่าฝีมือของมนุษย์เองที่จะนำพิบัติต่างๆ มาสู่โลกของเรา, Thai Definition: สิ่งที่เป็นภัยหรือความเดือดร้อนที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก |
| อำมาตย | [ammāttaya] (n) EN: elite bureaucrats ; elite ; amataya FR: élite bureaucratique [ f ] ; nomenklatura [ f ] ; aristocratie [ f ] | อร่อย | [arøi] (adj) EN: good ; delicious ; palatable FR: bon ; délicieux | อตาลันต้า | [Atālantā] (tm) EN: Atalanta ; Atalanta Bergamo ; Atalanta B.C. FR: Atalanta | อัตราการเกิด | [attrā kān koēt] (n, exp) EN: birth rate FR: taux de natalité [ f ] | อวตาร | [awatān] (n) EN: avatar ; reincarnation FR: incarnation [ f ] ; avatar [ m ] | บัญชี | [banchī] (n) EN: list ; roll ; roster ; catalog FR: liste [ f ] ; rôle [ m ] | บ้านเกิด | [bānkoēt] (n) EN: homeland ; hometown ; native village ; birthplace ; fatherland ; motherland FR: village natal [ m ] ; lieu de naissance [ m ] ; pays natal [ m ] | บ้านเกิดเมืองนอน | [bānkoēt-meūangnøn] (n, exp) EN: hometown ; native town FR: ville natale [ f ] | บานแผนก | [bānphanaēk] (n) EN: table of contents ; catalog ; list FR: table des matières [ f ] | บัตรรายการ | [bat rāikān] (n, exp) EN: catalogue card ; index card | บุตรนอกกฎหมาย | [but nøk kotmāi] (n, exp) EN: illegitimate child ; bastard FR: enfant naturel [ m ] ; bâtard [ m ] (péj.) ; bâtarde [ f ] (péj.) | บุตรนอกสมรส | [but nøk somrot] (n, exp) EN: illegitimate child ; bastard FR: enfant naturel [ m ] ; bâtard [ m ] (péj.) ; bâtarde [ f ] (péj.) | ชาดก | [Chādok] (n, prop) EN: Jataka FR: Jataka | ชายโสด | [chāi sōt] (n, exp) EN: bachelor ; single man FR: célibataire [ m ] | ใช้อุบาย | [chāi ubāi] (v, exp) EN: raise a diversion ; fool ; trick FR: utiliser un stratagème | ชั้นเชิง | [chanchoēng] (n) EN: artifice ; tactics ; means ; stratagem ; trick ; tact ; strategy ; trickery ; finesse ; craftiness ; diplomatic skill FR: stratagème [ m ] ; moyen [ m ] ; artifice [ m ] ; finesse [ f ] | ชนิดข้อมูล | [chanit khømūn] (n, exp) EN: data type FR: type de données [ m ] | ชะอม | [cha-om] (n) EN: acacia ; Acacia Pennata FR: acacia [ m ] | ชืด | [cheūt] (adj) EN: tasteless ; savorless ; unpalatable ; insipid ; vapid FR: fade ; insipide ; sans saveur | ช่อมาลี | [chǿmālī] (n) EN: Osmanthus ; Parameria barbata Schum. FR: Osmanthus ; Parameria barbata Schum. | ชุดข้อมูล | [chut khømūn] (n, exp) EN: data set FR: sélection [ f ] | แดดแรง | [daēt raēng] (n, exp) FR: ensoleillé ; éclatant | ดาต้า | [dātā] (n) EN: data FR: données [ fpl ] | เอื้องกุหลาบ | [eūang kulāp] (n, exp) EN: Aerides falcata Lindl. | เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิด | [eūang kulāp krapao poēt] (n, exp) EN: Aerides falcata Lindl. | เอื้องกุหลาบป่า | [eūang kulāp pā] (n, exp) EN: Aerides falcata Lindl. | เอื้องกุหลาบพวง | [eūang kulāp phūang] (n, exp) EN: Aerides falcata Lindl. | แห้ว | [haeo] (n) EN: truffle ; water chestnut FR: chataîgne d'eau [ f ] | หายนะ | [hāyana] (n) EN: disaster ; catastrophe ; calamity ; havoc ; ruin FR: désastre [ m ] ; catastrophe [ f ] ; calamité [ f ] | เห็ดปีศาจ | [het pīsāt] (n) EN: devil boletus FR: bolet Satan [ m ] | เห็ดระโงก | [het ra-ngok] (n, exp) EN: Amanita vahinata | เหี่ยว | [hīo] (v) EN: wilt ; wither ; wrinkle ; droop ; shrivel ; dry out ; languish ; deteriorate FR: se faner ; se dessècher ; se flétrir ; se ratatiner ; se languir ; s'affaiblir | หีบไม้งาม | [hīp mai ngām] (n, exp) EN: Boxwood beauty ; Natal plum | อีดีพี | [Ī.Dī.Phī.] (abv) EN: EDP (Electronic Data Processing) | จาก | [jāk] (n) EN: Nipa palm ; Mangrove palm ; Atap palm | จัดการข้อมูล | [jatkān khømūn] (v, exp) EN: process data | โจมทัพ | [jōmthap] (n) EN: herd of war elephants ; war-elephant troop ; elephant batallion | โจ่งแจ้ง | [jōngjaēng] (v) EN: be blatant ; be flagrant ; be obvious ; be glaring ; be open FR: être clair ; être net ; être évident | โจ่งแจ้ง | [jōngjaēng] (adv) EN: obviously ; openly ; flagrantly ; blatantly ; glaringly ; conspicuously ; brazenly FR: ouvertement ; manifestement | แก่ง | [kaeng] (n) EN: cataract FR: rapide [ m ] ; cataracte [ f ] | กาลาตาซาราย | [Kālātāsārāi] (tm) EN: Galatasaray FR: Galatasaray | กำเดา | [kamdao] (n) EN: epistaxis ; nosebleed ; nasal catarrh FR: saignement de nez [ m ] ; épistaxis [ f ] | กำเดา | [kamdao] (n) EN: catarrhal fever FR: fièvre catarrhale [ f ] | การแบ่งกลุ่มข้อมูล | [kān baeng klum khømūn] (n, exp) EN: data clustering ; data classification | การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | [kān khumkhrøng khømūn suanbukkhon] (n, exp) EN: personal data protection FR: protection des données personnelles [ f ] | การนำเสนอข้อมูล | [kān namsanōe khømūn] (n, exp) EN: data presentation | การโอนย้ายข้อมูล | [kān ōnyāi khømūn] (n, exp) EN: data transfer FR: transfert de données [ m ] | การป้องกันข้อมูล | [kān pǿngkan khømūn] (n, exp) EN: data protection FR: protection des données [ f ] | การประมวลผลข้อมูล | [kān pramūanphon khømūn] (n, exp) EN: data processing FR: traitement des données [ m ] | การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ | [kān pramūanphon khømūn thāng ilekthrønik] (n, exp) EN: Electronic Data Processing (EDP) |
| | | abatable | (adj) capable of being abated | abatable nuisance | (n) a nuisance that can remedied (suppressed or extinguished or rendered harmless) | acatalectic | (n) (prosody) a line of verse that has the full number of syllables | acatalectic | (adj) (verse) metrically complete; especially having the full number of syllables in the final metrical foot, Ant. catalectic, hypercatalectic | acataphasia | (n) a disorder in which a lesion to the central nervous system leaves you unable to formulate a statement or to express yourself in an organized manner | accounting data | (n) all the data (ledgers and journals and spreadsheets) that support a financial statement; can be hard copy or machine readable | administrative data processing | (n) data processing in accounting or business management, Syn. business data processing | al-fatah | (n) a Palestinian political and military organization founded by Yasser Arafat in 1958 to work toward the creation of a Palestinian state; during the 1960s and 1970s trained terrorist and insurgent groups, Syn. al-Asifa, Fatah | alismataceae | (n) perennial or annual aquatic or marsh plants, Syn. water-plantain family, family Alismataceae | alopecia areata | (n) patchy baldness | anticatalyst | (n) (chemistry) a substance that retards a chemical reaction or diminishes the activity of a catalyst, Ant. catalyst | arabidopsis lyrata | (n) a small noninvasive cross-pollinating plant with white flowers; closely related to Arabidopsis thaliana | armata corsa | (n) a terrorist organization founded in 1999 to oppose the link between nationalists and the Corsican mafia, Syn. Corsican Army | armillaria caligata | (n) fungus with a brown cap and white gills and a membranous ring halfway up the stalk, Syn. booted armillaria | astomatal | (adj) lacking a stoma or stomata | atacama desert | (n) a desert in northern Chile rich in nitrate and copper deposits | atacama trench | (n) a depression in the floor of the Pacific Ocean off the coast of Chile | atactic abasia | (n) abasia due to ataxia of the legs, Syn. ataxic abasia | atakapa | (n) a member of an Indian people formerly living along the Gulf Coast of Louisiana and Texas, Syn. Attacapan | atakapa | (n) a language spoken by the Atakapa of the Gulf Coast of Louisiana and Texas, Syn. Atakapan, Attacapa, Attacapan | ataractic | (adj) tending to soothe or tranquilize, Syn. tranquilising, tranquillising, tranquillizing, tranquilizing, ataraxic, sedative | ataraxia | (n) peace of mind | ataturk | (n) Turkish statesman who abolished the caliphate and founded Turkey as a modern secular state (1881-1938), Syn. Kemal Ataturk, Kemal Pasha, Mustafa Kemal | atavism | (n) a reappearance of an earlier characteristic, Syn. throwback, reversion | atavist | (n) an organism that has the characteristics of a more primitive type of that organism, Syn. throwback | atavistic | (adj) characteristic of an atavist, Syn. throwback | ataxia | (n) inability to coordinate voluntary muscle movements; unsteady movements and staggering gait, Syn. dyssynergia, ataxy, motor ataxia | ataxic | (adj) lacking motor coordination; marked or caused by ataxia, Syn. atactic | autocatalysis | (n) catalysis in which the catalyst is one of the products of the reaction | autocatalytic | (adj) relating to or proceeding by autocatalysis | automatic data processing | (n) data processing by a computer, Syn. ADP | avatar | (n) the manifestation of a Hindu deity (especially Vishnu) in human or superhuman or animal form | balata | (n) when dried yields a hard substance used e.g. in golf balls, Syn. gutta balata | balata | (n) a tropical hardwood tree yielding balata gum and heavy red timber, Syn. balata tree, bully tree, beefwood, Manilkara bidentata | basilicata | (n) a region of southern Italy (forming the instep of the Italian `boot'), Syn. Lucania | bata | (n) a Chadic language spoken south of Lake Chad | bataan | (n) the peninsula and island in the Philippines where Japanese forces besieged American forces in World War II; United States forces surrendered in 1942 and recaptured the area in 1945, Syn. Corregidor | beatable | (adj) susceptible to being defeated, Syn. vincible, vanquishable | biocatalyst | (n) a biochemical catalyst such as an enzyme | biocatalytic | (adj) of or relating to biocatalysts | blatancy | (n) the property of being both obvious and offensive | blatant | (adj) without any attempt at concealment; completely obvious, Syn. conspicuous, blazing | blatant | (adj) conspicuously and offensively loud; given to vehement outcry, Syn. strident, clamorous, clamant, vociferous | blatantly | (adv) in a blatant manner | bletilla striata | (n) Japanese orchid with white-striped leaves and slender erect racemes of rose to magenta flowers; often cultivated; sometimes placed in genus Bletia, Syn. Bletia striata | calostomataceae | (n) a family of fungi belonging to the order Tulostomatales, Syn. family Calostomataceae | cantata | (n) a musical composition for voices and orchestra based on a religious text, Syn. oratorio | card catalog | (n) a library catalog in which each publication is described on a separate file card, Syn. card catalogue | case-fatality proportion | (n) the number of cases of a disease ending in death divided by the number of cases of the disease; usually expressed as a percentage or as the number of deaths per 1000 cases | catabiosis | (n) normal aging of cells |
| Abatable | a. Capable of being abated; as, an abatable writ or nuisance. [ 1913 Webster ] | Abranchiata | ‖n. pl. [ NL., from Gr. 'a priv. + &unr_;, pl., the gills of fishes. ] (Zool.) A group of annelids, so called because the species composing it have no special organs of respiration. [ 1913 Webster ] | Acatalectic | a. [ L. acatalecticus, Gr. &unr_;, not defective at the end; 'a priv. + &unr_; to cease. ] (Pros.) Not defective; complete; as, an acatalectic verse. -- n. A verse which has the complete number of feet and syllables. [ 1913 Webster ] | Acatalepsy | n. [ Gr. &unr_;; 'a priv. + &unr_; to seize, comprehend. ] Incomprehensibility of things; the doctrine held by the ancient Skeptic philosophers, that human knowledge never amounts to certainty, but only to probability. [ 1913 Webster ] | Acataleptic | a. [ Gr. &unr_;. ] Incapable of being comprehended; incomprehensible. [ 1913 Webster ] | Acclimatable | a. Capable of being acclimated. [ 1913 Webster ] | Acclimatation | n. [ Cf. F. acclimation. See Acclimate. ] Acclimatization. [ 1913 Webster ] | After-eatage | n. Aftergrass. [ 1913 Webster ] | Albata | ‖n. [ L. albatus, p. p. of albare to make white, fr. albus white. ] A white metallic alloy; which is made into spoons, forks, teapots, etc. British plate or German silver. See German silver, under German. [ 1913 Webster ] | allocatable | adj. 1. capable of being allocated. Syn. -- allocable, apportionable. [ WordNet 1.5 ] | Annellata | ‖n. pl. [ NL. ] (Zool.) See Annelida. [ 1913 Webster ] | Annulata | ‖n. pl. [ Neut. pl., fr. L. annulatus ringed. ] (Zool.) A class of articulate animals, nearly equivalent to Annelida, including the marine annelids, earthworms, Gephyrea, Gymnotoma, leeches, etc. See Annelida. [ 1913 Webster ] | Antenatal | a. Before birth. Shelley. [ 1913 Webster ] | Anticatarrhal | a. (Med.) Efficacious against catarrh. -- n. An anticatarrhal remedy. [ 1913 Webster ] | Antisabbatarian | n. (Eccl.) One of a sect which opposes the observance of the Christian Sabbath. [ 1913 Webster ] | Aplacentata | ‖ n. pl. [ Pref. a- not + placenta. ] (Zool.) Mammals which have no placenta. [ 1913 Webster ] | Appendiculata | ‖n. pl. [ NL. ] (Zool.) An order of annelids; the Polychæta. [ 1913 Webster ] | Arthropomata | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. 'a`rqron joint + &unr_; lid. ] (Zool.) One of the orders of Branchiopoda. See Branchiopoda. [ 1913 Webster ] | Articulata | ‖n. pl. [ Neut. pl. from L. articulatus furnished with joints, distinct, p. p. of articulare. See Article, v. ] (Zool.) 1. One of the four subkingdoms in the classification of Cuvier. It has been much modified by later writers. [ 1913 Webster ] ☞ It includes those Invertebrata having the body composed of a series of ringlike segments (arthromeres). By some writers, the unsegmented worms (helminths) have also been included; by others it is restricted to the Arthropoda. It corresponds nearly with the Annulosa of some authors. The chief subdivisions are Arthropoda (Insects, Myriapoda, Malacopoda, Arachnida, Pycnogonida, Crustacea); and Anarthropoda, including the Annelida and allied forms. [ 1913 Webster ] 2. One of the subdivisions of the Brachiopoda, including those that have the shells united by a hinge. [ 1913 Webster ] 3. A subdivision of the Crinoidea. [ 1913 Webster ] | Asiphonida | { ‖‖‖ } n. pl. [ NL., fr. Gr. 'a priv. + &unr_; a tube. ] (Zool.) A group of bivalve mollusks destitute of siphons, as the oyster; the asiphonate mollusks. [ 1913 Webster ] Variants: Asiphonata, Asiphonea | Atabal | n. [ Sp. atabal, fr. Ar. at-tabl the drum, tabala to beat the drum. Cf. Tymbal. ] A kettledrum; a kind of tabor, used by the Moors. Croly. [ 1913 Webster ] | Atabrine | n. [ Trademark. ] a drug once used to treat malaria (C23H30ClN3O); chemically it is a derivative of the tricyclic structure acridine: 6-chloro-9-[ [ 4-(diethylamino-1-methylbutyl) ]amino ]-2-methoxyacridine. It also has some anthelmintic activity against cestodes. Atabrine is a trademark. Syn. -- quinacrine, mepacrine. [ WordNet 1.5 ] | Atacamite | n. [ From the desert of Atacama, where found. ] (Min.) An oxychloride of copper, usually in emerald-green prismatic crystals. [ 1913 Webster ] | Atafter | prep. After. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] | Ataghan | n. See Yataghan. [ 1913 Webster ] | Atake | v. t. To overtake. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] | Ataman | n. [ Russ. ataman': cf. Pol. hetman, G. hauptmann headman, chieftain. Cf. Hetman. ] A hetman, or chief of the Cossacks. [ 1913 Webster ] | Atamasco lily | [ Atamasco is fr. North American Indian. ] (Bot.) See under Lily. [ Webster 1913 Suppl. ] | atar | n. 1. essential oil or perfume obtained from flowers. Syn. -- attar, athar, ottar [ WordNet 1.5 ] | ataractic | n. 1. 1 drug that reduces nervous tension and gives peace of mind. Syn. -- ataraxic [ WordNet 1.5 ] | ataraxic | adj. 1. tending to soothe or calm or tranquilize Syn. -- calming, sedative, soothing, tranquilizing [ WordNet 1.5 ] Variants: ataractic | ataraxic | n. 1. drug that reduces nervous tension and gives peace of mind. Syn. -- ataractic [ WordNet 1.5 ] | Ataraxy | { ‖ } n. [ NL. ataraxia, Gr. 'ataraxi`a; 'a priv. + tarakto`s disturbed, tara`ssein to disturb. ] Perfect peace of mind, or calmness. [ 1913 Webster ] Variants: Ataraxia | Ataunto | { } adv. [ F. autant as much (as possible). ] (Naut.) Fully rigged, as a vessel; with all sails set; set on end or set right. [ 1913 Webster ] Variants: Ataunt | Atavic | a. [ Cf. F. atavique. ] Pertaining to a remote ancestor, or to atavism. [ 1913 Webster ] | Atavism | n. [ L. atavus an ancestor, fr. avus a grandfather. ] 1. (a) The recurrence, or a tendency to a recurrence, of the original type of a species in the progeny of its varieties; resemblance to remote rather than to near ancestors; reversion to the original form. (b) (Biol.) The recurrence of any peculiarity or disease of an ancestor in a subsequent generation, after an intermission for a generation or two. [ 1913 Webster ] Now and then there occur cases of what physiologists call atavism, or reversion to an ancestral type of character. J. Fiske [ 1913 Webster ] 2. recurrence of or reversion to a past style, outlook, approach, or manner. [ PJC ] | atavistic | adj. 1. 1 displaying characteristics of a previous cultural era or of a previous ancestral form; displaying atavism Syn. -- atavic, throwback(prenominal) [ WordNet 1.5 ] | Ataxic | a. [ Cf. F. ataxique. See Ataxia. ] (Med.) Characterized by ataxy, that is, (a) by great irregularity of functions or symptoms, or (b) by a lack of coordinating power in movements. [ 1913 Webster ] Ataxic fever, malignant typhus fever. Pinel. [ 1913 Webster ]
| Ataxy | { ‖ } n. [ NL. ataxia, Gr. &unr_;, fr. &unr_; out of order; 'a priv. + &unr_; ordered, arranged, &unr_; to put in order: cf. F. ataxie. ] 1. Disorder; irregularity. [ Obs. ] Bp. Hall. [ 1913 Webster ] 2. (Med.) (a) Irregularity in disease, or in the functions. (b) The state of disorder that characterizes nervous fevers and the nervous condition. [ archaic ] [ 1913 Webster ] 3. (Med.) Loss of coordination in the voluntary muscles, especially the limbs; an inability to coordinate voluntary muscle movements; it results in unsteady movements and a staggering gait. See also locomotor ataxia, an ataxia which occurs when attempting to perform coordinated muscular movements. Syn. -- ataxy [ WordNet 1.5 +PJC ] Locomotor ataxia. See Locomotor. [ 1913 Webster ] Variants: Ataxia | Atazir | n. [ OF., fr. Ar. al-tasīr influence. ] (Astron.) The influence of a star upon other stars or upon men. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] | Athecata | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. 'a priv. + &unr_; chest, box. ] (Zool.) A division of Hydroidea in which the zooids are naked, or not inclosed in a capsule. See Tubularian. [ 1913 Webster ] | Autocatalysis | n. [ Auto- + catalysis. ] (Chem.) Self-catalysis; catalysis of a substance by one of its own products, as of silver oxide by the silver formed by reduction of a small portion of it. -- Au`to*cat`a*lyt"ic a. [Webster 1913 Suppl.] | Avatar | n. [ Skr. avatâra descent; ava from + root t&rsdot_; to cross, pass over. ] 1. (Hindu Myth.) The descent of a deity to earth, and his incarnation as a man or an animal; -- chiefly associated with the incarnations of Vishnu. [ 1913 Webster ] 2. An incarnation, embodiment or personification of a principle, quality, or attitude; -- used of people, mostly in a positive sense as a manifestation of a behavior or character worthy of admiration. [ 1913 Webster +PJC ] Martha Stewart, the home-and-hearth avatar whose products are now available at Kmart stores, is making upscale design touches like 200-thread-count cotton bed sheets something that most every American can aspire to. Leslie Kaufman (N. Y. Times, May 7, 1999). [ 1913 Webster ] | Balata | n. [ Sp., prob. fr. native name. ] 1. A West Indian sapotaceous tree (Bumelia retusa). [ Webster 1913 Suppl. ] 2. The bully tree (Minusops globosa); also, its milky juice ( balata gum), which when dried constitutes an elastic gum called chicle, or chicle gum. [ Webster 1913 Suppl. ] | Batable | a. [ Abbrev. from debatable. ] Disputable. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] ☞ The border land between England and Scotland, being formerly a subject of contention, was called batable or debatable ground. [ 1913 Webster ] | Batailled | a. Embattled. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] | Batardeau | ‖n. [ F. ] 1. A cofferdam. Brande & C. [ 1913 Webster ] 2. (Mil.) A wall built across the ditch of a fortification, with a sluice gate to regulate the height of water in the ditch on both sides of the wall. [ 1913 Webster ] | Batata | { ‖‖ } n. An aboriginal American name for the sweet potato (Ipomæa batatas). [ 1913 Webster ] Variants: Batatas | Batavian | a. 1. Of or pertaining to the Batavi, an ancient Germanic tribe. [ 1913 Webster ] 2. Of or pertaining to Batavia or Holland; as, a Batavian legion. [ 1913 Webster ] Batavian Republic, the name given to Holland by the French after its conquest in 1795. [ 1913 Webster ]
| Batavian | n. A native or inhabitant of Batavia or Holland. [ R. ] Bancroft. [ 1913 Webster ] |
| 数据 | [shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ, 数 据 / 數 据] data; numbers; digital; also written 數據|数据 #804 [Add to Longdo] | 数据 | [shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ, 数 据 / 數 據] data; numbers; digital #804 [Add to Longdo] | 转发 | [zhuǎn fā, ㄓㄨㄢˇ ㄈㄚ, 转 发 / 轉 發] to transmit; forwarding (mail, SMS, packets of data); to pass on; to reprint (an article from another publication) #881 [Add to Longdo] | 资料 | [zī liào, ㄗ ㄌㄧㄠˋ, 资 料 / 資 料] material; resources; data; information #954 [Add to Longdo] | 材料 | [cái liào, ㄘㄞˊ ㄌㄧㄠˋ, 材 料] material; data; makings; stuff #1,099 [Add to Longdo] | 目 | [mù, ㄇㄨˋ, 目] eye; item; section; list; catalogue; table of contents; order (taxonomy); goal; name; title #2,277 [Add to Longdo] | 整理 | [zhěng lǐ, ㄓㄥˇ ㄌㄧˇ, 整 理] to arrange; to tidy up; to sort out; to straighten out; to list systematically; to collate (data, files); to pack (luggage) #2,716 [Add to Longdo] | 搜索 | [sōu suǒ, ㄙㄡ ㄙㄨㄛˇ, 搜 索] to search; to look for sth; to scour (search meticulously); to look sth up; internet search; database search #3,689 [Add to Longdo] | 数据库 | [shù jù kù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄎㄨˋ, 数 据 库 / 數 據 庫] database #6,660 [Add to Longdo] | 后天 | [hòu tiān, ㄏㄡˋ ㄊㄧㄢ, 后 天 / 後 天] day after tomorrow; post-natal #6,710 [Add to Longdo] | 灾难 | [zāi nàn, ㄗㄞ ㄋㄢˋ, 灾 难 / 災 難] disaster; catastrophe #6,800 [Add to Longdo] | 基准 | [jī zhǔn, ㄐㄧ ㄓㄨㄣˇ, 基 准 / 基 準] norm; standard; standard of reference; base; base point; base line; benchmark; reference point; reference frame; criterion; data #6,894 [Add to Longdo] | 填写 | [tián xiě, ㄊㄧㄢˊ ㄒㄧㄝˇ, 填 写 / 填 寫] to fill in a form; to write data in a box (on a questionnaire or web form) #7,428 [Add to Longdo] | 目录 | [mù lù, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ, 目 录 / 目 錄] catalog; table of contents; directory (on computer hard drive); list; contents #7,457 [Add to Longdo] | 多哈 | [Duō hā, ㄉㄨㄛ ㄏㄚ, 多 哈] Doha, capital of Qatar #7,833 [Add to Longdo] | 致命 | [zhì mìng, ㄓˋ ㄇㄧㄥˋ, 致 命] fatal; mortal; deadly; to sacrifice one's life #7,980 [Add to Longdo] | 薰 | [xūn, ㄒㄩㄣ, 薰] Coumarouna odorata; tonka beans; coumarin; sweet smelling grass; same as 熏 #9,875 [Add to Longdo] | 菱 | [líng, ㄌㄧㄥˊ, 菱] Trapa natans; water caltrop #10,880 [Add to Longdo] | 葛 | [gé, ㄍㄜˊ, 葛] hemp cloth; Pueraria lobata (lobed kudzu vine (a legume with starchy roots used in traditional Chinese medicine) #10,991 [Add to Longdo] | 汇总 | [huì zǒng, ㄏㄨㄟˋ ㄗㄨㄥˇ, 汇 总 / 匯 總] summary; to summarize; to collect (data, receipts etc); to gather and report #11,380 [Add to Longdo] | 汇总 | [huì zǒng, ㄏㄨㄟˋ ㄗㄨㄥˇ, 汇 总 / 彙 總] summary; to summarize; to collect (data, receipts etc); to gather and report; also written 匯總|汇总 #11,380 [Add to Longdo] | 产后 | [chǎn hòu, ㄔㄢˇ ㄏㄡˋ, 产 后 / 產 後] postnatal #11,562 [Add to Longdo] | 白内障 | [bái nèi zhàng, ㄅㄞˊ ㄋㄟˋ ㄓㄤˋ, 白 内 障 / 白 內 障] cataract #12,915 [Add to Longdo] | 史料 | [shǐ liào, ㄕˇ ㄌㄧㄠˋ, 史 料] historical material or data #13,671 [Add to Longdo] | 桐 | [tóng, ㄊㄨㄥˊ, 桐] Chinese wood-oil tree (Aleurites cordata) #13,880 [Add to Longdo] | 卡塔尔 | [Kǎ tǎ ěr, ㄎㄚˇ ㄊㄚˇ ㄦˇ, 卡 塔 尔 / 卡 塔 爾] Qatar #14,253 [Add to Longdo] | 差错 | [chā cuò, ㄔㄚ ㄘㄨㄛˋ, 差 错 / 差 錯] error (in data transmission); mistake; slip-up; fault; error in data transmission; accident; mishap #14,272 [Add to Longdo] | 遇难者 | [yù nàn zhě, ㄩˋ ㄋㄢˋ ㄓㄜˇ, 遇 难 者 / 遇 難 者] victim; fatality #15,111 [Add to Longdo] | 樱花 | [yīng huā, ㄧㄥ ㄏㄨㄚ, 樱 花 / 櫻 花] oriental cherry (Prunus serrulata or Prunus yedoensis), prized for its blossom; also known as sakura (Japanese) or Yoshino cherry #15,135 [Add to Longdo] | 山楂 | [shān zhā, ㄕㄢ ㄓㄚ, 山 楂] hawthorn tree (rose family, genus Crataegus); rose hip (hawthorn fruit) #16,395 [Add to Longdo] | 催化剂 | [cuī huà jì, ㄘㄨㄟ ㄏㄨㄚˋ ㄐㄧˋ, 催 化 剂 / 催 化 劑] catalyst #17,675 [Add to Longdo] | 下层 | [xià céng, ㄒㄧㄚˋ ㄘㄥˊ, 下 层 / 下 層] underlayer; lower class; lower strata; substrate #18,083 [Add to Longdo] | 炕 | [kàng, ㄎㄤˋ, 炕] kang (a heatable brick bed) #18,611 [Add to Longdo] | 扑面 | [pū miàn, ㄆㄨ ㄇㄧㄢˋ, 扑 面 / 撲 面] lit. sth hits one in the face; directly in one's face; sth assaults the senses; blatant (advertising); eye catching; (a smell) assaults the nostrils #19,146 [Add to Longdo] | 催化 | [cuī huà, ㄘㄨㄟ ㄏㄨㄚˋ, 催 化] catalysis; to catalyze (a reaction) #19,560 [Add to Longdo] | 命案 | [mìng àn, ㄇㄧㄥˋ ㄢˋ, 命 案] a fatal case (legal, criminal, medical etc) #19,968 [Add to Longdo] | 芰 | [jì, ㄐㄧˋ, 芰] Trapa natans; water caltrop #20,082 [Add to Longdo] | 产前 | [chǎn qián, ㄔㄢˇ ㄑㄧㄢˊ, 产 前 / 產 前] prenatal #20,347 [Add to Longdo] | 如来 | [rú lái, ㄖㄨˊ ㄌㄞˊ, 如 来 / 如 來] tathagata (Buddha's name for himself, having many layers of meaning - Sanskrit: thus gone, having been Brahman, gone to the absolute etc) #21,327 [Add to Longdo] | 法塔赫 | [Fǎ tǎ hè, ㄈㄚˇ ㄊㄚˇ ㄏㄜˋ, 法 塔 赫] Fatah, Palestinian organization #21,406 [Add to Longdo] | 梓 | [zǐ, ㄗˇ, 梓] Catalpa kaempferi; printing blocks #21,628 [Add to Longdo] | 数据传输 | [shù jù chuán shū, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄔㄨㄢˊ ㄕㄨ, 数 据 传 输 / 數 據 傳 輸] data transmission #23,740 [Add to Longdo] | 梧桐 | [wú tóng, ㄨˊ ㄊㄨㄥˊ, 梧 桐] wutong or Paulownia tree (Fermiana platanifolia), a lightweight strong wood used for musical instruments; Chinese parasol tree #25,071 [Add to Longdo] | 载入 | [zǎi rù, ㄗㄞˇ ㄖㄨˋ, 载 入 / 載 入] to load into; to record; to write into; to enter (data); to go into (the records); to go down (in history) #25,642 [Add to Longdo] | 柑橘 | [gān jú, ㄍㄢ ㄐㄩˊ, 柑 橘] Mandarin orange (Citrus reticulata); tangerine #25,708 [Add to Longdo] | 常住 | [cháng zhù, ㄔㄤˊ ㄓㄨˋ, 常 住] eternalism (permanence of soul, Sanskrit śāśvata-vāda); permanent residence #26,129 [Add to Longdo] | 橡 | [xiàng, ㄒㄧㄤˋ, 橡] oak; Quercus serrata #26,672 [Add to Longdo] | 文摘 | [wén zhāi, ㄨㄣˊ ㄓㄞ, 文 摘] digest (of literature); to make a digest (of data); summary #26,988 [Add to Longdo] | 谋略 | [móulu:è, ㄇㄡˊlu:ㄜˋ, 谋 略 / 謀 略] stratagem; to plot #27,300 [Add to Longdo] | 拟合 | [nǐ hé, ㄋㄧˇ ㄏㄜˊ, 拟 合 / 擬 合] to fit (data to a model); a (close) fit #28,044 [Add to Longdo] |
| 頭金 | [あたまきん, atamakin] TH: เงินดาวน์มัดจำ EN: down payment | 渡す | [わたす, watasu] TH: พาดผ่าน EN: to pass over | 渡す | [わたす, watasu] TH: ยื่นให้ | 被写体 | [ひしゃたい, hishatai] TH: สิ่งที่เป็นแบบในการถ่ายภาพ EN: (photographic subject | 書き方 | [かきかた, kakikata] TH: วิธีเขียน ลายมือเขียนหนังสือ EN: way of writing | 組み方 | [くみかた, kumikata] TH: วิธีประกบ | あなた | [あなた, anata] TH: คุณ EN: you | 仕方が無い | [しかたがない, shikataganai] TH: ช่วยไม่ได้ EN: it can't be helped (id) | 語り合う | [かたりあう, katariau] TH: พูดคุยกัน EN: to talk together | 固まる | [かたまる, katamaru] TH: แข็งขึ้น EN: (vi) to harden | 固まる | [かたまる, katamaru] TH: กำหนดแน่นอน EN: to become certain | 考え方 | [かんがえかた, kangaekata] TH: ความคิด, วิธีการคิด EN: way of thinking | 教え方 | [おしえかた, oshiekata] TH: วิธีการสอน EN: method of teaching | 当たり前 | [あたりまえ, atarimae] TH: เป็นธรรมดา EN: usual (an) | 当たり前 | [あたりまえ, atarimae] TH: ธรรมดา | 当たり前 | [あたりまえ, atarimae] TH: ปกติ EN: ordinary | データベース | [でーたべーす, de-tabe-su] TH: ฐานข้อมูล EN: database | 父方 | [ちちかた, chichikata] TH: ญาติฝ่ายพ่อ EN: father's side of family | 私 | [わたし, watashi] TH: ฉัน ผม ข้าพเจ้า EN: I | 一人当たり | [ひとりあたり, hitoriatari] TH: (ราคา)ต่อหัว EN: per person | データ | [でーた, de-ta] TH: ข้อมูล EN: data | 妨げる | [さまたげる, samatageru] TH: ก่อกวน EN: to disturb | 妨げる | [さまたげる, samatageru] TH: ขัดขวาง EN: to prevent | 戦う | [たたかう, tatakau] TH: ต่อสู้ EN: to fight | 戦う | [たたかう, tatakau] TH: ดิ้นรนต่อสู้ | 戦う | [たたかう, tatakau] TH: แข่งขัน | 型 | [かた, kata] TH: แม่พิมพ์ | 型 | [かた, kata] TH: แบบอย่าง EN: model | 働く | [はたらく, hataraku] TH: ทำงาน EN: to work | 見渡す | [みわたす, miwatasu] TH: มองไปรอบ ๆ EN: to look out over | 見渡す | [みわたす, miwatasu] TH: สำรวจดู EN: to survey (scene) | 傾く | [かたむく, katamuku] TH: เอียง EN: to incline | 傾く | [かたむく, katamuku] TH: ตะแคง EN: to slant | 与える | [あたえる, ataeru] TH: กำหนด (เช่น กำหนดค่าตัวแปร) EN: to give | 与える | [あたえる, ataeru] TH: เสนอ EN: to present | 行き方 | [いきかた, ikikata] TH: ทางไป(ยังจุดหมาย) | 叩く | [たたく, tataku] TH: ทุบ | 叩く | [たたく, tataku] TH: ปรบมือ EN: to clap | 当たる | [あたる, ataru] TH: เทียบเท่ากับ | 当たる | [あたる, ataru] TH: ถูก(ลอตเตอรี่) | 傾ける | [かたむける, katamukeru] TH: จับเอียง EN: to bend (vt) | 傾ける | [かたむける, katamukeru] TH: เอนเอียง EN: to tilt | 堅苦しい | [かたくるしい, katakurushii] TH: เป็นทางการ EN: formal | 堅苦しい | [かたくるしい, katakurushii] TH: เป็นพิธีรีตรอง EN: ceremonious | 改める | [あらためる, aratameru] TH: ปรับปรุงใหม่ EN: to change | 改める | [あらためる, aratameru] TH: แก้ไขใหม่ EN: to revise | 闘う | [たたかう, tatakau] TH: ต่อสู้ EN: to fight | 闘う | [たたかう, tatakau] TH: ทำการรบ EN: to battle | 闘う | [たたかう, tatakau] TH: แข่งขันชิงตำแหน่ง EN: to engage in contest | 果たす | [はたす, hatasu] TH: ทำให้สำเร็จลุล่วงไป EN: to accomplish |
| | | 県;縣(oK) | [あがた, agata] (n) (1) territory (pre-Taika #40 [Add to Longdo] | 情報 | [じょうほう, jouhou] (n) (1) (See 秘密情報) news; gossip; (military) intelligence; (2) (See 情報インフラ) information (data contained in characters, signals, code, etc.); (P) #102 [Add to Longdo] | 一覧 | [いちらん, ichiran] (n, vs) (1) at a glance; (a) look; (a) glance; (a) summary; (2) (school) catalog; catalogue; (P) #119 [Add to Longdo] | 項目 | [こうもく, koumoku] (n) (data) item; entry; (P) #182 [Add to Longdo] | 使い方(P);遣い方 | [つかいかた, tsukaikata] (n) way to use something; treatment; management (of help); (P) #190 [Add to Longdo] | 新しい(P);新らしい(io) | [あたらしい, atarashii] (adj-i) new; novel; fresh; recent; latest; up-to-date; modern; (P) #198 [Add to Longdo] | 型 | [かた(P);がた, kata (P); gata] (n) (1) model; type (e.g. of machine, goods, etc.); (2) (がた when a suffix) (See 朝型) type; style; pattern; (3) mold (mould); template; model; (4) kata (standard form of a movement, posture, etc. in martial arts, sport, etc.); (5) form (i.e. customary procedure); (6) size (i.e. clothing, shoes); (7) (obsc) (See 品種) (taxonomical) form; (P) #203 [Add to Longdo] | 私 | [わたし(P);わたくし(P), watashi (P); watakushi (P)] (pn, adj-no) (fem) I; me; (P) #215 [Add to Longdo] | 私 | [わたし(P);わたくし(P), watashi (P); watakushi (P)] (pn, adj-no) I (mainly used by working men); myself #215 [Add to Longdo] | 私 | [わたし(P);わたくし(P), watashi (P); watakushi (P)] (pn) (1) (arch) (ksb #215 [Add to Longdo] | 私 | [わたし(P);わたくし(P), watashi (P); watakushi (P)] (n) (arch) (ktb #215 [Add to Longdo] | 私 | [わたし(P);わたくし(P), watashi (P); watakushi (P)] (pn, adj-no) (1) I; me; (n, adj-no) (2) (わたくし only) private affairs; personal matter; secrecy; (3) (わたくし only) selfishness; (P) #215 [Add to Longdo] | 系 | [けい, kei] (n, n-suf) (1) system; lineage; group; (2) { math } corollary; (3) (geological) system (range of strata that correspond to a particular time period); (4) (taxonomical) series; (P) #222 [Add to Longdo] | 機 | [はた, hata] (n) (1) chance; opportunity; (2) machine; (3) aircraft; (ctr) (4) counter for aircraft; (5) counter for remaining lives (in video games) #270 [Add to Longdo] | 機 | [はた, hata] (n) loom #270 [Add to Longdo] | 形(P);容;貌 | [かたち(P);よう(容), katachi (P); you ( you )] (n) (1) (形, 容 only) form; shape; figure; (2) visage; (P) #296 [Add to Longdo] | 地方 | [ちほう(P);じかた, chihou (P); jikata] (n, adj-no) (1) area; locality; district; region; province; (2) countryside; rural area; (3) coast (esp. as seen from the water); (4) (じかた only) person singing ballads in noh; person in charge of music in a Japanese dance performance; (P) #416 [Add to Longdo] | 館;屋形 | [やかた;たち(館);たて(館), yakata ; tachi ( kan ); tate ( kan )] (n) (1) mansion; small castle; (2) (hon) nobleman; noblewoman; (3) (やかた only) boat cabin #532 [Add to Longdo] | 側(P);傍;端 | [そば(側;傍)(P);そく(側);はた, soba ( gawa ; bou )(P); soku ( gawa ); hata] (n) (1) near; close; beside; vicinity; proximity; besides; while; (2) (はた only) third person; (P) #561 [Add to Longdo] | 海 | [うみ(P);み(ok);わた(ok);わだ(ok), umi (P); mi (ok); wata (ok); wada (ok)] (n) sea; beach; (P) #595 [Add to Longdo] | 新た | [あらた, arata] (adj-na, n) (1) new; fresh; novel; (adv) (2) newly; freshly; re-; (P) #621 [Add to Longdo] | 資料 | [しりょう, shiryou] (n, adj-no) materials; data; document; (P) #660 [Add to Longdo] | 橋 | [はし, hashi] (n, adj-no) pons (pontes); pons Varolii; pontine; part of the brain stem (links the medulla oblongata and cerebellum with the midbrain) #675 [Add to Longdo] | 物語 | [ものがたり, monogatari] (n, vs, adj-no) tale; story; legend; (P) #778 [Add to Longdo] | 一方 | [ひとかた, hitokata] (n) (1) one (esp. of two); the other; one way; the other way; one direction; the other direction; one side; the other side; one party; the other party; (conj) (2) (See 他方・2) on the one hand; on the other hand; (3) whereas; although; but at the same time; meanwhile; in turn; (n-adv, n-suf) (4) (after noun, adjective-stem or plain verb) just keeps; being inclined to ...; tending to be ...; tending to do ...; continuously ...; just keeps on ...ing; only; (P) #802 [Add to Longdo] | 一方 | [ひとかた, hitokata] (n) (1) (hon) one person; (adj-na) (2) (often in negative form) ordinary; common #802 [Add to Longdo] | 新潟 | [にいがた, niigata] (n) Niigata (city) #815 [Add to Longdo] | 戦い(P);闘い | [たたかい, tatakai] (n) battle; fight; struggle; conflict; (P) #881 [Add to Longdo] | データ | [de-ta] (n) data; datum; (P) #884 [Add to Longdo] | 頭(P);首 | [あたま(頭)(P);かしら(P);かぶり(頭);こうべ;ず(頭);つむり(頭);つぶり(頭);つむ(頭);かぶ(頭)(ok), atama ( atama )(P); kashira (P); kaburi ( atama ); koube ; zu ( atama ); tsumuri ( ] (n) (1) head; (2) (あたま only) mind; brain; intellect; (3) (あたま, かしら only) top; (4) (あたま, かしら only) hair (on one's head); (5) (つむり only) bangs; fringe; (6) (かしら only) top structural component of a kanji; (P) #1,101 [Add to Longdo] | 与え | [あたえ, atae] (n) gift; godsend #1,103 [Add to Longdo] | 姿 | [すがた, sugata] (n) (1) figure; form; shape; (2) appearance; dress; guise; (3) state; condition; picture; image; (4) (See 和歌) form (of a waka); (n-suf) (5) dressed in ...; wearing ...; (P) #1,117 [Add to Longdo] | 再び(P);二度 | [ふたたび, futatabi] (adv) again; once more; a second time; (P) #1,146 [Add to Longdo] | 入力 | [にゅうりょく, nyuuryoku] (n, vs) input; (data) entry; (P) #1,197 [Add to Longdo] | 杯;盃 | [はい;はた(杯)(ok), hai ; hata ( hai )(ok)] (n) (1) (はい only) sake cup; cup for alcoholic beverages; (suf, ctr) (2) counter for cupfuls; (3) (はい only) counter for ships, octopuses and squid #1,247 [Add to Longdo] | 検索 | [けんさく, kensaku] (n, vs) looking up (e.g. a word in a dictionary); retrieval (e.g. data); searching for; referring to; (P) #1,341 [Add to Longdo] | 値(P);価;直;價(oK) | [あたい(値;価;價)(P);ね(値;直), atai ( atai ; atai ; atai )(P); ne ( atai ; choku )] (n, adj-no) (1) price; cost; (2) value; worth; merit; (3) (あたい only) { math } value; count; number; (4) (あたい only) { comp } variable (computer programming, programing); (P) #1,346 [Add to Longdo] | 敵;仇 | [かたき, kataki] (n, n-suf) (1) (usu. pronounced がたき when used as a suffix) rival; opponent; adversary; (2) foe; enemy #1,353 [Add to Longdo] | 戦士 | [せんし, senshi] (n) soldier; combatant; warrior; (P) #1,594 [Add to Longdo] | 山形 | [やまがた, yamagata] (n) mountain-shaped; (P) #1,614 [Add to Longdo] | 井戸端 | [いどばた, idobata] (n) side of well #1,713 [Add to Longdo] | 旗(P);幡;旌 | [はた, hata] (n) (1) flag; (2) (幡 only) { Buddh } (See 幡・ばん) pataka (banner); (P) #1,748 [Add to Longdo] | 直;費;費直 | [あたい;あたえ(直;費);あたいえ(直)(ok), atai ; atae ( choku ; hi ); ataie ( choku )(ok)] (n) (See 国造, 姓・かばね) Atai (post-Taika hereditary title often given to regional administrators) #1,785 [Add to Longdo] | 大型(P);大形 | [おおがた, oogata] (adj-na, n, adj-no) (See 小型) large; large scale; big; jumbo; (P) #1,841 [Add to Longdo] | 新型(P);新形 | [しんがた, shingata] (n, adj-no) new type; new style; new model; new strain (e.g. infectious disease); (P) #2,097 [Add to Longdo] | 要素 | [ようそ, youso] (n) (1) component; factor; item (e.g. in list); (2) { comp } element (e.g. in array); member (e.g. data structure); (P) #2,140 [Add to Longdo] | 中部 | [ちゅうぶ, chuubu] (n) (1) center; centre; middle; heart; (2) (abbr) (See 中部地方) Chubu region (inc. Aichi, Nagano, Shizuoka, Niigata, Toyama, Ishikawa, Fukui, Yamanashi and Gifu prefectures); (P) #2,454 [Add to Longdo] | データベース | [de-tabe-su] (n) { comp } database #2,577 [Add to Longdo] | 床 | [とこ, toko] (n) (1) bed; bedding; (2) sickbed; (3) (abbr) (See 床の間) alcove; (4) riverbed; (5) seedbed; (6) straw "core" of a tatami mat; (7) (See 床・ゆか・1) floor; (P) #2,631 [Add to Longdo] | 私立 | [しりつ(P);わたくしりつ, shiritsu (P); watakushiritsu] (n, vs, adj-no) private (establishment); (P) #2,637 [Add to Longdo] |
| あげられる | [あげられる, agerareru] to be captured (e.g. data) [Add to Longdo] | より小さいまたは等しい | [よりちいさいまたはひとしい, yorichiisaimatahahitoshii] less than or equal to (<=) [Add to Longdo] | より大きいまたは等しい | [よりおおきいまたはひとしい, yoriookiimatahahitoshii] greater than or equal to (>=) [Add to Longdo] | アタックパターン | [あたっくぱたーん, atakkupata-n] attack pattern [Add to Longdo] | アタッチメントユニットインタフェース | [あたっちめんとゆにっといんたふぇーす, atacchimentoyunittointafe-su] attachment unit interface (AUI) [Add to Longdo] | アナログデータ | [あなろぐでーた, anarogude-ta] analog data [Add to Longdo] | アバター | [あばたー, abata-] avatar [Add to Longdo] | イメージデータ | [いめーじでーた, ime-jide-ta] image data [Add to Longdo] | インタプリータ型言語 | [インタプリータかたげんご, intapuri-ta katagengo] interpretive language [Add to Longdo] | インタプリタ型言語 | [インタプリタかたげんご, intapurita katagengo] interpretive language [Add to Longdo] | エレメント | [えれめんと, eremento] element (e.g. in data transmission) [Add to Longdo] | エントリ順データセット | [エントリじゅんデータセット, entori jun de-tasetto] ESDS, Entry-Sequenced Data Set [Add to Longdo] | オクテット列型 | [オクテットれつがた, okutetto retsugata] octet-string type [Add to Longdo] | オブジェクト記述子型 | [オブジェクトきじゅつしがた, obujiekuto kijutsushigata] object descriptor type [Add to Longdo] | オブジェクト識別子型 | [オブジェクトしきべつしがた, obujiekuto shikibetsushigata] object identifier type [Add to Longdo] | カタログ | [かたろぐ, katarogu] catalog (vs), catalogue [Add to Longdo] | カタログドプロシジャ | [かたろぐどぷろしじゃ, katarogudopuroshija] cataloged procedure [Add to Longdo] | キー順データセット | [キーじゅんデータセット, ki-jun de-tasetto] KSDS, Key-Sequenced Data Set [Add to Longdo] | グリッドパターン | [ぐりっどぱたーん, guriddopata-n] grid pattern [Add to Longdo] | コード透過形データ通信 | [コードとうかがたデータつうしん, ko-do toukagata de-ta tsuushin] code-transparent data communication [Add to Longdo] | コード独立形データ通信 | [コードどくりつがたデータつうしん, ko-do dokuritsugata de-ta tsuushin] code-independent data communication [Add to Longdo] | コネクションレス型 | [コネクションレスがた, konekushonresu gata] connectionless communication [Add to Longdo] | コネクションレス型ネットワーク伝送 | [こねくしょんれすがたネットワークでんそう, konekushonresugata nettowa-ku densou] connectionless-mode (network communications) [Add to Longdo] | コネクション型 | [コネクションがた, konekushon gata] connection-type, connection-oriented [Add to Longdo] | コンバータ | [こんばーた, konba-ta] (data) converter [Add to Longdo] | サーチパタン | [さーちぱたん, sa-chipatan] search pattern [Add to Longdo] | サーバクライアント型 | [サーバクライアントがた, sa-bakuraianto gata] client-server model [Add to Longdo] | サービスデータ単位 | [サービスデータたんい, sa-bisude-ta tan'i] SDU, Service Data Unit [Add to Longdo] | サブパタン | [さぶぱたん, sabupatan] subpattern [Add to Longdo] | システムデータ | [しすてむでーた, shisutemude-ta] system data [Add to Longdo] | スター型 | [スターがた, suta-gata] star configuration [Add to Longdo] | スター形 | [スターがた, suta-gata] star configuration [Add to Longdo] | スロット形リングネットワーク | [スロットがたリングネットワーク, surotto gata ringunettowa-ku] slotted-ring network [Add to Longdo] | セガサターン | [せがさたーん, segasata-n] Sega Saturn [Add to Longdo] | セクタのデータ領域 | [せくたのデータりょういき, sekutano de-ta ryouiki] data field of a sector [Add to Longdo] | センスデータ | [せんすでーた, sensude-ta] sense data [Add to Longdo] | タグ付き型 | [たぐつきがた, tagutsukigata] tagged type [Add to Longdo] | チャネル当たり | [チャネルあたり, chaneru atari] per channel [Add to Longdo] | データ | [でーた, de-ta] datum, data [Add to Longdo] | データ(の)階層 | [データのかいそう, de-ta nokaisou] data hierarchy [Add to Longdo] | データのチェック | [でーた の ちえっく, de-ta no chiekku] data check [Add to Longdo] | データの汚染 | [データのおせん, de-ta noosen] data corruption, data contamination [Add to Longdo] | データの完全性 | [データのかんぜんせい, de-ta nokanzensei] data integrity [Add to Longdo] | データの丸め | [データのまるめ, de-ta nomarume] data rounding [Add to Longdo] | データの基底アドレス | [データのきていアドレス, de-ta nokitei adoresu] base address of data [Add to Longdo] | データの先頭 | [データのせんとう, de-ta nosentou] beginning of data [Add to Longdo] | データの品質 | [データのひんひつ, de-ta nohinhitsu] data quality [Add to Longdo] | データの保全性 | [データのほぜんせい, de-ta nohozensei] data integrity [Add to Longdo] | データの要素 | [データのようそ, de-ta noyouso] data element [Add to Longdo] | データインスタンス | [でーたいんすたんす, de-tainsutansu] data instance [Add to Longdo] |
| みかん畑 | [みかんばたけ, mikanbatake] Mandarinenpflanzung [Add to Longdo] | 一人当たり | [ひとりあたり, hitoriatari] pro_Kopf, pro_Person [Add to Longdo] | 七夕 | [たなばた, tanabata] Sternenfest (7.Juli-August) [Add to Longdo] | 与える | [あたえる, ataeru] -geben [Add to Longdo] | 且つ又 | [かつまた, katsumata] ausserdem, -ferner [Add to Longdo] | 二十歳 | [はたち, hatachi] 20 Jahre (alt) [Add to Longdo] | 二者択一 | [にしゃたくいつ, nishatakuitsu] Entweder-Oder, entwederoder [Add to Longdo] | 仕方 | [しかた, shikata] -Art, Weise, Methode, -Weg [Add to Longdo] | 使い方 | [つかいかた, tsukaikata] Gebrauch, Handhabung [Add to Longdo] | 侍気質 | [さむらいかたぎ, samuraikatagi] Samuraigeist [Add to Longdo] | 価 | [あたい, atai] Preis, Wert [Add to Longdo] | 偏る | [かたよる, katayoru] sich_neigen, einseitig_sein, parteiisch_sein [Add to Longdo] | 傍ら | [かたわら, katawara] -Seite [Add to Longdo] | 傘立て | [かさたて, kasatate] Schirmstaender [Add to Longdo] | 傾く | [かたむく, katamuku] sich_neigen [Add to Longdo] | 傾ける | [かたむける, katamukeru] -neigen [Add to Longdo] | 働き | [はたらき, hataraki] Arbeit, Funktion, Wirkung, Faehigkeit [Add to Longdo] | 働き口 | [はたらきぐち, hatarakiguchi] Stelle (Arbeit), Position [Add to Longdo] | 働き手 | [はたらきて, hatarakite] Arbeiter, Ernaehrer [Add to Longdo] | 働き者 | [はたらきもの, hatarakimono] harter_Arbeiter, tuechtiger_Mann [Add to Longdo] | 働く | [はたらく, hataraku] arbeiten [Add to Longdo] | 再び | [ふたたび, futatabi] noch_einmal, wieder, zweimal [Add to Longdo] | 刀 | [かたな, katana] Schwert, Messer [Add to Longdo] | 参事 | [さんじ, sanji] Ungluecksfall, Katastrophe [Add to Longdo] | 又 | [また, mata] -wieder, -auch, und_auch [Add to Longdo] | 又々 | [またまた, matamata] schon_wieder [Add to Longdo] | 又は | [または, mataha] -oder, entweder...oder, mit_anderen_Worten [Add to Longdo] | 又聞き | [またぎき, matagiki] Hoerensagen [Add to Longdo] | 又貸し | [またがし, matagashi] Untermiete, weitervermieten [Add to Longdo] | 取り扱い方 | [とりあつかいかた, toriatsukaikata] Behandlungsweise [Add to Longdo] | 四畳半 | [よじょうはん, yojouhan] 4 1, 2 Tatami (Zimmergroesse) [Add to Longdo] | 固まる | [かたまる, katamaru] hart_machen, hart_werden [Add to Longdo] | 固める | [かためる, katameru] hart_machen, hart_werden [Add to Longdo] | 坪当たり | [つぼあたり, tsuboatari] pro_Tsubo [Add to Longdo] | 型 | [かた, kata] Modell, -Form [Add to Longdo] | 堅い | [かたい, katai] -fest, -hart, solide [Add to Longdo] | 堕胎 | [だたい, datai] Abtreibung [Add to Longdo] | 塊 | [かたまり, katamari] Klumpen, -Masse, Haufen [Add to Longdo] | 夕方 | [ゆうがた, yuugata] Abend [Add to Longdo] | 大型トラック | [おうがたトラック, ougata torakku] grosser_LKW, schwerer_LKW [Add to Longdo] | 天災 | [てんさい, tensai] Naturkatastrophe [Add to Longdo] | 妨げる | [さまたげる, samatageru] stoeren, hindern [Add to Longdo] | 姿 | [すがた, sugata] Gestalt, Figur, Erscheinung, Aussehen [Add to Longdo] | 姿見 | [すがたみ, sugatami] grosser_Spiegel [Add to Longdo] | 家宅 | [かたく, kataku] Haus [Add to Longdo] | 家宅捜査 | [かたくそうさ, katakusousa] Haussuchung, Hausdurchsuchung [Add to Longdo] | 家宅捜索 | [かたくそうさく, katakusousaku] Haussuchung, Hausdurchsuchung [Add to Longdo] | 小刀 | [こがたな, kogatana] Taschenmesser [Add to Longdo] | 山刀 | [やまがたな, yamagatana] Buschmesser, Jagdmesser [Add to Longdo] | 山師 | [やまし, yamashi] Spekulant, Abenteurer, Scharlatan [Add to Longdo] |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |