ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: class, -class- |
class | (vt) จัดแบ่งหมวดหมู่, See also: จัดกลุ่ม, Syn. classify, categorize | class | (n) ชนชั้น, Syn. caste, social rank, social stratum | class | (n) ชั้นเรียน | class | (adj) ที่ดีเยี่ยม | class | (n) ประเภทหรือชนิด, Syn. category, division, group, kind, sort | classy | (adj) ยอดเยี่ยม, See also: ชั้นเยี่ยม, ชั้นหนึ่ง, Syn. first-class, fine, elegant | classic | (adj) ที่เป็นรูปแบบดั้งเดิม, Syn. classical | classic | (adj) ที่มีคุณภาพสูง, Syn. excellent, superior, first-rate | classify | (vt) จัดกลุ่ม | outclass | (vt) เหนือกว่า, See also: ดีกว่า, เป็นเลิศกว่า, Syn. outdo, excel | subclass | (n) กลุ่มย่อย, See also: กลุ่มรอง, Syn. subordinate class | subclass | (n) จำพวกรอง (พืช, สัตว์), Syn. subdivision | classical | (adj) ที่เกี่ยวกับกรีกหรือโรมันโบราณ, Syn. classic | classical | (adj) ที่เป็นแบบดั้งเดิม | classical | (adj) ที่เป็นเพลงคลาสสิค | classless | (adj) ที่ไม่มีการแบ่งชนชั้น | classmate | (n) เพื่อนร่วมชั้นเรียน | classroom | (n) ห้องเรียน | class with | (phrv) จัดอยู่ในประเภท, See also: จัดอยู่ใน | classicist | (n) ผู้ที่ศึกษาวัฒนธรรมกรีกและโรมันโบราณ | classified | (adj) ที่แบ่งเป็นประเภท, Syn. grouped, classed, sorted | classified | (adj) ที่เป็นความลับทางราชการ, See also: ที่เปิดเผยเฉพาะเจ้าหน้าที่เท่านั้น | declassify | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่ามิได้เป็นความลับอีกต่อไป, See also: เปิดเผย | high-class | (adj) ชั้นสูง, See also: มีคุณภาพสูง | outclassed | (adj) เหนือกว่า, See also: ดีกว่า, เป็นเลิศกว่า | cabin class | (n) ผู้โดยสารเรือชั้นกลาง, See also: ผู้โดยสารเรือชั้นที่ต่ำกว่าชั้นหนึ่งแต่สูงกว่าชั้นประหยัด | first class | (n) ที่นั่งชั้นหนึ่งและแพงที่สุดบนเครื่องบิน รถไฟและเรือ | first class | (adv) ที่เดินทางด้วยการโดยสารชั้นหนึ่ง | first class | (n) เกียรตินิยมอันดับหนึ่งในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ | first-class | (adj) ชั้นเยี่ยม, See also: ชั้นเลิศ, ชั้นหนึ่ง, Syn. first-rate, excellent, Ant. poor | masterclass | (n) แบบฝึกหัดที่ครูดนตรีให้กับนักเรียนที่เก่งมาก | upper class | (n) ชนชั้นสูง, See also: คนชั้นสูง, สังคมชั้นสูง, Ant. lower class | upper-class | (n) ชนชั้นสูง, Ant. lower class | middle class | (n) ชนชั้นกลาง, Syn. bourgeoisie, white-collar class | middle-class | (adj) เกี่ยวกับชนชั้นกลาง, Syn. white-collar, bourgeois | neoclassical | (adj) เกี่ยวกับศิลปะและสถาปัตยกรรมกรีกหรือโรมันโบราณ | second class | (n) ชั้นสอง, See also: ระดับสอง, อันดับสอง | second class | (n) การส่งไปรษณีย์, See also: การส่งหนังสือพิมพ์ทางไปรษณีย์ | second-class | (adj) ชั้นสอง, See also: อันดับสอง, ระดับสอง, Syn. second-rate, second-best | classy-chassy | (sl) (ผู้หญิง) รูปร่างดี, See also: ผู้หญิง รูปร่างสวย, Syn. classis-chassis | economy class | (n) ชั้นโดยสารแบบประหยัด (โดยเฉพาะเครื่องบิน) | upperclassman | (n) นักศึกษาชั้นปีท้ายๆ ของโรงเรียน, Ant. underclassman | working class | (n) ชนชั้นกรรมกร, See also: ชนชั้นผู้ที่ทำงานรับจ้าง โดยเฉพาะพวกที่ต้องใช้แรงงาน | working-class | (adj) เกี่ยวกับชนชั้นกรรมกร, See also: ชนชั้นผู้ที่ทำงานรับจ้าง โดยเฉพาะพวกที่ต้องใช้แรงงาน | classification | (n) การจัดแบ่งประเภท, Syn. grouping, sorting | classificatory | (adj) ที่จัดแบ่งประเภท | classis-chassis | (sl) (ผู้หญิง) รูปร่างดี, See also: ผู้หญิง รูปร่างสวย, Syn. classy-chassy | high-class woman | (n) ดอกฟ้า |
|
| aclassis | ภาวะที่เนื้อเยื่อเจริญผิดปกติกลมกลืนเข้ากับเนื้อเยื่อธรรมดา | class | (คลาส) { classed, classing, classes } n. ชั้น, ชนชั้น, วรรณะ, ประเภท, ชนิด, จำพวก, ระดับ, ยอดเยี่ยม, ชั้นหนึ่ง, พวกชนชั้นสูง, ท่าทาง vt. จัดแบ่งออกเป็นชั้น ๆ vi. อยู่ในชั้นหนึ่งชั้นใด | class a/class b | ชั้นเอ/ชั้นบีเป็นการกำหนดคุณภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ของคณะกรรมการคมนาคมของรัฐบาลกลางสหรัฐ (Federal Communications Commission) ที่ใช้กำหนดระดับของพลังงานไฟฟ้าแรงสูงที่จะใช้ในคอมพิวเตอร์ ถ้าเป็น Class A แปลว่า อนุญาตให้ใช้ในที่ทำงานได้ ถ้าเป็น Class B หมายความว่า ใช้ในที่ทำงานก็ได้ ที่บ้านก็ได้ (ถ้าหากนำคอมพิวเตอร์ Class A มาใช้ที่บ้านอาจไปรบกวนการรับวิทยุหรือภาพทางโทรทัศน์ของบ้านอื่น) | classic | (แคลส'ซิค) adj. ยอดเยี่ยม, ดีเด่น, ชั้นหนึ่ง, ชั้นเอก, ดีถึงขนาด, อมตะ, เป็นพื้นฐาน, เป็นหลัก, มีชื่อเสียงทางประวัติศาสตร์หรือวรรณคดี, เป็นแบบอย่าง, เป็นประเพณี, เกี่ยวกับภาษากรีกและลาติน, แบบกรีกและโรมัน, เกี่ยวกับเอกลักษณ์หรือลีลาโบราณ. n. นักเขียนชั้นหนึ่ง, นักวรรณค | classical | (แคลส'ซิเคิล) adj. เกี่ยวกับแบบกรีกและโรมันโบราณ, ชั้นหนึ่ง, ดีเด่น, เป็นแนวหน้า, เกี่ยวกับวรรณคดีสมัยคลาสซิค, ชื่อเสียงโด่งดัง, เป็นมรดกตกทอดแต่โบราณ, เป็นแบบฉบับที่เชื่อถือได้, See also: classicality, classicalness n. -Conf. classic | classicalism | n. ดูclassicism | classicism | n. ลัทธิคลาสซิค, กฎเกณฑ์และลักษณะของคลาสซิค, Syn. classicalism | classicist | (แคลส'ซิซิสทฺ) n. ผู้เลื่อมใสและยึดถือเอกลักษณ์ของคลาสซิค, ผู้ศึกษาเกี่ยวกับคลาสซิค., See also: classicistic adj. ดูclassicist, Syn. classicalist | classification | (แคลสซิฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นหมวดหมู่., See also: classificatory adj. -al adj. | classified | (แคลส'ซิไฟดฺ) adj. ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทหรือหมวดหมู่, สำหรับเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น, เป็นความลับ. n. แจ้งความเล็ก ๆ ในหน้าหนังสือพิมพ์, Syn. confidential | classify | (แคลส'ซิไฟ) ฐclassified, classifying, classifies } vt. แยกประเภท, แยกหมวดหมู่, จัดให้เป็นประเภทความลับ., See also: classifiable adj. ดูclassify | classis | n. องค์การพระคริสเตียน | classless | adj. ไม่มีชนชั้น, | classmate | n. เพื่อนร่วมชั้น | classroom | n. ห้องเรียน | classwork | n. งานในห้องเรียน (ต่างกับการบ้าน) | declasse | (เดคละเซ') adj. ซึ่งถูกลดตำแหน่งหรือฐาน | depressed classes | n. ชนชั้นต่ำ | economy class | n. ค่าโดยสารชั้นประหยัด | first class | ชั้นหนึ่ง, ชั้นเยี่ยม, สิ่งที่ดีเลิศ. adv. โดยการขนส่งชั้นหนึ่ง, โดยสารชั้นหนึ่ง | high-class | adj. ชั้นสูง, มีคุณภาพสูง | outclass | (เอาทฺ'คลาสทฺ) vt. เหนือกว่า, ยิ่งกว่า, ดีกว่า, Syn. outdo | second class | n. ชั้นสอง, รถชั้นสอง, รถตู้นอนชั้นสอง, ประเภทที่สอง, ลำดับที่สอง, อันดับรอง, คุณภาพรอง, ฐานะรอง, ไปรษณีย์ภัณฑ์ชั้นสอง | upper-class | (อัพเพอะคลาส') adj. เกี่ยวกับสังคมชั้นสูง | warrant officer 1st class | n. พันจ่าเอก | warrant officer 2nd class | n. พันจ่าโท | warrant officer 3rd class | n. พันจ่าตรี |
| class | (n) ประเภท, ขั้น, จำพวก, วรรณะ, ชนิด, ชั้นเรียน, ท่าทาง | class | (vt) แบ่งประเภท, จัดพวก, แบ่งชั้น | classic | (adj) เกี่ยวกับงานศิลปะแบบคลาสสิค | classic | (n) งานทางศิลปะแบบคลาสสิค | classical | (adj) เกี่ยวกับงานศิลปะแบบคลาสสิค | classification | (n) การแบ่งประเภท, การจัดหมวดหมู่, การแยกประเภท | classify | (vt) แบ่งประเภท, จัดหมวดหมู่, จัดประเภท, แยกประเภท, แบ่งชั้น | classmate | (n) เพื่อนร่วมชั้น | classroom | (n) ห้องเรียน | FIRST-first-class | (adj) ดีเยี่ยม, ชั้นหนึ่ง, เลิศ, ชั้นเลิศ, ชั้นเยี่ยม | outclass | (vt) เหนือกว่า, ดีกว่า, เยี่ยมกว่า | SECOND-second-class | (adj) อันดับสอง, ชั้นที่สอง, ประเภทที่สอง, คุณภาพรอง |
| phylogenetic classification | การจำแนกตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | prejudice, class | ความเดียดฉันท์ทางชั้นชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | P.C. (position classification) | การจำแนกตำแหน่งตามหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | position classification (P.C.) | การจำแนกตำแหน่งตามหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | leisure class | ชั้นชนสุขสบาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, classification of | การแบ่งแยกประเภทกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lithostratigraphic classification | การจำแนกลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | rank classification | การจำแนกตำแหน่งตามชั้นยศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | residue-class-ring | ริงชั้นส่วนตกค้าง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | residue class | ชั้นส่วนตกค้าง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | soil classification | การจำแนกดิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | stratification, class | ๑. การจัดช่วงชั้นในสังคม๒. การจัดกลุ่ม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | subclass | ซับคลาส [ ใช้ในภาษาเชิงวัตถุ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | subclass | ชั้นย่อย [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | subclass | คลาสย่อย [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | stratigraphic classification | การจำแนกลำดับชั้นหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | superclass | ซูเปอร์คลาส [ ใช้ในภาษาเชิงวัตถุ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | stone plaster; class I stone; dental stone | ปลาสเตอร์หิน [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | social class | ชั้นชนทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | social class | ชั้นชนทางสังคม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | struggle, class | การต่อสู้ของชั้นชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | struggle, class | การต่อสู้ระหว่างชนชั้น [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | occupational class | กลุ่มอาชีพ [ ดู occupational group ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | occupational classification | การจำแนกประเภทตามกลุ่มอาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | occupational classification | การแยกประเภทอาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | artificial classification | การจำแนกแบบง่าย [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | base class | คลาสพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | biostratigraphic classification | การจำแนกลำดับชั้นหินตามชีวภาพ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | Bolognese Classicism | คตินิยมคลาสสิกแบบโบโลญญา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | middle class | ชนชั้นกลาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | modal class | ชั้นฐานนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | class | คลาส [ ใช้ในภาษาเชิงวัตถุ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | class | ชั้น, ชั้นชน, กลุ่ม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | class | รุ่น, กลุ่ม, ชั้นชน, ชั้นเรียน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | class | ชั้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | class | ชั้นชน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | categories of stratigraphic classification | ประเภทการจำแนกลำดับชั้นหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | class II stone | ปลาสเตอร์หินพิเศษ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | class III partial denture | ฟันปลอมถอดได้ ประเภทที่ ๓ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | class interval | อันตรภาคชั้น [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | class IV partial denture | ฟันปลอมถอดได้ ประเภทที่ ๔ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | class limit | ขีดจำกัดชั้น [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | class mark | คะแนนชั้น [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | class of integers | คลาสของจำนวนเต็ม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | class of sets | คลาสของเซต [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | class of worker | ระดับชั้นคนงาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | class prejudice | ความเดียดฉันท์ทางชั้นชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | chronostratigraphic classification | การจำแนกลำดับชั้นหินตามอายุกาล [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | classification | การจำแนก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | classification clause | ข้อกำหนดมาตรฐานเรือ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Virtual classroom | ห้องเรียนเสมือน, <br />ห้องเรียนเสมือน<br /> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Anonymous classic | งานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง, หนังสือแบบฉบับที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Decimal classification | การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Universal Decimal Classification | ระบบทศนิยมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification system | ระบบการจำแนกประเภท [เศรษฐศาสตร์] | International classification of goods and services | การจำแนกประเภทสินค้าและบริการระหว่างประเทศ [เศรษฐศาสตร์] | Standard industrial classification | การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Standard intemational trsde classification | การจัดประเภทมาตรฐานการค้าระหว่างประเทศ [เศรษฐศาสตร์] | Statistical classification | การจัดประเภทเชิงสถิติ [เศรษฐศาสตร์] | Tariff reclassification | การจัดประเภทพิกัดอัตราศุลกากรใหม่ [เศรษฐศาสตร์] | Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรตามการประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | EC Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรแบบยุโรป [ทรัพย์สินทางปัญญา] | US Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรแบบอเมริกา [ทรัพย์สินทางปัญญา] | IPC Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรตามการประดิษฐ์ระหว่างประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | International Design Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | classic | คลาสสิก [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด] | Working class | ชนชั้นกรรมกร [TU Subject Heading] | Working class women | ชนชั้นกรรมกรสตรี [TU Subject Heading] | Advertising, Classified | โฆษณาย่อย [TU Subject Heading] | Antique and classic cars | รถโบราณ [TU Subject Heading] | Art objects, Classical | ศิลปวัตถุคลาสสิก [TU Subject Heading] | Art, Classical | ศิลปะคลาสสิก [TU Subject Heading] | Arts, Classical | ศิลปกรรมคลาสสิก [TU Subject Heading] | Automatic classification | การวิเคราะห์หนังสืออัตโนมัติ [TU Subject Heading] | Class actions (Civil procedure) | การฟ้องคดีในนามกลุ่มบุคคล (วิธีพิจารณาความแพ่ง) [TU Subject Heading] | Classical geography | ภูมิศาสตร์สมัยคลาสสิค [TU Subject Heading] | Classical literature | วรรณคดี [TU Subject Heading] | Classification | การจำแนก [TU Subject Heading] | Classification, Dewey decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้ [TU Subject Heading] | Classification, Library of Congress | การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน [TU Subject Heading] | Classification--Books | การวิเคราะห์หนังสือ [TU Subject Heading] | Classifiers (Linguistics) | คำลักษณนาม (ภาษาศาสตร์) [TU Subject Heading] | Classroom management | การจัดการชั้นเรียน [TU Subject Heading] | Classroom utilization | การใช้ประโยชน์จากห้องเรียน [TU Subject Heading] | Classrooms | ห้องเรียน [TU Subject Heading] | Defense information, Classified | ข่าวกรอง [TU Subject Heading] | Genes, MHC Class 1 | ยีนเอ็มเอสซี คลาส 1 [TU Subject Heading] | Classification system | ระบบการจัดหมวดหมู่ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Microsoft foundation class library | ไมโครซอฟต์ เฟาน์เดชัน คลาส ไลบรารี [TU Subject Heading] | Middle class | ชนชั้นกลาง [TU Subject Heading] | Mythology, Classical | เทพปกรณัมคลาสสิก [TU Subject Heading] | National Library of Medicine Classification | การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน [TU Subject Heading] | Neoclassicism (Art) | ศิลปะนีโอคลาสสิคคิสม์ [TU Subject Heading] |
| | I'm clawing my way back into playing shape, working here, signing with Ken, and hopefully nailing a spot in the Palm Springs Tennis Classic. | Ich habe mir meinen Rücken am Spielfeldrand zerkratzt, hier am arbeiten, unterschreiben mit Ken, um mir hoffentlich einen Platz im Palm Spring Tennis Classic zu sichern. All in the Family (2014) | Guess who's playing in the Palm Springs Tennis Classic. | Ratet mal wer im Palm Springs Tennis Classic mitspielt. All in the Family (2014) | He loves his wife, he plays classic rock on the weekends and he only hangs out with other guys in law enforcement. | Er liebt seine Frau, am Wochenende spielt er Classic Rock - und er hängt nur mit andere Typen aus der Verbrechensbekämpfung herum. S U C K (2014) | First class since when? | First Class? Seit wann? The Hive (2014) | But he was a petty officer first class, and he was honorably discharged in June 2003. Oh! | Aber er war ein Petty Officer First Class und er wurde im Juni 2003 ehrenhaft entlassen. Shooter (2014) | Screen Classics? | Screen Classics, ... Ed Wood (1994) | It was a balenciaga classic town bag. | Es war eine "Balenciaga Classic Town" -Tasche. Leveraged (2014) | Got a free class card I want to give you. - Aw. | Ich möchte dir eine First Class-Karte geben. Chopper (2014) | Come on. They're probably sending you to some Club Fed prison. | Kommen Sie, die schicken Sie in ein First-Class-Gefängnis. Get Hard (2015) | What if we take it one step further and use the wedding to backdoor a spin-off for next season? Right. And... and, uh, we have Adam and his new bride, um, adjusting to the upper-crust life in the UK. | Ja, und wir haben Adam und seine Braut, die sich im Upperclass-Leben einfinden. Two (2015) | Seventy-five Caprice Classic? | 75er Caprice Classic? Part 7 (2015) | It's not like I'm asking you to sleep in my bed... or bring me back leftovers of Lasagna Classico... which you pay for with my money, which you know I enjoy, which you never finish! | Ich will ja gar nicht, dass du bei mir schläfst oder mir die Reste der Lasagna Classico mitbringst, die du mit meinem Geld bezahlst, die ich so gerne mag und die du nie aufisst. Trust No Bitch (2015) | I lost the holiday golf classic under protest. | Ich habe die Holiday Golf Classic unter Protest verloren. Best Christmas Ever (2015) | And when the Kaltenbach Classics were cancelled, still more left. | Und weil es keine Kaltenbach Classics mehr gibt, gingen noch mehr. Ostwind 2 (2015) | - It's a highly rated... junior horse show. | Sie tritt bei den Sasse Classics an. Ostwind 2 (2015) | Ladies and gentlemen, friends of equestrian sport... welcome to the Sasse Classics! | (Ansage) Liebe Freunde des gepflegten Reitsports, willkommen zu den Sasse Classics. Ostwind 2 (2015) | Do you remember the first time I rode in your Kaltenbach Classics? | Beim ersten Ritt bei den Classics habe ich mir in die Hosen gemacht. Ostwind 2 (2015) | Served to first-class guests on the Titanic during their last dinner. | Serviert... an die First Class-Gäste der Titanic während ihres letzten Abendessens. Secondo (2015) | "Good morning, class. How are you? | Mein Englisch besteht nur aus: "Good morning class. Telling Tales (2015) | "Bonjour la classe." Sit down now, please. | "Bonjour la classe." Setzt euch jetzt bitte. Coconut Hero (2015) | Uh, is it possible that someone who already has a coach seat could be bumped for some reason? | Ist es möglich, dass jemand, der bereits einen Platz in der Economy Class hat, aus irgendeinem Grund sein Platz verweigert wird? Boompa Loved His Hookers (2015) | I'm mostly drinking and reading the classics. | Ich trinke meistens und Lese die Classic-Zeitschriften Inside Man (2015) | I got a job that flies me business class to L.A. | Habe einen Job, mit dem ich Business Class nach L.A. fliegen kann. Devil's Night (2015) | My name is Classi with an "I," | Mein Name ist "Classi" mit einem "i," PC Principal Final Justice (2015) | Nice to meet you, Classi. | Freut mich, Classi. PC Principal Final Justice (2015) | Classi, thank you! | Classi, danke! PC Principal Final Justice (2015) | Hey, Classi, do you think you could get me my crutches? | Hey, Classi, kannst du mir vielleicht meine Krücken bringen? PC Principal Final Justice (2015) | I mean come on, Classy. | Ich meine... komm schon, Classy. PC Principal Final Justice (2015) | No, it's Classi. | Es heißt "Classi". PC Principal Final Justice (2015) | Cla-ass-i. | Class-i. Sorry. PC Principal Final Justice (2015) | Shut up, Classi! | Halt's Maul, Classi! PC Principal Final Justice (2015) | Hang on, Classi. | - Ganz ruhig, Classi. PC Principal Final Justice (2015) | Quick, to the Classi-mobile! | Schnell, auf zum Classi-mobil! PC Principal Final Justice (2015) | Classi? | Classi? PC Principal Final Justice (2015) | Private First Class, U.S. Army. | Private First Class, U.S. Army. The Fundamentals of Caring (2016) | -Touch of Class. | - Touch of Class. Forget Safety, Be Notorious (2016) | Turtle's your driver, Touch of Class is your car, man. | Turtle ist dein Fahrer und Touch of Class dein Wagen. Forget Safety, Be Notorious (2016) | I've given her... a business class room. | Ich habe ihr ein Business-Class-Zimmer gegeben. Power Suit (2016) | It's in first class. | - Es wäre Business Class. - Alles klar. Bite Flight Wing-Man Bonnie (2016) | What are you talking about? He worked on the Falcon class line of fuel systems for the Navy. | Er hatte für die Navy gearbeitet, an den Falcon-Class-Treibstoffsystemen. Pride and Prejudice (2016) | Huh? Three nights in Paris, first-class airfare, four-star hotel for basically nothing. | Drei Nächte in Paris, First-Class-Flugticket, Vier-Sterne-Hotel für praktisch nichts. Express Yourself (2016) | Uh, he was classic. | Er war classic. Cops vs. Zombies (2016) | And now back to Colt Luger... Classics. | Und jetzt zurück zu Colt Luger Classics. Heavy Sledding (2017) | Yes, but the body from that monster is from a 1973 Caprice Classic! | Ja, aber der Aufbau dieses Monsters ist von einem 1973er Caprice Classic! The Final Chapter: The Steal in the Wheels (2017) | Uh, I'll have a Pollos Classic and a coffee, black. | Ich möchte ein Pollos Classic und einen Kaffee, schwarz. Witness (2017) | MAN #4: Classic. | Classic. Witness (2017) | No, I'm glad it was you. | Ich bin froh, class ich dich getroffen habe. Wirklich ? | I wanted you to contact Sir Jeremiah, but it seems you probably won't, isn't that right? | Ich wollte eigentlich, class ihr euch mit Sir Jeremiah unterhaltet, aber das ist jetzt wohl der falsche Zeitpunkt. | Pairs perfectly with this 2010 Chianti Classico, an old-world Sangiovese, aged in traditional botti. | Passt perfekt zu diesem 2010er Chianti Classico. Ein altertümlicher Sangiovese in einem traditionellen Fass gereift. | The classic, I expect. | - The Classic, hatte ich gedacht. Dial M for Murder (1954) |
| | มีระดับ | (v) be high class, See also: be luxurious, be lavish, fancy, be first-class, Syn. หรูหรา, Example: เธอพิถีพิถันกับการแต่งตัว เสื้อผ้าทุกชิ้นจะต้องมีระดับ | ระดับโลก | (adj) world-class, See also: outstanding, Syn. ยิ่งใหญ่, สุดยอด, Example: ภายในห้องแสดงนิทรรศการเต็มไปด้วยชุดเครื่องเพชร จากร้านเพชรชื่อดังระดับโลก | คลาสสิก | (adj) classical, Thai Definition: งานที่มีท่วงทีแบบเก่าชั้นเยี่ยม, งานที่เป็นต้นแบบ หาคนที่ทำเสมอไม่ได้, Notes: (ปาก) | คลาสสิก | (n) classic, Example: วรรณคดีมีรูปเป็นคลาสสิกแต่มีการแสดงออกเป็นโรแมนติก, Thai Definition: งานศิลปะแบบกรีก-โรมัน, โดยปริยายหมายถึงงานชั้นสูงหรืองานชั้นมาตรฐาน | ชั้นต่ำ | (adj) low (class), See also: inferior, Syn. ชั้นล่าง, Ant. ชั้นสูง, Example: ถึงแม้นิโกรจะเป็นไทแก่ตัวก็ตาม แต่ส่วนมากก็ยังเป็นคนชั้นต่ำและฐานะยากจนมาก | พ.อ.ต. | (n) Flight Sergeant Third Class, See also: FS3, Master Sergeant, Syn. พันจ่าอากาศตรี | พ.อ.ท. | (n) Flight Sergeant Second Class, See also: FS2, Senior Master Sergeant, Syn. พันจ่าอากาศโท | พ.อ.อ. | (n) Flight Sergeant First Class, See also: FS1, Chief Master Sergeant, Syn. พันจ่าอากาศเอก | เพลงคลาสสิค | (n) classical music, Example: เขาเปิดเพลงคลาสสิคควบคู่ไปกับการทานอาหารใต้แสงเทียน, Count Unit: เพลง, Thai Definition: เพลงที่ดีเด่นตามแบบฉบับ และมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีทุกยุคทุกสมัยซึ่งตกทอดมานาน | โฆษณาย่อย | (n) classified, See also: classified ad, Example: หากสนใจลงโฆษณาย่อย สามารถติดต่อได้ทุกวันอาทิตย์, Thai Definition: ประกาศข้อความเล็กๆ ในหน้าหนังสือพิมพ์ | ชนชั้นกรรมาชีพ | (n) working class, Syn. ชนชั้นกลาง, ชนชั้นใช้แรงงาน, Ant. ชนชั้นสูง, Example: การร่วมมือกันต่อต้านความเอารัดเอาเปรียบจะเป็นประโยชน์ต่อชนชั้นกรรมาชีพ, Thai Definition: ชนชั้นหรือกลุ่มบุคคลที่ทำงานโดยการรับค่าจ้าง หรือเงินเดือนเป็นการตอบแทน โดยเฉพาะหมายถึงกลุ่มบุคคลที่ใช้แรงกายเป็นหลัก | ส่วนขยาย | (n) classifier, Syn. บทเสริม, ส่วนเสริม, ส่วนเพิ่มเติม, Ant. ส่วนสรุป, บทสรุป | คำลักษณะนาม | (n) noun classifier, Syn. ลักษณนาม, Example: คำว่า ท่าน เป็นได้ทั้งคำสรรพนามบุรุษที่สอง คำสรรพนามบุรุษที่สาม หรือคำลักษณนามก็ได้, Thai Definition: คำนามที่แสดงลักษณะของสิ่งต่างๆ | จำแนกประเภท | (v) classify, See also: divide, group, sort, categorize, Syn. แยกประเภท, แบ่งประเภท, จำแนก, จัดประเภท, แยกชนิด, แบ่งพวก, Ant. รวมประเภท, Example: เราจำแนกประเภทฐานข้อมูล โดยคำนึงถึงการใช้งานเป็นหลัก, Thai Definition: แบ่งแยกออกเป็นชนิด หมู่ หรือเหล่า | ชนชั้นล่าง | (n) working class, See also: lower level, labourer, Syn. ชนชั้นแรงงาน, ชนชั้นกรรมาชีพ, Ant. ชนชั้นนำ, Example: ในสังคมแบบเอเชีย ผู้ปกครองจะมีอำนาจครอบงำชนชั้นล่างอย่างเด็ดขาด, Thai Definition: กลุ่มคนที่มีสถานะด้อยกว่ากลุ่มอื่นๆ ในสังคม ทั้งในด้านการศึกษา สถานะทางเศรษฐกิจ หน้าที่ หรือตำแหน่งในสังคม | หมวดหมู่ | (n) classification, See also: category, grouping, sort, type, Syn. พวก, หมู่, หมวด, Example: นักภาษาศาสตร์ทำการแบ่งภาษาต่างๆ ในโลกออกเป็นหมวดหมู่ตามโซนและต้นตระกูลภาษา | กลุ่มอาชีพ | (n) occupational class, See also: occupational class, Example: สังคมใหญ่ก็จะมีสังคมย่อยๆ อีกมากมาย เช่น สังคมของกลุ่มอาชีพเดียวกัน สังคมชาวพุทธ สังคมของผู้หญิง เป็นต้น, Count Unit: กลุ่ม | ระดับชั้น | (n) degree, See also: level, class, Example: การประเมินผลการสอนมีหลายระดับชั้น, Count Unit: ระดับ | ชั้นครู | (n) master level, See also: first-class level, first-rate level, first grade, Syn. ชั้นเอก, Example: พระพุทธรูปในภาพนั้นเป็นฝีมือช่างชั้นครู, Thai Definition: อันดับที่เทียบเท่าครู | ชั้นวรรณะ | (n) castes and classes, Syn. ชนชั้น, ชั้นทางสังคม, Example: มีผู้กล่าวไว้ว่าในสังคมไทยแบ่งชั้นวรรณะออกเป็น 4 ชั้นคือ ชั้นเจ้านาย ชั้นผู้ดี ชั้นไพร่ และชั้นทาส | เพื่อนร่วมชั้น | (n) classmate, Syn. เพื่อนร่วมห้อง, Example: ตรงลานโล่ง เลยสนามเด็กเล่นไปหน่อย เคยเป็นเวทีชกต่อยกับเพื่อนร่วมชั้นมาแล้ว, Count Unit: คน | ห้องเรียน | (n) classroom, Example: เมื่อจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นทำให้ต้องเพิ่มบุคลากร อาคาร ห้องเรียน และงบประมาณ, Count Unit: ห้อง | ลักษณะ | (clas) type, See also: kind, category, group, class, sort, Syn. ประเภท, Example: การตอบโต้บทสนทนามี 2 ลักษณะคือ, Thai Definition: ลักษณนามของเครื่องแสดงสิ่งหนึ่งให้เห็นว่าต่างกับอีกสิ่งหนึ่ง | หนีโรงเรียน | (v) skip class, See also: wag, Syn. หนีเรียน, โดดร่ม, โดดเรียน, Example: เขาเบื่อเรียนหนังสือ จึงหนีโรงเรียนไปเที่ยวตามห้างสรรพสินค้า, Thai Definition: หลีกเลี่ยงไม่ยอมเรียน | เภท | (n) kind, See also: class, type, sort, category, Syn. ชนิด, อย่าง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง | (n) first class honour, Example: เป็นเรื่องที่ไม่มีใครคาดคิดมาก่อนว่าเด็กหนุ่มอย่างเขา จะสามารถเรียนได้เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง, Thai Definition: ความรู้ดีเด่นเหนือระดับปกติที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ในระดับสูงสุด | ขาดเรียน | (v) be absent, See also: miss one's class, Ant. มาเรียน, Example: เธอขาดเรียนมาหลายครั้งแล้วนะ ครั้งนี้คงต้องมีการตัดคะแนนกันบ้าง, Thai Definition: ไม่เข้าเรียนตามวันเวลาที่กำหนดไว้ | โขน | (n) kind of Thai drama, See also: Thai classic masked play enacting scenes from the Ramayana, Example: วันนี้เราต้องพาแม่ไปดูโขนที่โรงละครแห่งชาติ, Thai Definition: การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรำ แต่เล่นเฉพาะในเรื่องรามเกียรติ์ โดยผู้แสดงสวมหัวจำลองต่างๆ ที่เรียกว่า หัวโขน | เข้าเรียน | (v) attend class, See also: take a lesson, go to class, Syn. เข้าห้องเรียน, เข้าชั้นเรียน, Ant. หนีเรียน, Example: พวกคุณเข้าเรียนไปก่อนแล้วกัน ผมขอกินข้าวก่อน, Thai Definition: ไปเรียนหนังสือที่ห้องเรียน เป็นต้น | หมวด | (clas) category, See also: group, type, division, section, sort, class, grade, Syn. กลุ่ม, หมู่, พวก, Example: หนังสือเหล่านี้สามารถจำแนกได้เป็น 12 หมวด, Thai Definition: ลักษณนามที่ใช้กับสิ่งที่จัดรวมกัน | พิณพาทย์ | (n) classical Thai orchestra, Syn. ปี่พาทย์, Example: ขณะที่พระสวดชยันโต พิณพาทย์มโหรีก็เริ่มบรรเลงเพลงมหาฤกษ์, Count Unit: วง, Thai Definition: เครื่องประโคมวงหนึ่ง มีกำหนดตั้งแต่ 5 ขึ้นไป คือ ตะโพน ปี่ ฆ้องวง ระนาด กลอง | เพื่อนรุ่นเดียวกัน | (n) classmate, See also: friend at the some age, Example: ผมกับเจ้ามั่นเป็นเพื่อนรุ่นเดียวกันสมัยเรียนอยู่ที่ปากน้ำโพธิ์, Thai Definition: เพื่อนที่มีอายุใกล้เคียงกันหรือเท่ากันหรือเล่าเรียนมาด้วยกัน | แปดสาแหรก | (n) eight dignitaries, See also: great grandparents, four ancestors on both sides in high class families or ancient noble l, Syn. สายวงศ์สกุล, สายสกุล, Example: พ่อแม่ของปู่ย่าตายายทั้งสองข้างเรียกว่าแปดสาแหรก, Thai Definition: เป็นคำเรียกต้นวงศ์สกุล คือ บิดามารดาของปู่และย่า 4 ของตาและยาย 4 รวม เป็น 8 ที่เป็นผู้ดีทั้งฝ่ายบิดาและมารดา เรียกว่า ผู้ดีแปดสาแหรก (เทียบสาแหรกที่มีข้างละ 4 ขา 4 ข้างเป็น 8 ขา) | มีสกุล | (v) be in high class, See also: be honourable, be socially prominent, Syn. ชั้นสูง, Ant. ไร้สกุล, Example: ถึงนายจะมีสกุลอย่างไรก็ตาม หากนายไม่มีความสามารถนายก็อยู่ไม่ได้ | แปดสาแหรก | (n) eight dignitaries, See also: great grandparents, four ancestors on both sides in high class families, having the ways a, Syn. สายวงศ์สกุล, สายสกุล, Example: เชื้อสายทั้งแปดสาแหรกของเขาล้วนเป็นผู้ดีทั้งนั้น, Thai Definition: คำเรียกต้นวงศ์สกุล คือ บิดามารดาของปู่และย่า 4 ของตาและยาย 4 รวม เป็น 8 ที่เป็นผู้ดีทั้งฝ่ายบิดาและมารดา เรียกว่า ผู้ดีแปดสาแหรก (เทียบสาแหรกที่มีข้างละ 4 ขา 2 ข้างเป็น 8 ขา) | เรียนพิเศษ | (v) take extra tutorial class, Example: เด็กสมัยนี้ต้องเรียนพิเศษกันทุกคน เพื่อที่จะสอบเข้าโรงเรียนดีๆ ให้ได้ | ลมพัดชายเขา | (n) name of a Thai classical song, Syn. เพลงลมพัดชายเขา, Count Unit: บท, ท่อน, ทำนอง, Thai Definition: ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง | ลักษณนาม | (n) classifier, See also: qualitative noun, numerative noun, Syn. คำลักษณนาม, Example: เธอเป็นครูสอนภาษาไทยมาเป็น 10 ปีแล้วยังใช้ลักษณนามผิดอยู่อีกหรือ, Thai Definition: คำนามที่แสดงลักษณะของสิ่งต่างๆ | วจีวิภาค | (n) speech classification, Example: ตำราภาษาไทยแต่เดิมนั้นประกอบด้วย อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ ฉันทลักษณ์, Thai Definition: ชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยการแบ่งคำพูดเป็นชนิดต่างๆ | วิภัตติ | (n) categorization, See also: classification, separation, division, Syn. การแบ่ง, การจัดพวก, การจำแนก, การจัดประเภท, Notes: (บาลี) | วิภาค | (n) division, See also: distinction, classification, partition, separation, Syn. การแบ่ง, การจัดพวก, การจำแนก, การจัดประเภท, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อักษรสูง | (n) high-level consonant, See also: high-class letter, Count Unit: ตัว, Thai Definition: พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันได้ 3 เสียง มี 2 รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ่ เป็นเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโท คำตายพื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันด้วยด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโท | อักษรต่ำ | (n) low-tone consonants, See also: low-class letters, Count Unit: ตัว, Thai Definition: พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ 3 เสียง มี 2 รูป มี 24 ตัว คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ | อักษรกลาง | (n) medium tone consonant, See also: middle-class letters, Example: ข้อความ “ไก่จิกเด็กตายบนปากโอ่ง” แม้ว่าจะพิลึก แต่ก็ช่วยให้หลายคนรู้ว่า อักษรกลางในภาษาไทยมีตัวอะไรบ้าง, Count Unit: ตัว, Thai Definition: พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงสามัญ ผันได้ครบ 4 รูป 5 เสียง มีรูปวรรณยุกต์กับเสียงวรรณยุกต์ตรงกัน คำตายมีพื้นเสียงเป็นเสียงเอกผันได้ 4 เสียงมี 3 รูปคือพื้นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโทผันด้วยวรรณยุกต์ ๊ เป็นเสียงตรีผันด้วยวรรณยุกต์ ๋ เป็นเสียงจัตวา | สิบตรี | (n) lance corporal, See also: private first class, Example: สิบตรีคนนี้เป็นลูกน้องของพ่อฉัน, Thai Definition: ยศทหารชั้นประทวนอันดับหนึ่ง | ตับเพลง | (n) series of Thai classical song, See also: sets of classical Thai songs, large groups of Thai songs, Syn. ตับเพลงโหมโรง, Example: ตับเพลงที่ฉันรู้จักมีไม่มาก, Count Unit: ชุด, ตับ, Thai Definition: เพลงที่จัดไว้เป็นชุดๆ หนึ่งประมาณ 5 เพลง | ตับเรื่อง | (n) themes of lyrics, See also: themes of classical Thai songs, Syn. ตับเพลงเรื่อง, Example: การแสดงดนตรีไทยครั้งนี้มีตับเรื่องด้วย, Count Unit: ชุด, ตับ, Thai Definition: เพลงที่จัดไว้ตามลำดับเรื่อง เช่น ตับนางลอย, ตับพระลอ | ตันติภาษา | (n) classical language, See also: systematizied language, Example: ครูกำลังอธิบายความหมายของตันติภาษา, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่มีแบบแผน | ตำรา | (n) textbook, See also: treatise, reference book, classical works, collection of formulas or recipes, technical bo, Syn. หนังสือเรียน, ตำราเรียน, แบบเรียน, Example: ลูกสาวหล่อนเรียนแผนกวิทยาศาสตร์ต้องหอบตำราเป็นตั้งใส่กระเป๋าใบโตไปโรงเรียนทุกวัน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: แบบแผนที่ว่าด้วยหลักวิชาต่างๆ, เอกสารคำสอน | ตารางสอน | (n) classroom time table, See also: subject time table, Syn. ตารางเรียน, Example: ครูทุกคนต้องเข้าสอนตามตารางสอนที่โรงเรียนกำหนด, Thai Definition: ตารางที่บรรจุรายการสอน ว่า วันใด เวลาใด สอนวิชาใด |
| อักษรกลาง | [aksøn klāng] (n, exp) EN: medium tone consonant ; middle-class letters FR: consonne moyenne [ f ] | อักษรสามหมู่ | [aksøn sām mū] (n, exp) FR: les trois classes de consonnes [ fpl ] ; les trois classes consonantiques [ fpl ] | อักษรเสียงกลาง | [aksøn sīeng klāng] (n, exp) EN: medium tone consonant ; middle-class letters FR: consonne moyenne [ f ] | อักษรเสียงสูง | [aksøn sīeng sūng] (n, exp) EN: high-level consonant ; high-class letter FR: consonne haute [ f ] | อักษรเสียงต่ำ | [aksøn sīeng tam] (n, exp) EN: low-tone consonants ; low-class letters ; low consonant FR: consonne basse [ f ] | อักษรสูง | [aksøn sūng] (n, exp) EN: high-level consonant ; high-class letter FR: consonne haute [ f ] | อักษรต่ำ | [aksøn tam] (n, exp) EN: low-tone consonants ; low-class letters ; low consonant FR: consonne basse [ f ] | อัน | [an] (classif, (n)) EN: [ classifier : small objects ; pieces of candy ; ashtrays ; round objects ; objects with unknown classifiers ] FR: [ classificateur : petits objets ; choses en général ] | อันตรภาคชั้น | [antaraphāk chan] (n, exp) EN: class interval | อันตรภาคชั้นเปิด | [antaraphāk chan poēt] (n, exp) EN: open-ended class interval | แบ่งตาม | [baeng tām] (v, exp) EN: be classified according to | ใบ | [bai] (n) EN: [ classifier : leaves (of trees); round and hollow objects (hats, cups, glasses, bowls, tin-cans, eggs, fruit, bags, wallets); small documents (tickets, certificates, leaflets) ] FR: [ classificateur : feuilles (arbres et plantes); objets ronds et creux (chapeaux, coupes, bols, cannettes, oeufs, fruits); petits documents (billets, tickets, certificats) ] | บาน | [bān] (n) EN: [ classifier : doors, windows; mirrors; frames; screens; other flat things ] FR: [ classificateur : portes, fenêtres ; miroirs ; cadres ; écrans ; autres objets plats ] | บานชื่นหนู | [bāncheūn nū] (n, exp) EN: Narrowleaf Zinnia ; Classic Zinnia | บริการชั้นหนึ่ง | [børikān chan neung] (n, exp) EN: first-class service FR: service de première classe [ m ] | บท | [bot] (n) EN: [ classifier : lessons; songs; poems; verses; stanzas; chapters ] FR: [ classificateur : leçons ; chapitres ; versets ; chansons ; couplets ] | ฉบับ | [chabap] (n) EN: [ classifier : newspapers ; letters ; manuscripts ; documents ; periodicals ] FR: [ classificateur : journaux ; lettres ; documents manuscrits ] | ชั้น | [chan] (n) EN: class ; grade ; level ; rank FR: classe [ f ] ; rang [ m ] ; niveau [ m ] ; grade [ m ] ; catégorie [ f ] | ชั้น | [chan] (n) EN: [ class. : layer ; tier ; stratum ; terrace ] | ชั้นเฟิร์สคลาส | [chan foēs khlās] (n, exp) EN: first class FR: première classe [ f ] | ชนิด | [chanit] (n) EN: [ classifier : types of items ] | ชั้นจัตวา | [chan jattawā] (n, exp) EN: fourth class ; fouth grade ; fouth level ; fouth rate FR: quatrième classe [ f ] | ชั้นกรรมาชีพ | [chan kammāchīp] (n, exp) EN: proletariat FR: classe ouvrière [ f ] ; prolétariat [ m ] | ชั้นกรรมกร | [chan kammakøn] (adj) EN: working-class | ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ | [chan matthayomseuksā pī thī hā] (xp) FR: cinquième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de cinquième année de l'enseignement secondaire [ f ] | ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ | [chan matthayomseuksā pī thī hok] (xp) FR: sixième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de sixième année de l'enseignement secondaire [ f ] | ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ | [chan matthayomseuksā pī thī neung] (xp) FR: première année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de première année de l'enseignement secondaire [ f ] | ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ | [chan matthayomseuksā pī thī sām] (xp) FR: troisième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de troisième année de l'enseignement secondaire [ f ] | ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ | [chan matthayomseuksā pī thī sī] (xp) FR: quatrième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de quatrième année de l'enseignement secondaire [ f ] | ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ | [chan matthayomseuksā pī thī søng] (xp) FR: deuxième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de deuxième année de l'enseignement secondaire [ f ] | ชั้นหนึ่ง | [chan neung] (adj) EN: first class ; first grade ; top-flight ; top-notch FR: de première classe | ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ | [chan prathomseuksā pī thī hok] (xp) FR: sixième année de l'enseignement primaire [ f ] ; classe de sixième année de l'enseignement primaire [ f ] | ชั้นประหยัด | [chan prayat] (n, exp) EN: economy class FR: classe économique [ f ] | ชั้นเรียน | [chan rīen] (n) EN: classroom ; class FR: classe [ f ] | ชั้นสาม | [chan sām] (n, exp) EN: third class FR: troisième classe [ f ] | ชั้นสอง | [chan søng] (n, exp) EN: second class FR: deuxième classe [ f ] | ชั้นสูง | [chan sūng] (adj) EN: advanced ; high level ; upper class ; high class ; higher grade ; superior ; high ranking FR: avancé ; d'avant garde ; de haut niveau ; de grande qualité ; maximal ; supérieur ; de haut rang | ชั้นต่ำ | [chan tam] (adj) EN: low-class ; low ; inferior FR: inférieur | ชั้นธรรมดา | [chan thammadā] (n, exp) EN: regular FR: classe ordinaire [ f ] | ชั้นที่นั่ง | [chan thīnang] (n) EN: class FR: classe [ f ] | ชั้นที่หนึ่ง | [chan thī neung] (n, exp) EN: first class FR: première classe [ f ] ; premier étage [ m ] | ชั้นที่สอง | [chan thī søng] (n, exp) EN: second class FR: deuxième classe [ f ] ; deuxième étage [ m ] | ชั้นที่สาม | [chan thī sām] (n, exp) EN: third class FR: troisième classe [ f ] ; troisième étage [ m ] | ชั้นธุรกิจ | [chan thurakit] (n, exp) EN: businesss class ; business FR: classe affaires [ f ] ; business class [ f ] ; business [ f ] | ชั้นเยี่ยม | [chan yīem] (adj) EN: first-class ; top-flight ; top-notch ; excellent ; super ; superb FR: de première qualité ; excellent | เชือก | [cheūak] (n) EN: [ classifier : domesticated elephants ] FR: [ classificateur : éléphants domestiques ] | ชิ้น | [chin] (n) EN: [ classifier : pieces of items (dentures ...); pieces of food (cakes, pastries, croissants, meats, fruits, vegetables ...); pieces of cloths ] FR: [ classificateur : morceaux ou tranches quelconques (gâteaux, pâtisseries, croissants, viande) ; prothèses dentaires ... ] | ช่อ | [chø] (n) EN: [ classifier : bunches of flowers ] FR: [ classificateur : bouquets de fleurs ] | เชิดจีน | [choētjīn] (n) EN: name of Thai classical tune | ชนชั้น | [chonchan] (n) EN: class ; social class FR: classe sociale [ f ] |
| | | age class | (n) people in the same age range | art class | (n) a class in which you learn to draw or paint | cabin class | (n) a class of accommodations on a ship or train or plane that are less expensive than first class accommodations, Syn. economy class, second class | childbirth-preparation class | (n) a course that teaches pregnant women to use breathing and concentration and exercise techniques to use during labor | class | (n) a collection of things sharing a common attribute, Syn. category, family | class | (n) a body of students who are taught together, Syn. course, form, grade | class | (n) people having the same social, economic, or educational status, Syn. socio-economic class, social class, stratum | class | (n) a league ranked by quality, Syn. division | class | (n) a body of students who graduate together, Syn. year | class | (n) (biology) a taxonomic group containing one or more orders | class | (n) elegance in dress or behavior | class act | (n) someone who shows impressive and stylish excellence | class action | (n) a lawsuit brought by a representative member of a large group of people on behalf of all members of the group, Syn. class-action suit | class-conscious | (adj) (used of society) socially hierarchical, Syn. stratified | class cyanobacteria | (n) photosynthetic bacteria found in fresh and salt water, having chlorophyll a and phycobilins; once thought to be algae: blue-green algae, Syn. class Cyanophyceae, Cyanophyceae | class feeling | (n) feelings of envy and resentment of one social or economic class for toward another | classic | (n) a creation of the highest excellence | classic | (n) an artist who has created classic works | classical | (adj) of or relating to the most highly developed stage of an earlier civilisation and its culture, Syn. classic, Ant. nonclassical | classical | (adj) of or relating to the study of the literary works of ancient Greece and Rome | classical | (adj) (language) having the form used by ancient standard authors; "classical Greek | classical | (adj) of or pertaining to or characteristic of the ancient Greek and Roman cultures; ; "classical, Syn. Hellenic, classic, Graeco-Roman, Greco-Roman | classical architecture | (n) architecture influenced by the ancient Greeks or Romans, Syn. Greco-Roman architecture | classical ballet | (n) a style of ballet based on precise conventional steps performed with graceful and flowing movements | classical conditioning | (n) conditioning that pairs a neutral stimulus with a stimulus that evokes a reflex; the stimulus that evokes the reflex is given whether or not the conditioned response occurs until eventually the neutral stimulus comes to evoke the reflex | classical latin | (n) the language of educated people in ancient Rome | classically | (adv) in the manner of Greek and Roman culture | classical mechanics | (n) the branch of mechanics based on Newton's laws of motion, Syn. Newtonian mechanics | classical music | (n) traditional genre of music conforming to an established form and appealing to critical interest and developed musical taste, Syn. serious music, classical | classical mythology | (n) the system of mythology of the Greeks and Romans together; much of Roman mythology (especially the gods) was borrowed from the Greeks | classical style | (n) the artistic style of ancient Greek art with its emphasis on proportion and harmony | classic hemochromatosis | (n) inherited form of hemochromatosis, Syn. idiopathic hemochromatosis | classicism | (n) a movement in literature and art during the 17th and 18th centuries in Europe that favored rationality and restraint and strict forms, Syn. classicalism, Ant. Romanticism | classicist | (n) an artistic person who adheres to classicism, Ant. romanticist | classicist | (n) a student of ancient Greek and Latin, Syn. classical scholar | classicistic | (adj) of or relating to classicism | classicize | (v) make classic or classical, Syn. classicise | classics | (n) study of the literary works of ancient Greece and Rome | classifiable | (adj) capable of being classified, Syn. distinctive | classification | (n) a group of people or things arranged by class or category, Syn. categorisation, categorization | classification | (n) the basic cognitive process of arranging into classes or categories, Syn. categorisation, sorting, categorization | classification | (n) restriction imposed by the government on documents or weapons that are available only to certain authorized people, Ant. declassification | classification system | (n) a system for classifying things | classificatory | (adj) relating to or involving classification: | classified | (adj) arranged into classes, Ant. unclassified | classified | (adj) official classification of information or documents; withheld from general circulation, Ant. unclassified | classified ad | (n) a short ad in a newspaper or magazine (usually in small print) and appearing along with other ads of the same type, Syn. classified advertisement, classified | classified stock | (n) common stock classified as A or B where A has certain advantages (e.g., voting power) that B does not | classifier | (n) a person who creates classifications | classifier | (n) a word or morpheme used in some languages in certain contexts (such as counting) to indicate the semantic class to which the counted item belongs |
| 1st-class | n. 1. a class mail comprising letters, postcards, and other mail sealed against inspection, having a higher priority than second, third, or fourth-class mail; -- it is the highest class of mail not handled in a special manner, as is registered or priority mail. Syn. -- first-class, first-class mail, 1st-class mail [ WordNet 1.5 ] | Class | n. [ F. classe, fr. L. classis class, collection, fleet; akin to Gr. klh^sis a calling, kalei^n to call, E. claim, haul. ] 1. A group of individuals ranked together as possessing common characteristics; as, the different classes of society; the educated class; the lower classes. [ 1913 Webster ] 2. A number of students in a school or college, of the same standing, or pursuing the same studies. [ 1913 Webster ] 3. A comprehensive division of animate or inanimate objects, grouped together on account of their common characteristics, in any classification in natural science, and subdivided into orders, families, tribes, genera, etc. [ 1913 Webster ] 4. A set; a kind or description, species or variety. [ 1913 Webster ] She had lost one class energies. Macaulay. [ 1913 Webster ] 5. (Methodist Church) One of the sections into which a church or congregation is divided, and which is under the supervision of a class leader. [ 1913 Webster ] 6. One session of formal instruction in which one or more teachers instruct a group on some subject. The class may be one of a course of classes, or a single special session. [ PJC ] 7. A high degree of elegance, in dress or behavior; the quality of bearing oneself with dignity, grace, and social adeptness. [ PJC ] Class of a curve (Math.), the kind of a curve as expressed by the number of tangents that can be drawn from any point to the curve. A circle is of the second class. -- Class meeting (Methodist Church), a meeting of a class under the charge of a class leader, for counsel and relegious instruction. [ 1913 Webster ]
| Class | v. t. [ imp. & p. p. Classed p. pr. & vb. n. Classing. ] [ Cf. F. classer. See Class, n. ] 1. To arrange in classes; to classify or refer to some class; as, to class words or passages. [ 1913 Webster ] ☞ In scientific arrangement, to classify is used instead of to class. Dana. [ 1913 Webster ] 2. To divide into classes, as students; to form into, or place in, a class or classes. [ 1913 Webster ] | Class | v. i. To be grouped or classed. [ 1913 Webster ] The genus or family under which it classes. Tatham. [ 1913 Webster ] | Class | a. exhibiting refinement and high character; as, a class act. Opposite of low-class [ informal ] Syn. -- high-class. [ PJC ] | Class day | . In American colleges and universities, a day of the commencement season on which the senior class celebrates the completion of its course by exercises conducted by the members, such as the reading of the class histories and poem, the delivery of the class oration, the planting of the class ivy, etc. [ Webster 1913 Suppl. ] | Classible | a. Capable of being classed. [ 1913 Webster ] | Classic | n. 1. A work of acknowledged excellence and authority, or its author; -- originally used of Greek and Latin works or authors, but now applied to authors and works of a like character in any language. [ 1913 Webster ] In is once raised him to the rank of a legitimate English classic. Macaulay. [ 1913 Webster ] 2. One learned in the literature of Greece and Rome, or a student of classical literature. [ 1913 Webster ] | Classical | { } a. [ L. classicus relating to the classes of the Roman people, and especially to the frist class; hence, of the first rank, superior, from classis class: cf. F. classique. See Class, n. ] 1. Of or relating to the first class or rank, especially in literature or art. [ 1913 Webster ] Give, as thy last memorial to the age, One classic drama, and reform the stage. Byron. [ 1913 Webster ] Mr. Greaves may justly be reckoned a classical author on this subject [ Roman weights and coins ]. Arbuthnot. [ 1913 Webster ] 2. Of or pertaining to the ancient Greeks and Romans, esp. to Greek or Roman authors of the highest rank, or of the period when their best literature was produced; of or pertaining to places inhabited by the ancient Greeks and Romans, or rendered famous by their deeds. [ 1913 Webster ] Though throned midst Latium's classic plains. Mrs. Hemans. [ 1913 Webster ] The epithet classical, as applied to ancient authors, is determined less by the purity of their style than by the period at which they wrote. Brande & C. [ 1913 Webster ] He [ Atterbury ] directed the classical studies of the undergraduates of his college. Macaulay. [ 1913 Webster ] 3. Conforming to the best authority in literature and art; chaste; pure; refined; as, a classical style. [ 1913 Webster ] Classical, provincial, and national synods. Macaulay. [ 1913 Webster ] Classicals orders. (Arch.) See under Order. [ 1913 Webster ] Variants: Classic | Classicalism | n. 1. A classical idiom, style, or expression; a classicism. [ 1913 Webster ] 2. Adherence to what are supposed or assumed to be the classical canons of art. [ 1913 Webster ] | Classicalist | n. One who adheres to what he thinks the classical canons of art. Ruskin. [ 1913 Webster ] | Classically | adv. 1. In a classical manner; according to the manner of classical authors. [ 1913 Webster ] 2. In the manner of classes; according to a regular order of classes or sets. [ 1913 Webster ] | Classicalness | { } n. The quality of being classical. [ 1913 Webster ] Variants: Classicality | Classicism | n. A classic idiom or expression; a classicalism. C. Kingsley. [ 1913 Webster ] | Classicist | n. One learned in the classics; an advocate for the classics. [ 1913 Webster ] | classicistic | adj. of or pertaining to classicism; as, classicistic tradition. [ WordNet 1.5 ] | classicize | v. t. to make classic or classical. [ WordNet 1.5 ] | classics | n. pl. the branch of learning concerned with study of the literary works of ancient Greece and Rome. [ WordNet 1.5 ] | Classifiable | a. Capable of being classified. [ 1913 Webster ] | Classific | a. Characterizing a class or classes; relating to classification. [ 1913 Webster ] | Classification | n. [ Cf. F. classification. ] The act of forming into a class or classes; a distribution into groups, as classes, orders, families, etc., according to some common relations or affinities. [ 1913 Webster ] Artificial classification. (Science) See under Artifitial. [ 1913 Webster ]
| Classificatory | a. Pertaining to classification; admitting of classification. “A classificatory system.” Earle. [ 1913 Webster ] | classified | adj. 1. arranged into classes or categories; as, unclassified. Syn. -- categorized. [ WordNet 1.5 +PJC ] 2. assigned to a class of documents withheld from general circulation; -- of information or documents. Opposite of unclassified. [ Narrower terms: eyes-only; confidential; restricted; secret; sensitive; top-secret ] [ WordNet 1.5 ] | Classifier | n. One who classifies. [ 1913 Webster ] | Classify | v. t. [ imp. & p. p. Classified p. pr. & vb. n. Classifying. ] [ L. classis class + -fy. ] To distribute into classes; to arrange according to a system; to arrange in sets according to some method founded on common properties or characters. Syn. -- To arrange; distribute; rank. [ 1913 Webster ] | Classis | ‖n.; pl. Classes [ L. See Class, n. ] 1. A class or order; sort; kind. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] His opinion of that classis of men. Clarendon. [ 1913 Webster ] 2. (Eccl.) An ecclesiastical body or judicatory in certain churches, as the Reformed Dutch. It is intermediate between the consistory and the synod, and corresponds to the presbytery in the Presbyterian church. [ 1913 Webster ] | Classman | n.; pl. Classmen 1. A member of a class; a classmate. [ 1913 Webster ] 2. A candidate for graduation in arts who is placed in an honor class, as opposed to a passman, who is not classified. [ Oxford, Eng. ] [ 1913 Webster ] | Classmate | n. One who is in the same class with another, as at school or college. [ 1913 Webster ] | classy | adj. 1. having elegance or taste or refinement in manners or dress. Opposite of styleless. [ informal ] Syn. -- posh, swish, stylish. [ WordNet 1.5 ] 2. exhibiting refinement and high character. Opposite of low-class [ informal ] Syn. -- high-class. [ PJC ] | Declass | v. t. [ imp. & p. p. Declassed p. pr. & vb. n. Declassing. ] [ Cf. F. déclasser. ] To remove from a class; to separate or degrade from one's class. North Am. Rev. [ Webster 1913 Suppl. ] | declasse | ‖pos>adj. [ F. Cf. F. déclasser. ] 1. Reduced or fallen in status, social position, class or rank; fallen from a high status or rank to a lower one. [ PJC ] 2. Of inferior grade, rank, status, or prestige. [ PJC ] | declassification | n. Reduction by the government of restrictions on a classified document or weapon. [ WordNet 1.5 ] | declassified | adj. having a security classification removed so as to be open to public inspection; -- of documents or information. [ WordNet 1.5 ] | declassify | v. to lift the restriction on publication [ of documents ] by reducing or eliminating the secrecy classification of; -- usually applied to government documents classified as secret. Syn. -- make available again. [ WordNet 1.5 ] | first-class | a. Of the best class; of the highest rank; in the first division; of the best quality; first-rate; as, a first-class telescope. [ 1913 Webster ] First-class car or First-class railway carriage, any passenger car of the highest regular class, and intended for passengers who pay the highest regular rate; -- distinguished from a second-class car. [ 1913 Webster ]
| low-class | adj. 1. Occupying the lowest socioeconomic position in a society. Contrasted with middle-class and upper-class. [ Narrower terms: propertyless, wage-earning, working-class, blue-collar ] Also See: lowborn, proletarian, propertyless. Syn. -- lower-class (vs. upper-class). [ WordNet 1.5 ] 2. characteristic of the lower classes. [ Narrower terms: non-U, vulgar ] PJC ] | lower-class | adj. same as low-class. Contrasted with middle-class and upper-class. Syn. -- low-class. [ WordNet 1.5 ] | lowerclassman | n. an undergraduate who is not yet a senior. Syn. -- underclassman. [ WordNet 1.5 ] | lower-middle-class | adj. occupying the lower part of the middle socioeconomic range in a society. [ WordNet 1.5 ] | major form class | n. (Grammar) Any of the parts of speech of traditional grammar. [ WordNet 1.5 ] | Neoclassical | a. [ Neo- + classic. ] Belonging to, or designating, the modern revival or adaptation of classical, esp. Greco-Roman, style, taste and manner of work in architecture, arts, literature, etc. [ Webster 1913 Suppl.+ WordNet 1.5 ] Variants: Neoclassic | Neoclassic architecture | . All that architecture which, since the beginning of the Italian Renaissance, about 1420, has been designed with deliberate imitation of Greco-Roman buildings. [ Webster 1913 Suppl. ] | neoclassicism | n. a revival of the classical Greek and Roman style in art or literature. [ WordNet 1.5 ] | neoclassicist | n. an advocate of neoclassicism. [ WordNet 1.5 ] | Second-class | a. Of the rank or degree below the best or highest; inferior; second-rate; as, a second-class house; a second-class passage; a second-class citizen. [ 1913 Webster +PJC ] | Sonderclass | n. [ G. sonderklasse special class. ] (Yachting) A special class of small yachts developed in Germany under the patronage of Emperor William and Prince Henry of Prussia, and so called because these yachts do not conform to the restrictions for the regular classes established by the rules of the International Yacht Racing Union. In yachts of the sonderclass, as prescribed for the season of 1911, the aggregate of the length on water line, extreme beam, and extreme draft must be not more than 32 feet; the weight, not less than 4, 035 pounds (without crew); the sail area, not more than 550 square yards; and the cost of construction (for American boats) not more than $2400. The crew must be amateurs and citizens of the country in which the yacht was built. [ Webster 1913 Suppl. ] | Subclass | n. One of the natural groups, more important than an order, into which some classes are divided; as, the angiospermous subclass of exogens. [ 1913 Webster ] | Undoubtful | See abolishable. See absolvable. See absurd. See abundant. See accordant. See adoptable. See adventurous. See affable. See affectionate. See afraid. See alliable. See allowable. See alterable. See ambiguous. See ambitious. See amendable. See -American. See amusive. See angular. See anxious. See apocryphal. See apostolic. See apparent. See appeasable. See applausive. See appreciable. See apprehensible. See apprehensive. See approachable. See artificial. See artistic. See assailable. See attainable. See attentive. See authentic. See available. See bailable. See bearable. See beautiful. See beliefful. See believable. See beneficial. See benevolent. See blamable. See blemishable. See blissful. See boastful. See bold. See bookish. See bounteous. See bribable. See brotherly. See burdensome. See businesslike. See busy. See candid. See canonical. See captious. See careful. See celestial. See ceremonious. See challengeable. See changeable. See chary. See chastisable. See cheerful. See cheery. See childish. See chivalrous. See choleric. See christianlike. See circumspect. See civic. See classible. See classic. See classical. See cleanly. See clear. See clerical. See clerklike. See close. See cloudy. See clubbable. See coagulable. See cogitable. See collectible. See comic. See commendable. See commercial. See communicable. See communicative. See compact. See companionable. See compassionate. See compellable. See competitive. See complaisant. See compliant. See complimentary. See concealable. See concurrent. See conditionate. See confinable. See confutable. See congealable. See congenial. See conjugal. See conjunctive. See conquerable. See consecrate. See containable. See contaminate. See contradictable. See contrite. See convenable. See conventional. See conversable. See conversant. See convertible. See coquettish. See cordial. See corpulent. See correspondent. See corruptible. See corruptive. See costly. See counselable. See countable. See counterfeit. See courteous. See courtierlike. See courtly. See crafty. See creatable. See critical. See crystalline. See cultivable. See curious. See customary. See dangerous. See daughterly. See dead. See deceivable. See decidable. See decipherable. See declinable. See decomposable. See definable. See delectable. See deliberate. See delightful. See deliverable. See democratic. See demonstrable. See demonstrative. See deniable. See derogatory. See descendible. See describable. See desirable. See desirous. See despondent. See devout. See diaphanous. See diligent. See diminishable. See discernible. See disciplinable. See discordant. See discoverable. See dissolvable. See distinguishable. See dividable. See divine. See domestic. See doubtful. [ 1913 Webster ] Variants: Undomestic, Undivine, Undividable, Undistinguishable, Undissolvable, Undiscoverable, Undiscordant, Undisciplinable, Undiscernible, Undiminishable, Undiligent, Undiaphanous, Undevout, Undespondent, Undesirous, Undesirable, Undescribable, Undescendible, Underogatory, Undeniable, Undemonstrative, Undemonstrable, Undemocratic, Undeliverable, Undelightful, Undeliberate, Undelectable, Undefinable, Undecomposable, Undeclinable, Undecipherable, Undecidable, Undeceivable, Undead, Undaughterly, Undangerous, Uncustomary, Uncurious, Uncultivable, Uncrystalline, Uncritical, Uncreatable, Uncrafty, Uncourtly, Uncourtierlike, Uncourteous, Uncounterfeit, Uncountable, Uncounselable, Uncostly, Uncorruptive, Uncorruptible, Uncorrespondent, Uncorpulent, Uncordial, Uncoquettish, Unconvertible, Unconversant, Unconversable, Unconventional, Unconvenable, Uncontrite, Uncontradictable, Uncontaminate, Uncontainable, Unconsecrate, Unconquerable, Unconjunctive, Unconjugal, Uncongenial, Uncongealable, Unconfutable, Unconfinable, Unconditionate, Unconcurrent, Unconcealable, Uncomplimentary, Uncompliant, Uncomplaisant, Uncompetitive, Uncompellable, Uncompassionate, Uncompanionable, Uncompact, Uncommunicative, Uncommunicable, Uncommercial, Uncommendable, Uncomic, Uncollectible, Uncogitable, Uncoagulable, Unclubbable, Uncloudy, Unclose, Unclerklike, Unclerical, Unclear, Uncleanly, Unclassical, Unclassic, Unclassible, Uncivic, Uncircumspect, Unchristianlike, Uncholeric, Unchivalrous, Unchildish, Uncheery, Uncheerful, Unchastisable, Unchary, Unchangeable, Unchallengeable, Unceremonious, Uncelestial, Uncareful, Uncaptious, Uncanonical, Uncandid, Unbusy, Unbusinesslike, Unburdensome, Unbrotherly, Unbribable, Unbounteous, Unbookish, Unbold, Unboastful, Unblissful, Unblemishable, Unblamable, Unbenevolent, Unbeneficial, Unbelievable, Unbeliefful, Unbeautiful, Unbearable, Unbailable, Unavailable, Unauthentic, Unattentive, Unattainable, Unassailable, Unartistic, Unartificial, Unapproachable, Unapprehensive, Unapprehensible, Unappreciable, Unapplausive, Unappeasable, Unapparent, Unapostolic, Unapocryphal, Unanxious, Unangular, Unamusive, Un-American, Unamendable, Unambitious, Unambiguous, Unalterable, Unallowable, Unalliable, Unafraid, Unaffectionate, Unaffable, Unadventurous, Unadoptable, Unaccordant, Unabundant, Unabsurd, Unabsolvable, Unabolishable |
| 个 | [gè, ㄍㄜˋ, 个 / 個] individual; this; that; size; classifier for people or objects in general #10 [Add to Longdo] | 也 | [yě, ㄧㄝˇ, 也] also; too; (in classical Chinese) final particle serving as copula #11 [Add to Longdo] | 这 | [zhè, ㄓㄜˋ, 这 / 這] this; these; (commonly pronounced zhei4 before a classifier, esp. in Beijing) #12 [Add to Longdo] | 上 | [shàng, ㄕㄤˋ, 上] on; on top; upon; first (of two parts); previous or last (week etc); upper; higher; above; previous; to climb; to go into; above; to go up; to attend (class or university); third tone of putonghua #15 [Add to Longdo] | 等 | [děng, ㄉㄥˇ, 等] class; rank; grade; equal to; same as; wait for; await; et cetera; and so on; et al. (and other authors); after; as soon as; once #38 [Add to Longdo] | 把 | [bǎ, ㄅㄚˇ, 把] to hold; to contain; to grasp; to take hold of; a handle; particle marking the following noun as a direct object; classifier for objects with handle #62 [Add to Longdo] | 出 | [chū, ㄔㄨ, 出] to go out; to come out; to occur; to produce; to go beyond; to rise; to put forth; to occur; to happen; classifier for dramas, plays, operas etc #67 [Add to Longdo] | 那 | [nà, ㄋㄚˋ, 那] that; those; commonly pr. nei4 before a classifier, esp. in Beijing #71 [Add to Longdo] | 家 | [jiā, ㄐㄧㄚ, 家] home; family; classifier for families or businesses; refers to the philosophical schools of pre-Han China; noun suffix for specialists in some activity such as musician or revolutionary, corresponds to English -ist, -er, -ary or -ian; surname Jia #92 [Add to Longdo] | 次 | [cì, ㄘˋ, 次] next in sequence; second; the second (day, time etc); secondary; vice-; sub-; infra-; inferior quality; substandard; order; sequence; hypo- (chem., meaning extra oxygen atom); classifier for enumerated events: time #96 [Add to Longdo] | 本 | [běn, ㄅㄣˇ, 本] roots or stems of plants; origin; source; this; the current; root; foundation; basis; (classifier for books, periodicals, files etc) #107 [Add to Longdo] | 名 | [míng, ㄇㄧㄥˊ, 名] name; noun (part of speech); place (e.g. among winners); famous; classifier for people #108 [Add to Longdo] | 所 | [suǒ, ㄙㄨㄛˇ, 所] actually; place; classifier for houses, small buildings, institutions etc; that which; particle introducing a relative clause or passive #111 [Add to Longdo] | 种 | [zhǒng, ㄓㄨㄥˇ, 种 / 種] seed; breed; species; race; strain; kind; type; sort; classifier meaning kind, type, sort; classifier for languages #113 [Add to Longdo] | 位 | [wèi, ㄨㄟˋ, 位] position; location; classifier for people; place; seat; classifier for binary bits (e.g. 十六位 16-bit or 2 bytes) #117 [Add to Longdo] | 道 | [dào, ㄉㄠˋ, 道] direction; way; method; road; path; classifier for long thin stretches, rivers, roads etc; principle; truth; morality; reason; skill; method; Dao (of Daoism); to say; to speak; to talk #123 [Add to Longdo] | 只 | [zhī, ㄓ, 只 / 隻] classifier for birds and certain animals, one of a pair, some utensils, vessels etc #136 [Add to Longdo] | 起 | [qǐ, ㄑㄧˇ, 起] to rise; to raise; to get up; to initiate (action); classifier for cases or unpredictable events #145 [Add to Longdo] | 岁 | [suì, ㄙㄨㄟˋ, 岁 / 歲] year; years old; classifier for years old #225 [Add to Longdo] | 部 | [bù, ㄅㄨˋ, 部] ministry; department; section; part; division; troops; board; (classifier for works of literature, films, machines etc) #246 [Add to Longdo] | 场 | [cháng, ㄔㄤˊ, 场 / 場] threshing floor; classifier for events and happenings; classifier for number of some languages and actions (cannot be followed by a noun) #247 [Add to Longdo] | 场 | [chǎng, ㄔㄤˇ, 场 / 場] a place; an open space; a field; a courtyard; classifier for events such as sports matches, concerts, or cultural events; classifier for number of exams #247 [Add to Longdo] | 股 | [gǔ, ㄍㄨˇ, 股] share; portion; section; part; thigh; (classifier for smells, electric currents, spirals etc); whiff #248 [Add to Longdo] | 条 | [tiáo, ㄊㄧㄠˊ, 条 / 條] strip; item; article; clause (of law or treaty); classifier for long thin things (ribbon, river, road, trousers etc) #269 [Add to Longdo] | 发 | [fā, ㄈㄚ, 发 / 發] to send out; to show (one's feeling); to issue; to develop; (classifier for gunshots, "rounds") #271 [Add to Longdo] | 听 | [tīng, ㄊㄧㄥ, 听 / 聽] to listen; to hear; to obey; a can (loan from English tin); classifier for canned beverages #307 [Add to Longdo] | 回 | [huí, ㄏㄨㄟˊ, 回] to circle; to go back; to turn around; to answer; to return; to revolve; Hui religious minority (Chinese Muslims); time; classifier for acts of a play; section or chapter (of a classic book) #310 [Add to Longdo] | 张 | [zhāng, ㄓㄤ, 张 / 張] to open up; to spread; sheet of paper; classifier for flat objects, sheet; classifier for votes #314 [Add to Longdo] | 米 | [mǐ, ㄇㄧˇ, 米] meter (classifier); rice; surname Mi #335 [Add to Longdo] | 身 | [shēn, ㄕㄣ, 身] body; torso; person; life; status; pregnancy; classifier for clothes: suit #336 [Add to Longdo] | 头 | [tóu, ㄊㄡˊ, 头 / 頭] head; hair style; the top; end; beginning or end; a stub; remnant; chief; boss; side; aspect; first; leading; classifier for pigs or livestock #354 [Add to Longdo] | 别 | [bié, ㄅㄧㄝˊ, 别 / 別] leave; depart; separate; distinguish; classify; other; another; do not; must not; to pin #367 [Add to Longdo] | 入 | [rù, ㄖㄨˋ, 入] to enter; entering tone (classical Chinese) #374 [Add to Longdo] | 件 | [jiàn, ㄐㄧㄢˋ, 件] item; component; classifier for events, things, clothes etc #375 [Add to Longdo] | 面 | [miàn, ㄇㄧㄢˋ, 面] fade; side; surface; aspect; top; face; classifier for flat surfaces such as drums, mirrors, flags etc #410 [Add to Longdo] | 方 | [fāng, ㄈㄤ, 方] square; quadrilateral; power (such as cube 立方); classifier for square things; upright; honest; fair and square; surname Fang; direction; party (to a dispute); one side; place; method; prescription; just; then; only then #417 [Add to Longdo] | 处 | [chù, ㄔㄨˋ, 处 / 處] place; location; spot; point; office; department; bureau; respect; classifier for locations or items of damage: spot, point #427 [Add to Longdo] | 声 | [shēng, ㄕㄥ, 声 / 聲] sound; voice; tone; noise; classifier for sounds #429 [Add to Longdo] | 片 | [piàn, ㄆㄧㄢˋ, 片] a slice; piece; flake; thin; slice; classifier for movies, DVDs etc #430 [Add to Longdo] | 门 | [mén, ㄇㄣˊ, 门 / 門] gate; door; CL:扇[ shan4 ]; gateway; doorway; CL:個|个[ ge4 ]; opening; valve; switch; way to do something; knack; family; house; (religious) sect; school (of thought); class; category; phylum or division (taxonomy); classifier for large guns; classifier for les #459 [Add to Longdo] | 间 | [jiān, ㄐㄧㄢ, 间 / 間] between; among; space; classifier for time intervals #505 [Add to Longdo] | 经 | [jīng, ㄐㄧㄥ, 经 / 經] classics; sacred book; scripture; to pass through; to undergo; warp; longitude; abbr. for economics 經濟|经济; surname Jing #507 [Add to Longdo] | 口 | [kǒu, ㄎㄡˇ, 口] mouth; (classifier for things with mouths such as people, domestic animals, cannons, wells etc) #520 [Add to Longdo] | 台 | [tái, ㄊㄞˊ, 台] surname Tai; (classical) you (in letters); platform; Taiwan (abbr.) #530 [Add to Longdo] | 台 | [tái, ㄊㄞˊ, 台 / 臺] platform; stage; terrace; stand; support; desk; station; broadcasting station; classifier for vehicles or machines; Taiwan (abbr.) #530 [Add to Longdo] | 座 | [zuò, ㄗㄨㄛˋ, 座] seat; base; stand; (classifier for buildings, mountains, large solid things, etc.) #533 [Add to Longdo] | 盘 | [pán, ㄆㄢˊ, 盘 / 盤] dish; tray; to build; to check; to examine; to transfer; classifier for food: dish, helping; to coil; classifier for coils of wire; tectonic plate #579 [Add to Longdo] | 块 | [kuài, ㄎㄨㄞˋ, 块 / 塊] lump (of earth); chunk; piece; classifier for pieces of cloth, cake, soap, etc.; colloquial word for yuan (or other unit of currency such as Hong Kong or US dollar etc), usually as 塊錢|块钱 #598 [Add to Longdo] | 局 | [jú, ㄐㄩˊ, 局] office; situation; classifier for games: match, set, round etc #599 [Add to Longdo] | 套 | [tào, ㄊㄠˋ, 套] cover; sheath; to encase; a case; to overlap; to interleave; bend (of a river or mountain range, in place names); harness; classifier for sets, collections; tau (Greek letter Ττ) #616 [Add to Longdo] |
| 組 | [くみ, kumi] TH: คำเรียกระดับชั้นเรียน EN: class | 読者層 | [どくしゃそう, dokushasou] TH: กลุ่มผู้อ่าน EN: class of readers |
| | 上 | [じょう, jou] (n-suf) (1) from the standpoint of; as a matter of (e.g. fact); in the field of; being of the type of; (2) aboard (a ship or vehicle); on top of; on; above; (n) (3) (See 下・げ・2) first volume (e.g. book); (n, pref) (4) superior quality; best; top; high class; (5) going up; (6) governmental; imperial; (7) presenting; showing; (pref) (8) ana- (medical, biol.); (P) #111 [Add to Longdo] | 位 | [くらい, kurai] (adv, suf) (1) (orig. from 座居, meaning "seat") throne; crown; (nobleman's) seat; (2) (See 位階) government position; court rank; (3) social standing; rank; class; echelon; rung; (n) (4) grade (of quality, etc.); level; tier; rank; (5) (See 桁・2) digit (e.g. the tens, the hundreds, etc.); place; (6) (See どの位) degree; extent; amount; (P) #116 [Add to Longdo] | なら(P);ならば(P) | [nara (P); naraba (P)] (aux) (1) (hypothetical form of the copula だ, from なり and sometimes classed as a particle) if; in case; if it is the case that; if it is true that; (2) (なら only) as for; on the topic of; (conj) (3) (col) (abbr) (See それなら) if that's the case; if so; that being the case; (4) (ならば only) if possible; if circumstances allow; (P) #141 [Add to Longdo] | 局 | [つぼね, tsubone] (n) (1) court lady; lady-in-waiting (Heian period); (2) (See 曹司・1) separate room in a palace (esp. for a lady) (Heian period); (3) room for a very low class prostitute; (4) (See 局女郎) very low class prostitute #177 [Add to Longdo] | 等 | [ら, ra] (n, n-suf, ctr) (1) class; order; rank; (suf) (2) (See 等・など) et cetera (etc.); and the like; (pref) (3) equal #221 [Add to Longdo] | 高等 | [こうとう, koutou] (adj-na, n, adj-no) high class; high grade; (P) #228 [Add to Longdo] | 級 | [きゅう, kyuu] (n, n-suf) class, grade, rank; school class, grade; (P) #403 [Add to Longdo] | 歌(P);唄(P);詩 | [うた, uta] (n) (1) (歌, 唄 only) (唄 is primarily used for shamisen songs) song; (2) (歌 only) (See 短歌) classical Japanese poetry (esp. tanka); (3) (歌, 詩 only) modern poetry; (P) #610 [Add to Longdo] | 組(P);組み(P) | [くみ, kumi] (n) (1) (pronounced ぐみ as a suffix) set (of items); (2) group (of people); class (of students); company (esp. construction); family (i.e. mafia); team; (3) typesetting; composition; (P) #753 [Add to Longdo] | 分類 | [ぶんるい, bunrui] (n, vs) classification; categorization; sorting; (P) #819 [Add to Longdo] | 行 | [こう, kou] (n, n-suf) (1) going; travelling (traveling); (2) type of classical Chinese verse (usu. an epic); (3) (arch) district (of similar merchants); guild; (suf, pref) (4) bank #873 [Add to Longdo] | 類 | [るい, rui] (n, n-suf) kind; sort; class; family; genus; (P) #1,076 [Add to Longdo] | 部門 | [ぶもん, bumon] (n, adj-no) division (of a larger group); branch; field; class (subclass); group; category; department; (P) #1,111 [Add to Longdo] | 品 | [ほん, hon] (n) (1) elegance; grace; refinement; class; dignity; (suf) (2) article; item; (suf, ctr) (3) (sometimes pronounced ぴん) counter for items (of food, etc.); counter for dishes or courses (at a restaurant); (P) #1,244 [Add to Longdo] | クラス | [kurasu] (n) class; (P) #1,458 [Add to Longdo] | 区分 | [くぶん, kubun] (n, vs, adj-no) division; section; demarcation; partition; segmentation; subdivision; (traffic) lane; compartment; classification; sorting; (P) #1,551 [Add to Longdo] | 優 | [ゆう, yuu] (adj-na) (1) gentle; (2) elegant; classy; (3) (See 優に) superior; skilled; (4) excellent (in marking, grading, etc.); (n) (5) actor #1,739 [Add to Longdo] | 段階 | [だんかい, dankai] (n) grade; level; stage; class; phase; steps; order; gradation; (P) #1,941 [Add to Longdo] | クラシック(P);クラッシック(P);クラッシク | [kurashikku (P); kurasshikku (P); kurasshiku] (n) (1) (abbr) (See クラシック音楽) classical music; (adj-na) (2) classic; classical; (n) (3) (the) classics; (P) #2,132 [Add to Longdo] | 綱 | [つな, tsuna] (n) (biological) class #2,170 [Add to Longdo] | 階級 | [かいきゅう, kaikyuu] (n) (social) class; rank; grade; (P) #2,224 [Add to Longdo] | 層 | [そう, sou] (n, n-suf) (1) layer; seam; bed; stream; class; (2) { math } sheaf; (ctr) (3) storey (of a building); story; floor #2,238 [Add to Longdo] | 上位 | [じょうい, joui] (n, adj-no) (1) superior (rank not class); ranking; (n) (2) { comp } higher order (e.g. byte); (3) { comp } host computer (of connected device); (P) #2,360 [Add to Longdo] | 教師 | [きょうし, kyoushi] (n, adj-no) teacher (classroom); (P) #2,403 [Add to Longdo] | 区別(P);區別(oK) | [くべつ, kubetsu] (n, vs) distinction; differentiation; classification; (P) #2,611 [Add to Longdo] | 教室 | [きょうしつ, kyoushitsu] (n) classroom; (P) #2,891 [Add to Longdo] | 本格 | [ほんかく, honkaku] (n) (1) original method or procedure; (adj-f) (2) serious; orthodox; classical; genuine; (P) #3,325 [Add to Longdo] | 授業 | [じゅぎょう, jugyou] (n, vs) lesson; class work; teaching; instruction; (P) #3,447 [Add to Longdo] | 古典 | [こてん, koten] (n, adj-no) old book; classics; classic; (P) #3,488 [Add to Longdo] | 種別 | [しゅべつ, shubetsu] (n, vs) classification; assortment; (P) #3,490 [Add to Longdo] | 端;端た | [はした, hashita] (n, adj-na) (1) fraction; odd sum; (n) (2) (abbr) (See 端金) loose change; (3) (arch) (See 端女) low class female servant #3,910 [Add to Longdo] | 同期 | [どうき, douki] (n-adv, vs, adj-no) (1) contemporary; corresponding period; same period; same class; (2) synchronous; synchronization; (P) #4,505 [Add to Longdo] | 中等 | [ちゅうとう, chuutou] (n, adj-no) second grade; medium quality; average; middle class; secondary grade; (P) #4,549 [Add to Longdo] | 上下 | [じょうげ, jouge] (n, vs) (1) top and bottom; up and down; high and low; above and below; upper and lower ends; (n) (2) (しょうか only) upper and lower classes; ruler and ruled; the government and the people #4,754 [Add to Longdo] | 上下 | [じょうげ, jouge] (n) (1) top and bottom; high and low; above and below; upper and lower ends; up and down; (n, vs) (2) going up and down; rising and falling; fluctuating; (3) going and coming back; (n) (4) upper and lower classes; ruler and ruled; the government and the people; (5) first and second volumes; (P) #4,754 [Add to Longdo] | 高級 | [こうきゅう, koukyuu] (adj-na, n, adj-no) high class; high grade; (P) #4,766 [Add to Longdo] | 同級生 | [どうきゅうせい, doukyuusei] (n) classmate; classmates; (P) #5,281 [Add to Longdo] | 春秋 | [しゅんじゅう(P);はるあき, shunjuu (P); haruaki] (n) (1) (See 五経) spring and autumn; spring and fall; months and years; (2) (しゅんじゅう only) the Chronicles of Lu or the Spring and Autumn Annals - one of the Five Classics; (P) #5,466 [Add to Longdo] | 等級 | [とうきゅう, toukyuu] (n) (1) grade; class; (2) (astronomical) magnitude; (P) #5,489 [Add to Longdo] | 天神 | [てんじん, tenjin] (n) (1) (also pronounced てんしん) heavenly god; heavenly gods; (2) spirit of Sugawara no Michizane; (3) (See 天満宮) Tenmangu shrine (dedicated to Michizane's spirit); (4) (col) (See 梅干し) pit of a dried plum; dried plum; (5) (abbr) (See 天神髷) tenjin hairstyle; (6) prostitute of the second-highest class (Edo period); (P) #5,853 [Add to Longdo] | 歌舞伎(P);歌舞妓 | [かぶき, kabuki] (n) kabuki; Japanese classical drama; (P) #5,903 [Add to Longdo] | 上流 | [じょうりゅう, jouryuu] (n) (1) upper stream; upper course; upper reaches; (adj-no) (2) upstream; (n, adj-no) (3) upper classes; (P) #6,295 [Add to Longdo] | 学級 | [がっきゅう, gakkyuu] (n, adj-no) (school) class; (P) #6,854 [Add to Longdo] | 参入 | [さんにゅう, sannyuu] (n, vs) (1) entering (the marketplace); introducing (something) to the market; access; (2) (original meaning) visiting a high-class or noble individual; (P) #7,012 [Add to Longdo] | 号車 | [ごうしゃ, gousha] (n) classifier for naming train cars; (P) #7,028 [Add to Longdo] | 文言 | [もんごん;ぶんげん, mongon ; bungen] (n) (1) wording (esp. of written text); (2) (ぶんげん only) classical Chinese literary style; traditional written Chinese #7,128 [Add to Longdo] | 下流 | [かりゅう, karyuu] (n) (1) downstream; lower reaches of a river; (2) lower classes; (P) #7,910 [Add to Longdo] | 主席(P);首席(P) | [しゅせき, shuseki] (n, adj-no) (1) head; chief; (n) (2) (主席 only) chairman; governor; president; (3) (首席 only) top student; head of the class; (4) top seat; first desk (in orchestra); (P) #8,290 [Add to Longdo] | 分ける(P);別ける | [わける, wakeru] (v1, vt) (1) to divide (into); to split (into); to part; to separate; to divide up; to classify; to sort out; to divide out; (2) to share; to distribute; to deal out; to dish out; (3) to distinguish; to discriminate; to differentiate (between); (4) to break up (a fight); to mediate; (5) to call a draw; to tie; (6) to push one's way through (a crowd); (7) (also written as 頒ける) to sell; (P) #8,352 [Add to Longdo] | 階層 | [かいそう, kaisou] (n) class; level; stratum; layer; hierarchy; (P) #9,173 [Add to Longdo] |
| クラス階層 | [クラスかいそう, kurasu kaisou] class hierarchy [Add to Longdo] | サービスクラス | [さーびすくらす, sa-bisukurasu] service class [Add to Longdo] | サービス種別 | [サービスしゅべつ, sa-bisu shubetsu] service class [Add to Longdo] | サブクラス | [さぶくらす, sabukurasu] subclass [Add to Longdo] | ファイルグループクラス | [ふぁいるぐるーぷくらす, fairuguru-pukurasu] file group class [Add to Longdo] | ファイル所有者クラス | [ファイルしょゆうしゃクラス, fairu shoyuusha kurasu] file owner class [Add to Longdo] | ファイル他者クラス | [ファイルたしゃクラス, fairu tasha kurasu] file other class [Add to Longdo] | ファセット分類体系 | [ファセットぶんるいたいけい, fasetto bunruitaikei] faceted classification system [Add to Longdo] | ブジェクトクラス | [ぶじえくとくらす, bujiekutokurasu] object class [Add to Longdo] | 一段階層分類体系 | [いちだんかいそうぶんるいたいけい, ichidankaisoubunruitaikei] hierarchical classification system, monohiererchical classification system [Add to Longdo] | 一般分類体系 | [いっぱんぶんるいたいけい, ippanbunruitaikei] universal classification system, general classification system [Add to Longdo] | 運搬クラス | [うんぱんクラス, unpan kurasu] bearer class [Add to Longdo] | 回線種別 | [かいせんすべつ, kaisensubetsu] line type, line classification [Add to Longdo] | 階層化 | [かいそうか, kaisouka] stratification, classification [Add to Longdo] | 階層分類体系 | [かいそうぶんるいたいけい, kaisoubunruitaikei] hierarchical classification system, monohiererchical classification system [Add to Longdo] | 外部文書クラス | [がいぶぶんしょクラス, gaibubunsho kurasu] external document class [Add to Longdo] | 割付け対象体クラス | [わりつけたいしょうたいクラス, waritsuketaishoutai kurasu] layout object class [Add to Longdo] | 管理オブジェクトクラス | [かんりオブジェクトクラス, kanri obujiekutokurasu] managed object class [Add to Longdo] | 簡略分類体系 | [かんりゃくぶんるいたいけい, kanryakubunruitaikei] broad classification system [Add to Longdo] | 交換様式クラス | [こうかんようしきクラス, koukanyoushiki kurasu] interchange format class [Add to Longdo] | 公開文種別 | [こうかいぶんしゅべつ, koukaibunshubetsu] public text class [Add to Longdo] | 合成形分類体系 | [ごうせいがたぶんるいたいけい, gouseigatabunruitaikei] synthetic classification system [Add to Longdo] | 字類条件 | [じるいじょうけん, jiruijouken] class condition [Add to Longdo] | 字類名 | [じるいめい, jiruimei] class name [Add to Longdo] | 十進分類体系 | [じっしんぶんるいたいけい, jisshinbunruitaikei] decimal classification system [Add to Longdo] | 上位 | [じょうい, joui] superior (rank not class), higher order (e.g. byte), host computer (of connected device) [Add to Longdo] | 深層分類体系 | [しんそうぶんるいたいけい, shinsoubunruitaikei] close classification system, depth classification system [Add to Longdo] | 精密分類体系 | [せいみつぶんるいたいけい, seimitsubunruitaikei] close classification system, depth classification system [Add to Longdo] | 専門分類体系 | [せんもんぶんるいたいけい, senmonbunruitaikei] specialized classification system [Add to Longdo] | 線形分類体系 | [せんけいぶんるいたいけい, senkeibunruitaikei] linear classification system [Add to Longdo] | 選択クラス | [せんたくクラス, sentaku kurasu] selected class [Add to Longdo] | 装置クラス | [そうちクラス, souchi kurasu] device class [Add to Longdo] | 多元分類体系 | [たげんぶんるいたいけい, tagenbunruitaikei] multidimensional classification system [Add to Longdo] | 対象体クラス | [たいしょうたいクラス, taishoutai kurasu] object class [Add to Longdo] | 対象体クラス記述部 | [たいしょうたいクラスきじゅつぶ, taishoutai kurasu kijutsubu] object class description [Add to Longdo] | 代替クラス | [だいがえクラス, daigae kurasu] alternative class [Add to Longdo] | 段階 | [だんかい, dankai] stage, steps, order, class, phase [Add to Longdo] | 提案クラス | [ていあんクラス, teian kurasu] proposed class [Add to Longdo] | 内容体系クラス | [ないようたいけいクラス, naiyoutaikei kurasu] content architecture class [Add to Longdo] | 二分分類体系 | [にぶんぶんるいたいけい, nibunbunruitaikei] dichotomized classification system [Add to Longdo] | 入力クラス | [にゅうりょくクラス, nyuuryoku kurasu] input class [Add to Longdo] | 入力類 | [にゅうりょくるい, nyuuryokurui] input class [Add to Longdo] | 普遍分類体系 | [ふへんぶんるいたいけい, fuhenbunruitaikei] universal classification system, general classification system [Add to Longdo] | 分析形分類体系 | [ぶんせきがたぶんるいたいけい, bunsekigatabunruitaikei] analytical classification system [Add to Longdo] | 分析合成形分類体系 | [ぶんせきごうせいがたぶんるいたいけい, bunsekigouseigatabunruitaikei] analytico-synthetic classification system [Add to Longdo] | 分類 | [ぶんるい, bunrui] classification (vs), sorting [Add to Longdo] | 分類記号 | [ぶんるいきごう, bunruikigou] class symbol, class mark [Add to Longdo] | 分類作業 | [ぶんるいさぎょう, bunruisagyou] classifying [Add to Longdo] | 分類体系 | [ぶんるいたいけい, bunruitaikei] classification system [Add to Longdo] | 分類番号 | [ぶんるいばんごう, bunruibangou] class number [Add to Longdo] |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |