ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ibr, -ibr- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ libretto | [ละ-เบรต-โต] (n) เนื้อร้องประกอบดนตรีที่ใช้ในอุปรากร, จุลอุปรากร, งานแสดงสวมหน้ากาก, ละครเพลง และบัลเลต์ คำว่าบทร้องบางครั้งอาจจะหมายถึงเนื้อของงานสำคัญทางศาสนาสำหรับงานเช่นมิสซา, บทสรรเสริญผู้เสียชีวิต (requiem) หรือเพลงศาสนา (cantata) (Wikipedia.org), See also: R. opera, cantata, requiem |
|
| | fibre | (n) เส้นใย, See also: ไฟเบอร์, สิ่งที่เป็นเส้นใย, Syn. fibril, filament, thread | fibre | (n) ลักษณะสำคัญ, See also: โครงสร้างพื้นฐาน, Syn. fiber | Libra | (n) กลุ่มดาวตราชั่ง | Libra | (n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libran | Libra | (n) ราศีตุล, See also: จักรราศีตุล | fibril | (n) เส้นใยเล็กๆ, See also: เส้นใยละเอียด, เส้นใยฝอย, Syn. fibrilla | fibrin | (n) โปรตีนซึ่งทำให้โลหิตแข็งตัว, See also: ไฟบริน | Libran | (n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libra | fibroid | (adj) ซึ่งมีลักษณะของเส้นใย, See also: ประกอบด้วยเส้นใย, คล้ายเส้นใย, Syn. fibrous | fibroid | (n) เนื้องอกซึ่งประกอบด้วยเส้นใยและกล้ามเนื้อเรียบ | fibrous | (adj) ซึ่งมีลักษณะของเส้นใย, See also: ประกอบด้วยเส้นใย, คล้ายเส้นใย, Syn. tissued, fibroid | library | (n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย | library | (n) การเก็บรวมโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ | library | (n) ห้องสมุด, See also: หอสมุด, หอเก็บหนังสือ | vibrant | (adj) ซึ่งมีชีวิตชีวา, Syn. exciting, energetic, vigorous | vibrant | (adj) ซึ่งสั่นสะเทือน, See also: ซึ่งก้องกังวาน, ซึ่งกระหึ่ม, ซึ่งก้องกังวาน | vibrant | (adj) เจิดจ้า, See also: สว่างไสว, Syn. brilliant | vibrate | (vi) สั่น, Syn. swing, shake, quiver, tremble | vibrate | (vt) ทำให้สั่น, Syn. swing, shake, quiver, tremble | vibrate | (vi) ก้องกังวาน, Syn. resonate | vibrato | (n) ผลการสั่นที่เกิดจากการเล่นดนตรีหรือร้องเพลง, Syn. quaver, quiver, tremolo, vibration | fibrosis | (n) การเกิดพังผืด, See also: การเกิดเนื้อเยื่อมากเกินไป, การสร้างเส้นใยมากผิดปกติ | libretto | (n) งานเขียนละครเพลง | vibrance | (n) ความมีชีวิตชีวา | vibrancy | (n) ความมีชีวิตชีวา | vibrator | (n) เครื่องสั่น | calibrate | (vt) แสดงเครื่องหมายการวัด | librarian | (n) บรรณารักษ์ | semibreve | (n) เครื่องหมายเต็มเสียง, See also: จังหวะเต็มในดนตรีแสดงในโน๊ตด้วยวงกลม มีรูตรงกลาง, Syn. whole note | vibrantly | (adv) อย่างมีชีวิตชีวา, Syn. vigorously | vibratile | (adj) ที่สามารถสั่นสะเทือน, See also: ที่สามารถเคลื่อนที่ขึ้นลงอย่างรวดเร็ว | vibration | (n) การสั่น, See also: การเขย่า, Syn. quiver, vacillation, wavering | vibratory | (n) เกี่ยวกับการสั่น | fibrillate | (vi) สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) | fibrillate | (vi) ทำให้สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) | fibrinogen | (n) โปรตีนในพลาสมาที่ช่วยทำให้โลหิตแข็งตัว | microfibre | (n) ผ้าเนื้อเบาและอุ่นสำหรับทำเสื้อโค้ตหรือแจ๊กเก็ต | equilibrate | (vt) ทำให้สมดุล, See also: ทำให้เท่ากัน, ทำให้อยู่ในสภาพที่สมดุล, Syn. stabilize | equilibrate | (vi) สมดุลกัน, See also: เท่ากัน, Syn. stabilize | equilibrium | (n) ความสงบของจิตใจ, Syn. calm, equanimity, poise | equilibrium | (n) ความสมดุลของร่างกาย, Syn. balance, stability | moral fibre | (n) การตกลงใจ, See also: ความตั้งใจ, Syn. moral fiber | vibrational | (adj) เกี่ยวกับการสั่นหรือเขย่า, Syn. motive, mechanical | equilibrator | (n) เครื่องมือที่ช่วยรักษาความสมดุล | fibrillation | (n) การสร้างเส้นใยเล็กๆ, See also: การเป็นเส้นใยละเอียด | fibrillation | (n) การสั่นระริกของกล้ามเนื้อ | fibre optices | (n) เทคโลยีถ่ายทอดแสงหรือภาพผ่านเส้นใย, See also: เส้นใยโปร่งใส | librarianship | (n) ตำแหน่งบรรณารักษ์ | librarianship | (n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. librarian science | optical fibre | (n) เส้นใยแก้วที่ใช้ในการสื่อนำข้อมูล, Syn. optical fiber |
| calibrate | (แคล'ลีเบรท) { calibrated, calibrating, calibrates } vt. ตรวจตา, วัด, หาค่าแบ่งออกเป็นขีด ๆ , ทำให้เป็นมาตรฐาน, See also: calibrator, calibrater n. | calibre | (แคล'ลิเบอะ) n. ขนาดลำกล้องปืน, ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง, ขนาดของสติปัญญาความสามารถหรือความสำคัญ, See also: calibered adj. ดูcaliber calibred adj. ดูcaliber | disequilibrium | n. การเสียสมดุล, Syn. imbalance | equilibrium | (อีควิลิบ'เบรียม) n. ความสมดุล, ดุลยภาพ, ความเสมอภาค, สภาพคงที่, ความสงบใจ., See also: equilibratory adj. ดูequilibrium equilibrious adj. ดูequilibrium, Syn. stability | fibre | (ไฟ'เบอะ) n. เส้นใย, สิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้น, ลักษณะที่ | fibril | (ไฟ' บริล) n. เส้นใยเล็ก ๆ สำคัญ, แก่นแท้, รากฝอย., See also: fibered, fibred adj. | fibrillation | การกระตุกรัวของกล้ามเนื้อ | fibrin | (ไฟ' บริน) n. โปรตีนชนิดหนึ่งที่ทำให้โลหิตแข็งตัวหรือจับตัวเป็นลิ่มโลหิต | fibro- | Pref. เส้นใย | fibroma | n. เนื้องอกที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเส้นใย | fibrosis | n. การสร้างหรือเกิดเนื้อเยื่อมากผิดปกติ | fibrous | (ไฟ'บรัส) adj. ซึ่งประกอบด้วยหรือมีลักษณะของเส้นใย., See also: fibrousness n. | librarian | (ไลแบร'เรียน) n. บรรณารักษ์., See also: librarianship n. ดูlibrarian | library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ | library card | n. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด | library of congress | n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน | optical fibre | เส้นใยนำแสงหมายถึงวัสดุที่ทำจากใยแสง หรือพลาสติก ที่สามารถสะท้อนแสง หรือแสงผ่านทะลุได้ ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูลหรือสื่อสารข้อมูลแบบหนึ่ง สามารถถ่ายเทข้อมูล ได้ทีละมาก ๆ และทำได้รวดเร็ว เช่น สามารถส่งเอกสาร 2700 หน้าได้ภายในเวลาเพียง 6 วินาที ในปัจจุบัน เชื่อกันว่า ราคาโดยรวมถูกกว่าการถ่ายโอนข้อมูลด้วยวิธีอื่น | private library | คลังชุดคำสั่งส่วนตัวหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน program library | program library | คลังโปรแกรมหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน private library | semibreve | (เซม'มิบรีฟว, เซม'ไมบรีฟว) n. เครื่องหมายเต็มเสียง, กึ่งความยาวของเครื่องหมายbreve (เครื่องหมายดนตรีที่ยาวที่สุด) | vibrant | (ไว'เบรินทฺ) adj. สั่นสะเทือน, ระรัว, กังวาน, ก้องกังวาน, มีชีวิตชีวา, ตื่นเต้น, กระตุ้นจิต. n. เสียงสั่นสะเทือน, เสียงกังวาน., See also: vibrancy, vibrance n. vibrantly adv. | vibrate | (ไว'เบรท) vi. สั่น, สั่นสะเทือน, สั่นไหว, ระรัว, ระริก, เคลื่อนขึ้นลงอย่างรวดเร็วและซ้ำ ๆ ให้แกว่ง, ทำให้ระรัว, ทำให้ระริก, ทำให้ตื่นเต้น, ปล่อยออก., See also: vibratingly adv., Syn. oscillate | vibrator | (ไว'เบรเทอะ) n. ผู้สั่น, เครื่องสั่น, เครื่องกวน, อุปกรณ์ทางไฟฟ้าที่ทำให้กระแสไฟฟ้าขึ้น ๆ ลง ๆ | wooden fibre | n. เส้นใยเนื้อไม้ |
| calibre | (n) เส้นผ่าศูนย์กลาง, ขนาด, ความสามารถ | equilibrium | (n) ความสมดุล, ความคงที่, ดุลยภาพ, ความเสมอภาค | fibrous | (adj) เป็นเยื่อ, ทำด้วยเส้นด้าย, เป็นเส้นๆ | librarian | (n) บรรณารักษ์ | library | (n) หอสมุด, ห้องสมุด | vibrant | (adj) สั่นสะเทือน, สั่น, กังวาน | vibrate | (vi) สั่นสะเทือน, สั่น, ก้อง, กังวาน | vibration | (n) การสั่นสะเทือน, การสั่น, การแกว่ง, ความตื่นเต้น |
| private library | คลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | population equilibrium | สมดุลประชากร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | program library; library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | program library; library | คลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | political equilibrium | สมดุลทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pericyclic fibre; perivascular fibre | เส้นใยรอบนอกท่อลำเลียง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | phoroblast; fibroblast | เซลล์สร้างเส้นใย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pallesthesia; pallaesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | phloem fibre | เส้นใยของโฟลเอ็ม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | palmesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pelecypod; lamellibranch | หอยกาบคู่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | perivascular fibre; pericyclic fibre | เส้นใยรอบนอกท่อลำเลียง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | profile fo equilibrium; graded profile | หน้าตัดข้างสมดุล [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | pulse, vibrating; pulse, jerky; pulse, sharp; pulsus vibrans | ชีพจรกระตุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | plate, cribriform | ๑. แผ่นกระดูกพรุน๒. ผิวกระดูกเบ้าฟัน [ มีความหมายเหมือนกับ alveolar bone proper; lamina dura ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | peripheral fibre | เส้นใยโฟลเอ็มปฐมภูมิ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | pulse, jerky; pulse, sharp; pulse, vibrating; pulsus vibrans | ชีพจรกระตุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pulse, sharp; pulse, jerky; pulse, vibrating; pulsus vibrans | ชีพจรกระตุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pleurisy, fibrinous | เยื่อหุ้มปอดอักเสบใยเหนียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pulsus vibrans; pulse, jerky; pulse, sharp; pulse, vibrating | ชีพจรกระตุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palmaesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | library; program library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | library; program library | คลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | library routine | รูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | library subroutine | ซับรูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | library tape | แถบบันทึกจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | labyrinthine sense; sense of equilibrium; sense, static; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | lamellibranch; pelecypod | หอยกาบคู่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, static; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | skeleton, cardiac; fibrous skeleton of heart | โครงหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | septate fibre | เส้นใยมีผนังกั้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | structure-induced equilibrium | สมดุลที่เกิดจากโครงสร้าง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | sharp pulse; pulse, jerky; pulse, vibrating; pulsus vibrans | ชีพจรกระตุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spindle fibre | สปินเดิลไฟเบอร์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | system library | คลังโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | synarthrosis; joint, fibrous | ข้อต่อชนิดเนื้อเส้นใยคั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense, static; sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense, vestibular; sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, static | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sensibility, vibratory; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense, labyrinthine; sense of equilibrium; sense, static; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | slip fibre | สายแร่ใยขนานผนัง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | subroutine library | คลังซับรูทีน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | static sense; sense of equilibrium; sense, labyrinthine; sense, vestibular | การกำหนดรู้การทรงตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | seroplastic; serofibrinous | -ซีรัมปนไฟบริน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | serofibrinous; seroplastic | -ซีรัมปนไฟบริน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | serofibrous | -ผิวเยื่อเลื่อมปนพังผืด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | object library | คลังจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | occlusal equilibration | การปรับดุลการบดเคี้ยว [ ดู occlusal adjustment; occlusal correction ๒ ประกอบ ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | osseofibrous | -เป็นกระดูกและเส้นใย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Integrated Library Systems | ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ, Example: ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ เป็นระบบที่ทำงานร่วมกันระหว่างชุดโปรแกรมที่ประกอบด้วยโมดูลต่างๆ หรือระบบย่อยตามลักษณะงานพื้นฐานของห้องสมุด ได้แก่ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition module) งานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control) งานทำรายการทรัพทยากรสารสนเทศ (Cataloging module) การสืบค้นทางออนไลน์ (Online Public Access Catalog-OPAC) และงานบริการยืม-คืน (Circulation module) <p> <p>การทำงานที่สัมพันธ์ (โดยย่อ) เริ่มจาก <p> <p>1. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ นำรายการของทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูลของร้านค้าหนังสือ ข้อมูลของราคา (อัตราแลกเปลี่ยน) ข้อมูลของงบประมาณที่ได้รับสำหรับการจัดหา งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศสามารถควบคุมงบประมาณที่ได้รับจากการที่ระบบสามารถตัดยอดงบประมาณที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สามารถติดต่อร้านค้าตามข้อมูลที่ลงไว้ในระบบ และลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม (ตั้งต้น) ของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมสถานะของรายการนั้นๆ ว่าอยู่ในระหว่างการจัดซื้อ การส่งไปยังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รายการต่างๆ แม้ว่าจะลงรายการทางบรรณานุกรม ยังไม่ครบถ้วน แต่ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเห็นรายการดังกล่าว ผ่านโมดูล OPAC แต่สถานะจะเป็นตัวบ่งบอกว่าอยู่ในกระบวนการใด <p> <p>2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดึงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ทางงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ บันทึกไว้ในระบบ เพื่อลงรายการทางบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC) อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเปลี่ยนสถานะของรายการนั้นๆ เป็นให้บริการที่ชั้นหนังสือ (Check shelf available) และส่งทรัพยากรสารสนเทศที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบผ่านโมดูล Cataloging เรียบร้อยไปยังงานบริการเพื่อขึ้นชั้นให้บริการ รายการทางบรรณานุกรมที่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถสืบค้นผ่านโมดูล OPAC <p> <p>3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการใช้ผ่านโมดูล OPAC และนำมายืมผ่านโมดูล Circulation <p> <p>4. โมดูล Circulation อำนวยความสะดวกในการให้ยืม คืน จอง ต่ออายุ ทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมทั้งคำนวณการปรับค่าหนังสือที่ค้างการคืน และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ <p> <p>5. ในส่วนของวารสาร ซึี่่งเป็นงานที่มีความซับซ้อนมาก จะมีโมดูล Serial control ในการบันทึกรายการวารสารที่เข้ามาแล้ว ต้องติดตามทวงถาม การเย็มเล่ม <p> <p>เริ่มมีการนำระบบห้องสมุดแบบบูรณาการมาใช้ให้ห้องสมุดตั้งแต่ ค.ศ. 1981 เมื่อ University of Florida ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปโนทิส (NOTIS-Northwestern Online Total Integrated System) เป็นครั้งแรก และหลังจากนั้นก็มีระบบห้องสมุดแบบบูรณาการเกิดขึ้นอีกมากมายและจำนวนห้องสมุดที่หันมาใช้ระบบดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นทั่วโลก นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากสำหรับห้องสมุดในการเปลี่ยนจากระบบห้องสมุดแบบเดิม มาเป็นระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ <p> <p>ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการในปัจจุบัน มีทั้งเชิงพาณิชย์ และที่เป็นโปรแกรมโอเพนซอร์ส สำหรับโปรแกรมเชิงพาณิชย์ ได้แก่ อินโนแพค (INNOPAC) วีทีแอลเอส (VTLS) เป็นต้น แล้วแต่ความละเอียดของแต่ละโมดูลที่มีให้ และมีทั้งที่พัฒนาจากต่างประเทศและในประเทศไทย ส่วนโปรแกรมที่เป็นโอเพนซอร์ส ได้แก่ Koha, OpenBiblio เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Academic library | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Agricultural library | ห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | American Library Association | สมาคมห้องสมุดอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Art library | ห้องสมุดศิลปะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Economics library | ห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Fishery library | ห้องสมุดประมง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Hospital library | ห้องสมุดโรงพยาบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Librarian | บรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reference librarian | บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | School librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Book mobile library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Branch library | ห้องสมุดสาขา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | College librarian | บรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Comparative librarianship | บรรณารักษศาสตร์เปรียบเทียบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Congress of Southeast Asian Librarians | การประชุมบรรณารักษ์เอเชียอาคเนย์, Example: <html> <head> <title>HTML Online Editor Sample</title> </head> <body> <p> <strong>CONSAL</strong> : <span style="color:#0000cd;">Congress of Southeast Asian Librarians</span></p> <p> การประชุมสภาบรรณารักษ์เอชียอาคเนย์ หรือ การประชุมสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อความร่วมมือในระหว่างประเทศสมาชิกเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ในการพัฒนาห้องสมุดของแต่ละประเทศ</p> <p> สมาชิก CONSAL คือ หอสมุดแห่งชาติ ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน จำนวน 10 ประเทศ คือ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย</p> <p> การประชุมสภาบรรณรักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดจัดทุก 3 ปี โดยสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ หมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพ โดยที่ผ่านมาครั้งล่าสุด เป็นการประชุมครั้งที่ 15 วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเชีย ในหัวข้อเรื่อง Preserving and Disseminating National Heritage และการประชุมครั้งต่อไป ครั้งที่ 16 ปี 2558 ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมอีกครั้ง ซึ่งประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม CONSAL แล้ว จำนวน 2 ครั้ง ในปี 2521 และ 2536</p> <p> ประวัติของการรวมกลุ่มสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการประชุมครั้งแรกในปี 2513 ที่ประเทศสิงคโปร์ รายละเอียดหัวข้อการประชุม วันเวลา และประเทศเจ้าภาพการประชุม CONSAL ทั้งหมดที่ผ่านมา รวม 15 ครั้ง ดังนี้</p> <ol> <li> New prospects for Southeast Asians Cooperation วันที่ 14-16 สิงหาคม 2513 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Education and Training for Librarianship วันที่ 10-14 ธันวาคม 2516 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Integrated Library and Documentation Services within the Framework or NATIS วันที่ 1-5 ธันวาคม 2518 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Regional Cooperation for the Development of National Information Services วันที่ 5-9 มิถุนายน 2521 ประเทศไทย</li> <li> Access to Information วันที่ 25-29 พฤษภาคม 2524 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> The Library in the Information Revolution วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2526 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Libraries for Countryside Development in Southeast Asia วันที่ 12-21 กุมภาพันธ์ 2530 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> New Challenges in Library Services in the Developing World วันที่ 11-14 มิถุนายน 2533 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Future Dimensions and Library Development วันที่ 2-7 พฤษภาคม 2536 ประเทศไทย</li> <li> Libraries in National Development วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2539 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> Stepping into the New Millennium: Challenges for Library and Information Professionals วันที่ 26-28 เมษายน 2543 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Information Empowerment: Enhancing Knowledge Heritage วันที่ 20-23 ตุลาคม 2546 ประเทศบรูไน</li> <li> CONSAL at the Crossroads: Challenges for greater regional cooperation วันที่ 25-30 มีนาคม 2549 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Towards Dynamic Libraries and Information Services in Southeast Asian Countries วันที่ 20-23 เวียดนาม 2552 ประเทศเวียดนาม</li> <li> Preserving and Disseminating National Heritage วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ประเทศอินโดนีเชีย</li> </ol> <p> สนใจกิจกรรมการประชุม CONSAL เข้าถึงได้ที่เว็บไซต์ <a href="http://www.consal.org">www.consal.org</a></p> <p> <img alt="consal " height="305" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120925-consal.png" width="699" /></p> </body> </html> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Demographic library | ห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dental library | ห้องสมุดทันตแพทย์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Interlibrary loan | การยืมระหว่างห้องสมุด, Example: การยืมระหว่างห้องสมุด คือ เป็นบริการที่ห้องสมุดจัดให้เพื่อให้มีการยืม ทำสำเนาเอกสาร จากห้องสมุดแห่งอื่น เป็นการขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้ใช้สามารถได้รับเอกสาร หนังสือ หรือทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบอื่นๆ ที่ต้องการใช้ได้ แม้ว่าจะไม่มีรายการนั้นๆ อยู่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้นั้นสังกัดอยู่ โดยต้องมีการกรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมลงในแบบฟอร์ม การใ้ห้บริการยืมระหว่างห้องสมุดส่วนใหญ่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัย <p> <p>การใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด อาจทำได้ 2 วิธี คือ <p>1. ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอยืมด้วยตนเอง <p> ผู้ใช้กรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม ผ่านให้บรรณารักษ์ของห้องสมุดที่ผู้ใช้สังกัดอยู่ และนำไปแบบฟอร์มนี้ไปติดต่อยืมด้วยตนเอง <p>2. ให้ห้องสมุดดำเนินการให้ <p>ผู้ใช้กรอกรายละเอียดลงในแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด ส่งให้บรรณารักษ์ที่รับผิดชอบดำเนินการให้ ขอใช้บริการไปยังห้องสมุดที่มีข้อมูล/ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Federation of Library Asso | สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Libraries-Professional ethic | จรรยาบรรณบรรณารักษ์, Example: <strong>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศ พ.ศ.2550</strong> <p>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ประกาศใช้เมื่อพ.ศ.2521 ปรับปรุง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2529 การปรับปรุงครั้งนี้เป็นการปรับปรุงครั้งที่สอง พ.ศ.2550 เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ในวิชาชีพและสังคม จรรยาบรรณนี้ใช้เป็นแนวทางสำหรับบรรณารักษ์และนักสารสนเทศในการประกอบวิชาชีพ มีสาระสำคัญครอบคลุมจรรยาบรรณ ต่อผู้รับบริการ วิชาชีพ ผู้ร่วมงาน สถาบัน และสังคม ดังนี้ <br> 1. พึงให้บริการอย่างเต็มความสามารถ ด้วยบริการที่มีคุณภาพและด้วยความเสมอภาคแก่ผู้รับบริการ<br> 2. พึงรักษาความลับ เคารพและปกป้องสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิในการรับรู้ของผู้รับบริการ<br> 3. พึงมีความศรัทธาในวิชาชีพและใช้วิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ อดทน และมุ่งประโยชน์ ส่วนรวม โดยปราศจากการถูกครอบงำด้วยอิทธิพลหรือผลประโยชน์อันมิชอบทุกประการ <br> 4. พึงแสวงหาความรู้และพัฒนาคนทางวิชาการ วิชาชีพ อย่างต่อเนื่องให้ทันความเปลี่ยนแปลงและได้มาตรฐาน ทางวิชาการวิชาชีพระดับสากล <br> 5. พึงเป็นกัลยาณมิตรของผู้ร่วมงาน ร่วมมือ สนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน เปิดโอกาสให้แก่กันและกัน และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ <br> 6. พึงพัฒนาสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างบุคคลและสถาบัน และธำรงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติภูมิของสถาบัน <br> 7. ไม่พึงใช้ตำแหน่งหน้าที่ ชื่อสถาบันและทรัพยากรของสถาบันเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือหมู่คณะโดยมิชอบ <br> 8. พึงยืนหยัดในหลักการแห่งเสรีภาพทางปัญญา เคารพและปฏิบัติตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และธำรงไว้ซึ่ง เสรีภาพของห้องสมุดและเกียรติภูมิของวิชาชีพ <br> 9. พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคม อุทิศตนเพื่อประโยชน์และความมั่นคงของสังคม และมีบทบาทในการพัฒนาสังคมไทย สู่สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประชาชนและประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library | ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library administration | การบริหารงานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library administrator | ผู้บริหารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library automation | ห้องสมุดอัตโนมัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library building | อาคารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library edition | ฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library employee | บุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library hour | เวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library instruction service | บริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library material | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library patron | ผู้ใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library personnel | เจ้าหน้าที่ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library science | บรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library stamp | ตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library's page | หน้าลับเฉพาะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Military library | ห้องสมุดทหาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | National library | หอสมุดแห่งชาติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| cribriform | [ไค ไบ ฟอม] (n) ร่างแห | Cystic fibrosis | โรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อต่อมขับออก(ภายนอก) มันทําให้เกิดการผลิตของเมือกหนาผิดปกติ, นําไปสู่การอุดตันของท่อตับอ่อน, ลําไส้, และหลอดลมและมักจะส่งผลให้ติดเชื้อทางเดินหายใจ. | defibrillator | (n) เครื่องกระตุ้นหัวใจ | Fibromyalgia | ความผิดปกติเรื้อรังที่แพร่กระจายด้วยความเจ็บปวดที่และมีความแข็งกดเจ็บบริเวณของกล้ามเนื้อและโครงสร้างเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องซึ่งมักจะเกิดขึ้นพร้อมกับความเมื่อยล้าปวดศีรษะและการรบกวนในเวลานอน | interlibrary loan | ระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด | Library and information science (LIS) | (n) บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ | Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในเขตที่ตั้งรัฐบาลวอชิงตัน ดี.ซี. | recalibrate | [riːˈkæl.ɪ.breɪt] (vt) เปลี่ยนการกระทำ, เปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับบางสิ่ง |
| | บัตรรายการ | (n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด | ห้องสมุดประชาชน | (n) public library, Example: กรุงเทพมหานครให้งบประมาณสร้างห้องสมุดประชาชนขึ้นทั่วกรุงเทพ 20 แห่ง, Thai Definition: ห้องสมุดสำหรับประชาชน | คลังสมอง | (n) knowledge source, See also: library, Syn. ห้องสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นคลังสมองที่รวบรวมความรู้ในทุกสาขาวิชา, Count Unit: แห่ง, ที่ | ผู้ใช้บริการห้องสมุด | (n) library user | บัตรห้องสมุด | (n) library ticket, See also: borrower's ticket | สายใยแก้วนำแสง | (n) fibre-optic, Syn. ใยแก้วนำแสง, Example: สายใยแก้วนำแสงขององค์การโทรศัพท์เกิดปัญหา ทำให้การเชื่อมต่อเครือข่าย UniNet ของมหาวิทยาลัยหลายๆ แห่งใช้งานไม่ได้, Count Unit: สาย, เส้น, Thai Definition: สื่อนำข้อมูลอย่างหนึ่งที่ทำจากพลาสติกหรือใยแก้วซึ่งใช้ส่งข้อมูลปริมาณมากๆ ด้วยความเร็วสูงมาก | เส้นใยอาหาร | (n) dietary fibre, Syn. ใยอาหาร, Example: ในทางเคมีพบว่า เส้นใยอาหารจัดเป็นสารอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตชนิดหนึ่งที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อน, Thai Definition: เส้นใยจากผลไม้ ผักและอาหารจากธัญพืช | เส้นใยอาหาร | (n) dietary fibre, Thai Definition: เส้นใยที่ทำจากผลไม้ ผักและอาหารจากธัญพืช | สมดุล | (v) equilibrium, Syn. เท่าเทียม, เสมอภาค, เท่ากัน | สมดุลย์ | (v) equilibrium, Syn. เท่าเทียม, เสมอภาค, เท่ากัน | สมดุลยภาพ | (n) equilibrium, Syn. ความเท่าเทียมกัน, ความเสมอภาค, ดุลยภาพ, ความสมดุล | สะเทือน | (v) shake, See also: quake, vibrate, Syn. กระเทือน, สั่นสะเทือน | สั่นสะเทือน | (v) quake, See also: shake, vibrate, Syn. สะเทือน, สั่น, ไหว | ไฟเบอร์ | (n) fiber, See also: fibre, Syn. เส้นใย, Example: ในอาหารประจำวันควรมีอาหารที่มีกากหรือไฟเบอร์สูง เพื่อช่วยในการขับถ่าย ทำให้ลำไส้ใหญ่เคลื่อนไหวมากขึ้น, Notes: (อังกฤษ) | เยื่อ | (n) tissue, See also: thin skin, film, membrane, pellicle, fibre, Thai Definition: สิ่งที่เป็นแผ่นบางอยู่ตามผิวหรือภายในของสิ่งต่างๆ | หอสมุด | (n) library, Example: การจัดสรรงบประมาณให้หอสมุดได้ซื้อหนังสือ จำต้องได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษในแต่ละปี, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้ | สมดุล | (n) balance, See also: equilibrium, equivalence, evenness, Example: การมุ่งแต่เศรษฐกิจอย่างเดียวโดดๆ ทำให้เกิดการเสียสมดุล | สะเทือน | (v) shake, See also: vibrate, bump, quake, rock, tremble, shiver, Syn. สั่นสะเทือน, Example: รถวิ่งช้าไม่ได้ ขืนวิ่งช้ารถจะสะเทือนจนนั่งไม่ได้, Thai Definition: อาการที่สั่นชนิดหนึ่งของวัตถุใดอันมีลักษณะสั่นถี่เป็นจังหวะเพราะถูกกระทบกระทั่ง, อาการสั่นเช่นนั้น สั่นหรือเลื่อนแล่นมากระทบกระทั่งกับสิ่งอื่นๆ ทำให้สิ่งนั้นๆ สั่นตามไปด้วย | สั่นระรัว | (v) vibrate, See also: shake, judder, quiver, tremble, Example: เสียงคำรามของมันหวีดหวิวจนแผ่นกระจกสั่นระรัว | ไหว | (v) vibrate, See also: shake, Syn. สั่น, สะเทือน, กระดิก, Example: พอมีเสียงระเบิดขึ้นเรือนก็ไหวไปทั้งหลัง | เขย่า | (v) shake, See also: rock, vibrate, Example: คุณหมอสั่งให้เขย่าขวดก่อนรินยา เพราะตะกอนยาจะตกอยู่ที่ก้นขวด, Thai Definition: อาการที่จับสิ่งใดสิ่งหนึ่งสั่นหรือยกขึ้นยกลงเร็วๆ เพื่อให้สิ่งนั้นกระเทือนหรือเคลื่อนไหว | ความสะเทือน | (n) vibration, See also: shaking, trembling, Syn. การสั่นไหว, Example: น้ำดีจะทำให้ความตึงผิวของไขมันลดลงเมื่อได้รับความสะเทือนไขมันจะแตกตัวเป็นชิ้นเล็กๆ, Thai Definition: ลักษณะอาการสั่นที่เป็นจังหวะเพราะถูกกระทบกระทั่ง | สั่นเครือ | (v) tremble, See also: quiver, shake, quaver, vibrate, Syn. สั่น, เครือ, Example: น้ำเสียงแกสั่นเครือขณะบีบมือตัวเองไว้แน่น, Thai Definition: ลักษณะของเสียงที่สั่นพร่าไม่แจ่มใส เรียกว่า เสียงเครือ | เครือ | (adj) trembling, See also: shaky, quaverous, quivery, vibratory, Example: เขาพูดด้วยเสียงเครือ เมื่อฟังแล้วรู้สึกสงสาร | เครือ | (v) tremble, See also: quiver, shake, quaver, vibrate, Syn. สั่น, สั่นเครือ, Example: เสียงของผู้เล่าเครือไปเล็กน้อยเมื่อพูดถึงตอนที่สะเทือนใจ, Thai Definition: ลักษณะของเสียงที่สั่นพร่าไม่แจ่มใส เรียกว่า เสียงเครือ | โงกเงก | (v) sway, See also: swing, lean, vibrate, Syn. โยกเยก, คลอนแคลน, โยกโคลง, เอนไปเอนมา, Ant. มั่นคง, แข็งแรง, Example: อย่าไปเหยียบกิ่งไม้นั้นนะ มันโงกเงกเต็มทีแล้ว | ปอ | (n) jute, See also: kenaf, fibre crops, Example: ชาวนาที่อยู่ทั้งภาคกลางและภาคอีสานเริ่มปลูกปอและมันสำปะหลัง เนื่องจากได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากทั้งรัฐบาลและเอกชน, Thai Definition: ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดที่เปลือกใช้ทำปอ | เผยิบ | (v) flap, See also: flutter, vibrate, wave, Syn. พะเยิบ, Ant. นิ่ง, Example: หลังคาเต้นท์เผยิบขึ้นลงเพราะถูกลมพัด, Thai Definition: อาการที่ของแบนบางๆ กระพือขึ้นกระพือลง | ฝอย | (n) fibre, See also: filament, Example: เม็ดฝนที่หล่นกระทบกับพื้นก็สาดกระเซ็นเป็นฝอยสีขาวกระจายไปทั่ว, Thai Definition: สิ่งที่เป็นเส้นเล็กๆ ละเอียด หรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น | ฟะฟั่น | (adj) shaking, See also: vibrating, Syn. สั่น, Thai Definition: ที่สั่นสะเทือน, ที่มีอาการไหวถี่ๆ | ตัวสั่น | (v) tremble, See also: shake, quiver, shiver, shudder, shiver, vibrate, Example: นักโทษตัวสั่นด้วยความกลัว ขณะรอผลการพิจารณาคดีของศาล, Thai Definition: อาการที่ตัวสั่นไหวถี่ๆ ด้วยความหวาดกลัว | ตัวสั่น | (v) tremble, See also: shake, quiver, shiver, shudder, shiver, vibrate, Example: นักโทษตัวสั่นด้วยความกลัว ขณะรอผลการพิจารณาคดีของศาล, Thai Definition: อาการที่ตัวสั่นไหวถี่ๆ ด้วยความหวาดกลัว | ตุล | (n) Libra, See also: seventh sign of the zodiac represented by a pair of scales, Syn. ราศีตุล, ราศีตุลย์, Example: ชาวราศีธนูกับชาวราศีกุมภ์ หรือราศีตุลย์นั้นก็ดี ต่างเป็นเพื่อนที่ดีต่างเป็นผู้นำโชคลาภมาสู่ครอบครัว, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศีหนึ่งในจักรราศี | ถ่วงดุล | (v) balance, See also: offset, scale, take an equilibrium, Example: จอมพลป.พิบูลสงครามได้ก่อตั้งสหบาลกรรมกรไทยขึ้น เพื่อถ่วงดุลอำนาจของสหอาชีวะกรรมกรแห่งประเทศไทย, Thai Definition: ทำให้หนักเท่ากัน | รากฝอย | (n) rootlet, See also: fibrous root, Example: เขารัดรากฝอยของต้นไม้ ก่อนย้ายไปปลูกในกระถางใหม่, Thai Definition: รากที่เป็นเส้นเล็กๆ แตกออกจากรากแก้ว | ชะนุง | (n) pair of sticks for holding spon fibre, Thai Definition: ไม้คู่สำหรับขึงเข็ดด้ายให้ตึง เพื่อใช้แปรงหวี | เชือกกล้วย | (n) string made of banana tree, See also: banana tree fibre, Syn. ปอกล้วย, Example: สมัยก่อนคนไทยใช้เชือกกล้วยผูกของ, Count Unit: เส้น, Thai Definition: เชือกที่ทำด้วยกาบกล้วย ฉีกเป็นเส้นตากแดดให้แห้ง | ซัง | (n) fibre, See also: fiber, stringy pulp of the jackfruit, Syn. ซังขนุน, Example: การแกะขนุนออกจากซังอาจเป็นเรื่องยุ่งยากสำหรับบางคนที่ไม่คุ้นเคย, Thai Definition: สิ่งที่เป็นเส้นๆ หุ้มยวงขนุน | กระเทือน | (v) shake, See also: vibrate, tremble, shiver, bump, quake, rock, Syn. สะเทือน, Example: พอมีรถบรรทุกวิ่งผ่าน บ้านก็กระเทือนทันที, Thai Definition: มีอาการเหมือนไหวหรือสั่นเพราะถูกกระทบ | กระหึม | (v) reverberate, See also: echo, re-echo, resound, vibrate, Syn. กระหึ่ม, Ant. ค่อย, เบา, Example: เครื่องบินทิ้งระเบิดกระหึมไปทั่ว, Thai Definition: เสียงดังหึ่มอย่างน่ากลัว | กระดาษข่อย | (n) paper made from the fibres of streblus asper, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: กระดาษที่ทำจากเปลือกข่อย | กระเส่า | (v) shiver, See also: quiver, tremulous, tremble, quaver, vibrate, Syn. สั่นเครือ, Example: เสียงของเขากระเส่าด้วยความกลัว | การสั่น | (n) shake, See also: tremble, quiver, quake, shudder, vibration, shiver, Syn. การเขย่า, การกระตุก, Thai Definition: การไหวถี่ๆ, การทำให้ไหวถี่ๆ | กาบกล้วย | (n) leaf sheaf of banana tree, See also: fibrous layer on the trunk of the banana tree, Example: การทำเชือกนั้นต้องกรีดกาบกล้วยให้เป็นเส้นก่อน, Count Unit: กาบ | ขนาด | (n) size, See also: magnitude, dimension, proportion, measure, calibre, Syn. สัดส่วน, Example: การออกแบบวงจรไฟฟ้าขนาดจิ๋ว ช่วยประหยัดต้นทุนได้มาก, Thai Definition: ลักษณะของรูปที่กำหนดสังเกตได้ว่าใหญ่ เล็ก สั้น ยาว หนัก หรือ เบา เท่านั้นเท่านี้ เช่น ขนาดใหญ่ ขนาดยาว ขนาด 2 X 1 เมตร | ดุล | (n) libra, See also: the seventh sign of zodiac, Syn. ราศีตุล | ดุล | (n) balance, See also: equilibrium, Syn. ความเท่ากัน, ความเสมอกัน, ความทัดเทียมกัน | ดุลภาค | (n) equity, See also: equality, state of balance, equilibrium, Syn. ความเท่าเทียม, ความเสมอกัน, ความสมดุล, ความเสมอภาค | ราศีตุล | (n) Libra, Syn. ราศีดุล, Example: สีชมพูเป็นสีแห่งโชคลาภของผู้ที่เกิดราศีตุล, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศี 1 ในจักรราศี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ห้องสมุด | (n) library, Syn. หอสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง |
| อำเภอใจ | [amphoējai] (adv) EN: at will ; as one pleases ; as one likes ; one's own way FR: selon son gôut ; libre arbitre [ m ] | บรรณารักษ์ | [bannārak] (n) EN: librarian FR: bibliothécaire [ m, f ] | บัตรห้องสมุด | [bat hǿngsamut] (n, exp) EN: library ticket ; borrower's ticket FR: carte de lecteur [ m ] | บทเรศ | [botharēt] (n) EN: words of a song ; libretto FR: paroles de chanson [ fpl ] ; livret [ m ] | บุ๊คเซ็นเตอร์ | [buk-sentoē] (n) EN: book center FR: librairie | ฉบับห้องสมุด | [chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | ฉบับประจำห้องสมุด | [chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | เชือกกล้วย | [cheūak-klūay] (n, exp) EN: string made of banana tree ; banana tree fibre FR: corde en fibre de bananier [ f ] | ดุล | [dun] (n) EN: balance ; equilibrium FR: balance (comptable) [ f ] ; équilibre [ m ] | ดุล | [dun] (v) EN: balance FR: s'équilibrer | ดุลภาค | [dunlaphāk] (n) EN: equilibrium ; balance ; state of balance ; equality | ดุลยภาพ | [dunlayaphāp] (n) EN: equilibrium ; balance ; equality FR: équilibre [ m ] | เอ็น | [en] (n) EN: ligament ; tendon ; gut ; sinew FR: ligament [ m ] ; tendon [ m ] ; nerf [ m ] ; fibres conjonctives [ fpl ] | ไฟเบอร์ | [faiboē] (n) EN: fibre ; fiber (Am.) FR: fibre [ f ] | ฝอย | [føi] (n) EN: fibre ; filament ; trimmings ; spray ; fuzz ; droplets ; fluff ; puff FR: particule [ f ] ; gouttelette [ f ] | ห้องสมุด | [hǿngsamut] (n) EN: library ; study FR: bibliothèque [ f ] | ห้องสมุดเคลื่อนที่ | [hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ] | ห้องสมุดเสมือนจริง | [hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library FR: bibliothèque virtuelle [ f ] | ห้องว่าง | [hǿng wāng] (n, exp) EN: vacant room FR: chambre libre [ f ] ; chambre vacante [ f ] | หอพระสมุด แห่งชาติ | [Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok) FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ] | หอสมุด | [høsamut] (n) EN: library FR: bibliothèque [ f ] | หอสมุดแห่งชาติ | [høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library FR: bibliothèque nationale [ f ] | อิสระ | [itsara] (adj) EN: independent ; free ; liberal FR: indépendant ; libre | เจตจำนงเสรี | [jētjamnong sērī] (n, exp) EN: free will FR: libre arbitre [ m ] | การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ | [kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification FR: classification des ouvrages [ f ] | การค้าเสรี | [kānkhā sērī] (n, exp) EN: free trade FR: libre-échange [ m ] | การขาดดุลภาพ | [kān khātdun phāp] (n, exp) EN: disequilibrium | การลาหยุดพัก | [kān lā yut phak] (x) EN: vacation FR: temps libre [ m ] ; vacances [ fpl ] | การสั่น | [kān san] (n) EN: shake ; tremble ; quiver ; quake ; shudder ; vibration ; shiver FR: tremblement [ m ] ; vibration [ f ] ; frémissement [ m ] | กะทัดรัด | [kathatrat] (adj) EN: compact ; wellproportioned ; concise ; terse ; fitting ; suitable FR: proportionné ; équilibré ; concis | คาร์บอนไฟเบอร์ | [khābøn faiboē] (n, exp) EN: carbon fibre FR: fibre de carbone [ f ] | ขนาด | [khanāt] (n) EN: size ; dimension ; magnitude ; proportion ; measurement ; caliber ; type ; standard ; specification ; mode ; norm ; yardstick ; capacity ; format FR: taille [ f ] ; dimension [ f ] ; format [ m ] ; magnitude [ f ] ; mesures [ fpl ] ; calibre [ m ] | เขตการค้าเสรี | [khēt kānkhā sērī] (n, exp) EN: foreign trade zone ; free trade zone ; free trade area ; free zone FR: zone de libre-échange [ f ] | คลอน | [khløn] (v) EN: shake ; move ; shake from side to side ; stagger ; be unsteady ; vibrate FR: vaciller ; branler | เครือ | [khreūa] (v) EN: tremble ; quiver ; shake ; quaver ; vibrate | ความบ้า | [khwām bā] (n) EN: insanity ; madness ; craziness ; mania ; delirium ; mental disorder ; mental illness ; lunacy FR: folie [ f ] ; démence [ f ] ; aliénation [ f ] ; délire [ m ] ; déséquilibre mental [ m ] ; déglingue [ f ] (fam.) | ความสมดุลเชิงมุม | [khwām somdun choēngmum] (n, exp) EN: angular equilibrium | กลางแจ้ง | [klāngjaēng] (adj) EN: outdoor ; open-air ; in the open air ; outside ; alfresco FR: en plein air ; à l'extérieur ; à ciel ouvert ; à l'air libre | กลอนสด | [kløn sot] (n, exp) EN: vers libre FR: vers libres [ mpl ] | กระจกไฟเบอร์ | [krajok faiboē] (n, exp) EN: fibre optics FR: fibre de verre [ f ] ; fibre optique [ f ] | กระเทือน | [kratheūoen] (v) EN: shake ; affect ; vibrate ; tremble ; shock ; convulse ; shiver ; bump ; quake ; rock FR: secouer ; affecter ; ébranler | ลีเบรอวิล | [Lībroēwin] (n, prop) EN: Libreville FR: Libreville | ลอยตัว | [løitūa] (v) EN: have no obligation ; be free FR: être libre | ลอยตัว | [løitūa] (adj) EN: free at last ; floating FR: libre | หลุดพ้น | [lutphon] (v) EN: get free from ; become free FR: être libre de ; être libéré de ; s'émanciper ; réchapper ; s'en tirer | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | [Mahāwitthayālai Sukhōthai Thammāthirāt] (org) EN: Sukhothai Thammathirat Open University FR: université libre Sukhothai Thammathirat [ f ] | ไม่ว่าง | [mai wāng] (adj) EN: busy ; engaged ; not free ; occupied ; in use FR: occupé ; indisponible ; pas libre | มีเวลาว่าง | [mī wēlā wāng] (v, exp) EN: have free time ; be free FR: avoir du temps libre ; disposer de temps libre | มวยปล้ำ | [mūayplam] (n) EN: wrestling FR: lutte (libre) [ f ] ; catch [ m ] | โงกเงก | [ngōk-ngēk] (v) EN: sway ; swing ; lean ; vibrate FR: dodeliner |
| | | acid-base equilibrium | (n) (physiology) the normal equilibrium between acids and alkalis in the body, Syn. acid-base balance | afibrinogenemia | (n) the absence of fibrinogen in the plasma leading to prolonged bleeding | amphibrach | (n) a metrical unit with unstressed-stressed-unstressed syllables (e.g., `remember') | atrial fibrillation | (n) fibrillation of the muscles of the atria of the heart | bachelor of arts in library science | (n) a bachelor's degree in library science, Syn. ABLS | calibrate | (v) make fine adjustments or divide into marked intervals for optimal measuring, Syn. fine-tune, graduate | calibrate | (v) mark (the scale of a measuring instrument) so that it can be read in the desired units | calibrate | (v) measure the caliber of | calibration | (n) the act of checking or adjusting (by comparison with a standard) the accuracy of a measuring instrument, Syn. standardisation, standardization | chemical equilibrium | (n) a chemical reaction and its reverse proceed at equal rates, Syn. equilibrium | clofibrate | (n) a drug (trade name Atromid-S) that reduces lipids in the blood serum; used to treat some cardiovascular diseases, Syn. Atromid-S | congenital afibrinogenemia | (n) a rare congenital disorder of blood coagulation in which no fibrinogen is found in the blood plasma | cystic fibrosis | (n) the most common congenital disease; the child's lungs and intestines and pancreas become clogged with thick mucus; caused by defect in a single gene; no cure is known, Syn. mucoviscidosis, fibrocystic disease of the pancreas, pancreatic fibrosis, CF | cystic fibrosis transport regulator | (n) the gene that is mutated in cystic fibrosis, Syn. CFTR | defibrillate | (v) stop the fibrillation and restore normal contractions, usually by means of electric shocks | defibrillation | (n) treatment by stopping fibrillation of heart muscles (usually by electric shock delivered by a defibrillator) | defibrillator | (n) an electronic device that administers an electric shock of preset voltage to the heart through the chest wall in an attempt to restore the normal rhythm of the heart during ventricular fibrillation | defibrinate | (v) remove fibrin from (blood) | dibranchiata | (n) comprising all living cephalopods except the family Nautilidae: the orders Octopoda (octopuses) and Decapoda (squids and cuttlefish), Syn. Dibranchia, subclass Dibranchia, subclass Dibranchiata | dibranchiate | (n) cephalopods having two gills, Syn. dibranch, dibranchiate mollusk | disequilibrium | (n) loss of equilibrium attributable to an unstable situation in which some forces outweigh others, Ant. equilibrium | equilibrate | (v) bring to a chemical stasis or equilibrium | equilibration | (n) stabilization by bringing into equilibrium | equilibrium | (n) a stable situation in which forces cancel one another, Ant. disequilibrium | equilibrium | (n) a sensory system located in structures of the inner ear that registers the orientation of the head, Syn. sense of balance, sense of equilibrium, labyrinthine sense, vestibular sense | equilibrium constant | (n) (chemistry) the ratio of concentrations when equilibrium is reached in a reversible reaction (when the rate of the forward reaction equals the rate of the reverse reaction) | equilibrium law | (n) (chemistry) the principle that (at chemical equilibrium) in a reversible reaction the ratio of the rate of the forward reaction to the rate of the reverse reaction is a constant for that reaction, Syn. law of chemical equilibrium | fibril | (n) a very slender natural or synthetic fiber, Syn. filament, strand | fibrillate | (v) make fine, irregular, rapid twitching movements | fibrillation | (n) muscular twitching involving individual muscle fibers acting without coordination | fibrillation | (n) act or process of forming fibrils | fibrillose | (adj) covered with fibrils more or less evenly disposed | fibrin | (n) a white insoluble fibrous protein formed by the action of thrombin on fibrinogen when blood clots; it forms a network that traps red cells and platelets | fibrinase | (n) in the clotting of blood thrombin catalyzes factor XIII into its active form (fibrinase) which causes fibrin to form a stable clot, Syn. factor XIII | fibrinogen | (n) a protein present in blood plasma; converts to fibrin when blood clots, Syn. factor I | fibrinolysis | (n) a normal ongoing process that dissolves fibrin and results in the removal of small blood clots | fibrinopeptide | (n) peptide released from the amino end of fibrinogen by the action of thrombin to form fibrin during clotting of the blood | fibrinous | (adj) characterized by the presence of fibrin | fibroadenoma | (n) benign and movable and firm and not tender tumor of the breast; common in young women and caused by high levels of estrogen | fibroblast | (n) a cell from which connective tissue develops | fibrocalcific | (adj) involving or resulting from calcification of fibrous tissue | fibrocartilage | (n) cartilage that is largely composed of fibers like those in ordinary connective tissue | fibrocartilaginous | (adj) of or relating to fibrocartilage | fibrocystic breast disease | (n) the presence of one or more cysts in a breast, Syn. cystic breast disease, cystic mastitis, fibrocystic disease of the breast | fibroid tumor | (n) benign tumor containing fibrous tissue (especially in the uterus), Syn. fibroid | fibroma | (n) nonmalignant tumor of connective tissue | fibromyositis | (n) local inflammation of muscle and connective tissue | fibrosis | (n) development of excess fibrous connective tissue in an organ | fibrositis | (n) inflammation of white fibrous tissues (especially muscle sheaths) | fibrosity | (n) the quality of being fibrous, Syn. fibrousness |
| Amphibrach | n. [ L. &unr_;, Gr. &unr_; short at both ends; 'amfi` + brachy`s short. ] (Anc. Pros.) A foot of three syllables, the middle one long, the first and last short (˘ -- ˘); as, hăbēr&ebreve_;. In modern prosody the accented syllable takes the place of the long and the unaccented of the short; as, pro-phet&bprime_;ic. [ 1913 Webster ] | Antibrachial | a. (Anat.) Of or pertaining to the antibrachium, or forearm. [ 1913 Webster ] | Antibrachium | ‖n. [ NL. ] (Anat.) That part of the fore limb between the brachium and the carpus; the forearm. [ 1913 Webster ] | Antibromic | n. [ Pref. anti- + Gr. &unr_; a stink. ] An agent that destroys offensive smells; a deodorizer. [ 1913 Webster ] | Antilibration | n. A balancing; equipoise. [ R. ] De Quincey. [ 1913 Webster ] | Bibracteate | a. [ Pref. bi- + bracteate. ] (Bot.) Furnished with, or having, two bracts. [ 1913 Webster ] | Caducibranchiate | a. [ L. caducus falling (fr. cadere to fall) + E. branchiate. ] (Zool.) With temporary gills: -- applied to those Amphibia in which the gills do not remain in adult life. [ 1913 Webster ] | Calibrate | v. i. To ascertain the caliber of, as of a thermometer tube; also, more generally, to determine or rectify the graduation of, as of the various standards or graduated instruments. [ 1913 Webster ] | Calibration | n. The process of estimating the caliber a tube, as of a thermometer tube, in order to graduate it to a scale of degrees; also, more generally, the determination of the true value of the spaces in any graduated instrument. [ 1913 Webster ] | Calibre | { } n. [ F. calibre, perh. fr. L. qualibra of what pound, of what weight; hence, of what size, applied first to a ball or bullet; cf. also Ar. qālib model, mold. Cf. Calipers, Calivere. ] [ 1913 Webster ] 1. (Gunnery) The diameter of the bore, as a cannon or other firearm, or of any tube; or the weight or size of the projectile which a firearm will carry; as, an 8 inch gun, a 12-pounder, a 44 caliber. [ 1913 Webster ] The caliber of empty tubes. Reid. [ 1913 Webster ] A battery composed of three guns of small caliber. Prescott. [ 1913 Webster ] ☞ The caliber of firearms is expressed in various ways. Cannon are often designated by the weight of a solid spherical shot that will fit the bore; as, a 12-pounder; pieces of ordnance that project shell or hollow shot are designated by the diameter of their bore; as, a 12 inch mortar or a 14 inch shell gun; small arms are designated by hundredths of an inch expressed decimally; as, a rifle of .44 inch caliber. [ 1913 Webster ] 2. The diameter of round or cylindrical body, as of a bullet or column. [ 1913 Webster ] 3. Fig.: Capacity or compass of mind. Burke. [ 1913 Webster ] Caliber compasses. See Calipers. -- Caliber rule, a gunner's calipers, an instrument having two scales arranged to determine a ball's weight from its diameter, and conversely. -- A ship's caliber, the weight of her armament. [ 1913 Webster ] Variants: Caliber | Capitibranchiata | ‖n. pl. [ NL., from L. caput, capitis, head + -branchiae gills. ] (Zool.) A division of annelids in which the gills arise from or near the head. See Tubicola. [ 1913 Webster ] | Cribrate | a. [ L. cribratus, p. p. of cribrare to sift, fr. cribrum a sieve. ] Cribriform. [ 1913 Webster ] | Cribration | n. [ Cf. F. cribration, fr. L. cribrare to sift. See Cribble, n. ] (Pharmacy) The act or process of separating the finer parts of drugs from the coarser by sifting. [ 1913 Webster ] | Cribriform | a. [ L. cribrum sieve + -form: cf. F. cribriforme. ] Resembling, or having the form of, a sieve; pierced with holes; as, the cribriform plate of the ethmoid bone; a cribriform compress. [ 1913 Webster ] Cribriform cells (Bot.), those which have here and there oblique or transverse sieve plates, or places perforated with many holes. [ 1913 Webster ]
| Cribrose | a. [ L. cribrum sieve. ] Perforated like a sieve; cribriform. [ 1913 Webster ] | Defibrinate | v. t. To deprive of fibrin, as fresh blood or lymph by stirring with twigs. [ 1913 Webster ] | Defibrination | n. The act or process of depriving of fibrin. [ 1913 Webster ] | Defibrinize | v. t. To defibrinate. [ 1913 Webster ] | Delibrate | v. t. [ imp. & p. p. Delibrated; p. pr. & vb. n. Delibrating. ] [ L. delibratus, p. p. of delibrare to delibrate; de from + liber bark. ] To strip off the bark; to peel. [ Obs. ] Ash. [ 1913 Webster ] | Delibration | n. The act of stripping off the bark. [ Obs. ] Ash. [ 1913 Webster ] | Demibrigade | n. [ Cf. F. demi- brigade. ] A half brigade. [ 1913 Webster ] | dibrach | n. (Prosody) a foot of two short (unstressed-unstressed) syllables. Syn. -- pyrrhic. [ WordNet 1.5 ] | dibranch | n. a cephalopod having two gills; a member of the Dibranchiata. Syn. -- dibranchiate, dibranchiate mollusk. [ WordNet 1.5 +PJC ] | Dibranchia | n. 1. comprising all living cephalopods except the family Nautilidae: the orders Octopoda (octopuses) and Decapoda (squids and cuttlefish). Syn. -- Dibranchiata, subclass ta, Dibranchia, subclass Dibranchia. [ WordNet 1.5 ] | Dibranchiata | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. di- = di`s- twice + &unr_; gills. ] (Zool.) An order of cephalopods which includes those with two gills, an apparatus for emitting an inky fluid, and either eight or ten cephalic arms bearing suckers or hooks, as the octopi and squids. See Cephalopoda. [ 1913 Webster ] | Dibranchiate | a. (Zool.) Having two gills. -- n. One of the Dibranchiata. [ 1913 Webster ] | dorsibranchiata | ‖n. pl. [ NL., from L. dorsum back + branchiae gills. ] (Zool.) A division of chætopod annelids in which the branchiæ are along the back, on each side, or on the parapodia. [ See Illusts. under Annelida and Chætopoda. ] [ 1913 Webster ] | Dorsibranchiate | a. (Zool.) Having branchiæ along the back; belonging to the Dorsibranchiata. -- n. One of the Dorsibranchiata. [ 1913 Webster ] | Epibranchial | a. [ Pref. epi- + branchial. ] (Anat.) Pertaining to the segment between the ceratobranchial and pharyngobranchial in a branchial arch. -- n. An epibranchial cartilage or bone. [ 1913 Webster ] | Equilibrate | v. t. [ imp. & p. p. Equilibrated p. pr. & vb. n. Equilibrating ] [ L. aequilibratus in equilibrium; aequus equal + libra balance. See Equilibrium. ] To balance two scales, sides, or ends; to keep even with equal weight on each side; to keep in equipoise. H. Spenser. [ 1913 Webster ] | Equilibration | n. 1. Act of keeping a balance, or state of being balanced; equipoise. [ 1913 Webster ] In . . . running, leaping, and dancing, nature's laws of equilibration are observed. J. Denham. [ 1913 Webster ] 2. (Biol.) The process by which animal and vegetable organisms preserve a physiological balance. H. Spenser. [ 1913 Webster ] | Equilibrious | a. Evenly poised; balanced. Dr. H. More. -- E`qui*lib"ri*ous*ly, adv. [1913 Webster] | Equilibrist | n. One who balances himself in unnatural positions and hazardous movements; a balancer. [ 1913 Webster ] When the equilibrist balances a rod upon his finger. Stewart. [ 1913 Webster ] | Equilibrity | n. [ L. aequilibritas equal distribution. See Equilibrium. ] The state of being balanced; equality of weight. [ R. ] J. Gregory. [ 1913 Webster ] | Equilibrium | n.; pl. E. Equilibriums L. Equilibria [ L. aequilibrium, fr. aequilibris in equilibrium, level; aequus equal + libra balance. See Equal, and Librate. ] 1. Equality of weight or force; an equipoise or a state of rest produced by the mutual counteraction of two or more forces. [ 1913 Webster ] 2. A level position; a just poise or balance in respect to an object, so that it remains firm; equipoise; as, to preserve the equilibrium of the body. [ 1913 Webster ] Health consists in the equilibrium between those two powers. Arbuthnot. [ 1913 Webster ] 3. A balancing of the mind between motives or reasons, with consequent indecision and doubt. [ 1913 Webster ] Equilibrium valve (Steam Engine), a balanced valve. See under Valve. [ 1913 Webster ]
| Evibrate | v. t. & i. [ L. evibrare. See Vibrate. ] To vibrate. [ Obs. ] Cockeram. [ 1913 Webster ] | Ex libris | ‖ [ L. ex from + libris books. ] An inscription, label, or the like, in a book indicating its ownership; esp., a bookplate. [ Webster 1913 Suppl. ] | Fibre | { }, n. [ F. fibre, L. fibra. ] 1. One of the delicate, threadlike portions of which the tissues of plants and animals are in part constituted; as, the fiber of flax or of muscle. [ 1913 Webster ] 2. Any fine, slender thread, or threadlike substance; as, a fiber of spun glass; especially, one of the slender rootlets of a plant. [ wns=1 ] [ 1913 Webster ] 3. the inherent complex of attributes that determine a person's moral and ethical actions and reactions; sinew; strength; toughness; as, a man of real fiber. [ wns=2 ] Syn. -- character, fibre. [ 1913 Webster + WordNet 1.5 ] Yet had no fibers in him, nor no force. Chapman. [ 1913 Webster ] 4. A general name for the raw material, such as cotton, flax, hemp, etc., used in textile manufactures. [ 1913 Webster ] 5. (Nutrition) that portion of food composed of carbohydrates which are completely or partly indigestible, such as cellulose or pectin; it may be in an insoluble or a soluble form. It provides bulk to the solid waste and stimulates peristalsis in the intestine. It is found especially in grains, fruits, and vegetables. There is some medical evidence which indicates that diets high in fiber reduce the risk of colon cancer and reduce cholesterol levels in the blood. It is also called dietary fiber, roughage, or bulk. [ PJC ] 6. a leatherlike material made by compressing layers of paper or cloth. [ wns=3 ] Syn. -- fibre, vulcanized fiber. [ WordNet 1.5 ] Fiber gun, a kind of steam gun for converting, wood, straw, etc., into fiber. The material is shut up in the gun with steam, air, or gas at a very high pressure which is afterward relieved suddenly by letting a lid at the muzzle fly open, when the rapid expansion separates the fibers. -- Fiber plants (Bot.), plants capable of yielding fiber useful in the arts, as hemp, flax, ramie, agave, etc. Variants: Fiber | fibre | n. Same as fiber. [ Mostly British usage ] [ WordNet 1.5 ] | fibreboard | n. Same as fiberboard. [ mostly British usage ] [ WordNet 1.5 ] | Fibred | { } a. Having fibers; made up of fibers. Variants: Fibered | Fibre-faced | { } a. Having a visible fiber embodied in the surface of; -- applied esp. to a kind of paper for checks, drafts, etc. Variants: Fiber-faced | fibreglass | n. Same as fiberglass. [ mostly British usage ] [ WordNet 1.5 ] | Fibreless | { }, a. Having no fibers; destitute of fibers or fiber. [ 1913 Webster ] Variants: Fiberless | Fibriform | a. [ L. fibra a fiber + -form. ] (Biol.) Having the form of a fiber or fibers; resembling a fiber. [ 1913 Webster ] | Fibril | n. [ F. fibrille, dim. of fibre, L. fibra. ] A small fiber; the branch of a fiber; a very slender thread; a fibrilla. Cheyne. [ 1913 Webster ] | Fibrilla | ‖n.; pl. fibrillæ [ NL. See Fibril. ] A minute thread or fiber, as one of the fibrous elements of a muscular fiber; a fibril. [ 1913 Webster ] | Fibrillar | a. Of or pertaining to fibrils or fibers; as, fibrillar twitchings. [ 1913 Webster ] | Fibrillary | a. Of of pertaining to fibrils. [ 1913 Webster ] | Fibrillated | a. Furnished with fibrils; fringed. [ 1913 Webster ] |
| 平衡 | [píng héng, ㄆㄧㄥˊ ㄏㄥˊ, 平 衡] balance; equilibrium #2,640 [Add to Longdo] | 震荡 | [zhèn dàng, ㄓㄣˋ ㄉㄤˋ, 震 荡 / 震 蕩] to vibrate; to shake; to shudder #4,078 [Add to Longdo] | 天秤座 | [Tiān chèng zuò, ㄊㄧㄢ ㄔㄥˋ ㄗㄨㄛˋ, 天 秤 座] Libra (constellation and sign of the zodiac) #4,585 [Add to Longdo] | 图书 | [tú shū, ㄊㄨˊ ㄕㄨ, 图 书 / 圖 書] books (in a library or bookstore) #4,677 [Add to Longdo] | 图书馆 | [tú shū guǎn, ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 图 书 馆 / 圖 書 館] library #4,742 [Add to Longdo] | 震撼 | [zhèn hàn, ㄓㄣˋ ㄏㄢˋ, 震 撼] shake; vibrate; shock; rock; fig. mind-blowing #5,445 [Add to Longdo] | 均衡 | [jūn héng, ㄐㄩㄣ ㄏㄥˊ, 均 衡] equal; balanced; harmony; equilibrium #6,683 [Add to Longdo] | 不平衡 | [bù píng héng, ㄅㄨˋ ㄆㄧㄥˊ ㄏㄥˊ, 不 平 衡] disequilibrium #8,777 [Add to Longdo] | 振动 | [zhèn dòng, ㄓㄣˋ ㄉㄨㄥˋ, 振 动 / 振 動] vibration #9,935 [Add to Longdo] | 振荡 | [zhèn dàng, ㄓㄣˋ ㄉㄤˋ, 振 荡 / 振 蕩] vibration; oscillation #10,047 [Add to Longdo] | 颤 | [chàn, ㄔㄢˋ, 颤 / 顫] to tremble; to shiver; to shake; to vibrate; Taiwan pr. zhan4 #10,062 [Add to Longdo] | 麻袋 | [má dài, ㄇㄚˊ ㄉㄞˋ, 麻 袋] burlap (a fibre made of jute) #23,492 [Add to Longdo] | 神经纤维 | [shén jīng xiān wéi, ㄕㄣˊ ㄐㄧㄥ ㄒㄧㄢ ㄨㄟˊ, 神 经 纤 维 / 神 經 纖 維] neurofibril #33,547 [Add to Longdo] | 校准 | [jiào zhǔn, ㄐㄧㄠˋ ㄓㄨㄣˇ, 校 准 / 校 準] calibrate #37,952 [Add to Longdo] | 谐振 | [xié zhèn, ㄒㄧㄝˊ ㄓㄣˋ, 谐 振 / 諧 振] resonance; sympathetic vibration #51,561 [Add to Longdo] | 莒 | [jǔ, ㄐㄩˇ, 莒] (fibrous plant) #54,726 [Add to Longdo] | 均势 | [jūn shì, ㄐㄩㄣ ㄕˋ, 均 势 / 均 勢] equilibrium of forces; balance of power #56,399 [Add to Longdo] | 定标 | [dìng biāo, ㄉㄧㄥˋ ㄅㄧㄠ, 定 标 / 定 標] to calibrate (measure or apparatus); fixed coefficient #60,204 [Add to Longdo] | 浩如烟海 | [hào rú yān hǎi, ㄏㄠˋ ㄖㄨˊ ㄧㄢ ㄏㄞˇ, 浩 如 烟 海 / 浩 如 煙 海] vast as the open sea (成语 saw); fig. extensive (library) #62,818 [Add to Longdo] | 书馆 | [shū guǎn, ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 书 馆 / 書 館] teashop with performance by 評書|评书 story tellers; (attached to name of publishing houses); (in former times) private school; library (of classic texts) #65,429 [Add to Longdo] | 腈纶 | [jīng lún, ㄐㄧㄥ ㄌㄨㄣˊ, 腈 纶 / 腈 綸] acrylic fibre #66,367 [Add to Longdo] | 原纤维 | [yuán xiān wéi, ㄩㄢˊ ㄒㄧㄢ ㄨㄟˊ, 原 纤 维 / 原 纖 維] fibril; protofilament #73,942 [Add to Longdo] | 直布罗陀 | [Zhí bù luó tuó, ㄓˊ ㄅㄨˋ ㄌㄨㄛˊ ㄊㄨㄛˊ, 直 布 罗 陀 / 直 布 羅 陀] Gibraltar #79,668 [Add to Longdo] | 正弦波 | [zhèng xián bō, ㄓㄥˋ ㄒㄧㄢˊ ㄅㄛ, 正 弦 波] sine wave; simple harmonic vibration #80,547 [Add to Longdo] | 平衡态 | [píng héng tài, ㄆㄧㄥˊ ㄏㄥˊ ㄊㄞˋ, 平 衡 态 / 平 衡 態] balance; (state of) equilibrium #85,179 [Add to Longdo] | 借书证 | [jiè shū zhèng, ㄐㄧㄝˋ ㄕㄨ ㄓㄥˋ, 借 书 证 / 借 書 證] library card #85,718 [Add to Longdo] | 亚伯拉罕 | [Yà bó lā hǎn, ㄧㄚˋ ㄅㄛˊ ㄌㄚ ㄏㄢˇ, 亚 伯 拉 罕 / 亞 伯 拉 罕] Abraham (name); Abraham, father of Judaism and Islam in the Bible and Quran; same as Ibrahim 易卜拉辛 #94,344 [Add to Longdo] | 对消 | [duì xiāo, ㄉㄨㄟˋ ㄒㄧㄠ, 对 消 / 對 消] in equilibrium (of opposite forces in phys.); to cancel out #102,734 [Add to Longdo] | 直布罗陀海峡 | [Zhí bù luó tuó Hǎi xiá, ㄓˊ ㄅㄨˋ ㄌㄨㄛˊ ㄊㄨㄛˊ ㄏㄞˇ ㄒㄧㄚˊ, 直 布 罗 陀 海 峡 / 直 布 羅 陀 海 峽] Strait of Gibraltar #104,734 [Add to Longdo] | 续借 | [xù jiè, ㄒㄩˋ ㄐㄧㄝˋ, 续 借 / 續 借] extended borrowing (e.g. library renewal) #113,653 [Add to Longdo] | 利伯维尔 | [lì bó wéi ěr, ㄌㄧˋ ㄅㄛˊ ㄨㄟˊ ㄦˇ, 利 伯 维 尔 / 利 伯 維 爾] Libreville (capital of Gabon) #127,085 [Add to Longdo] | 黄道十二宫 | [huáng dào shí èr gōng, ㄏㄨㄤˊ ㄉㄠˋ ㄕˊ ㄦˋ ㄍㄨㄥ, 黄 道 十 二 宫 / 黃 道 十 二 宮] the twelve equatorial constellations or signs of the zodiac in Western astronomy and astrology, namely Aries 白羊, Taurus 金牛, Gemeni 雙子|双子, Cancer 巨蟹, Leo 狮子, Virgo 室女, Libra 天秤, Scorpio 天蝎, Sagittarius 人馬|人马, Capricorn 摩羯, Aquarius 寶瓶|宝瓶, Pisces 雙魚|双鱼 #137,126 [Add to Longdo] | 特克斯 | [Tè kè sī, ㄊㄜˋ ㄎㄜˋ ㄙ, 特 克 斯] Tekesi river, city and county in Kazakh autonomous prefecture, Xinjiang; loan word tex, unit of fiber density used in textile industry (defined as mass in grams per 1000 m of fibre) #142,287 [Add to Longdo] | 易卜拉辛 | [Yì bǔ lā xīn, ㄧˋ ㄅㄨˇ ㄌㄚ ㄒㄧㄣ, 易 卜 拉 辛] Ibrahim (name); Arabic and Islamic version of Abraham 亞伯拉罕|亚伯拉罕 #148,169 [Add to Longdo] | 砧骨 | [zhēn gǔ, ㄓㄣ ㄍㄨˇ, 砧 骨] incus or anvil bone of middle ear, passing sound vibration from malleus hammer bone to stapes stirrup bone #159,895 [Add to Longdo] | 宬 | [chéng, ㄔㄥˊ, 宬] library stack; storage #207,855 [Add to Longdo] | 甘巴里 | [Gān bā lǐ, ㄍㄢ ㄅㄚ ㄌㄧˇ, 甘 巴 里 / 甘 巴 裡] Professor Ibrahim Gambari (1944-), Nigerian scholar and diplomat, ambassador to UN 1990-1999, UN envoy to Burma from 2007 #234,426 [Add to Longdo] | 不稳平衡 | [bù wěn píng héng, ㄅㄨˋ ㄨㄣˇ ㄆㄧㄥˊ ㄏㄥˊ, 不 稳 平 衡 / 不 穩 平 衡] unstable equilibrium [Add to Longdo] | 伯德雷恩图书馆 | [bó dé léi ēn tú shū guǎn, ㄅㄛˊ ㄉㄜˊ ㄌㄟˊ ㄣ ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 伯 德 雷 恩 图 书 馆 / 伯 德 雷 恩 圖 書 館] Bodleian Library (Oxford) [Add to Longdo] | 低筋面粉 | [dī jīn miàn fěn, ㄉㄧ ㄐㄧㄣ ㄇㄧㄢˋ ㄈㄣˇ, 低 筋 面 粉 / 低 筋 麵 粉] cake flour; low fibre flour [Add to Longdo] | 函式库 | [hán shì kù, ㄏㄢˊ ㄕˋ ㄎㄨˋ, 函 式 库 / 函 式 庫] library (partition on computer hard disk) [Add to Longdo] | 功能集 | [gōng néng jí, ㄍㄨㄥ ㄋㄥˊ ㄐㄧˊ, 功 能 集] function library [Add to Longdo] | 十二宫 | [shí èr gōng, ㄕˊ ㄦˋ ㄍㄨㄥ, 十 二 宫 / 十 二 宮] the twelve equatorial constellations or signs of the zodiac in Western astronomy and astrology, namely Aries 白羊, Taurus 金牛, Gemeni 雙子|双子, Cancer 巨蟹, Leo 狮子, Virgo 室女, Libra 天秤, Scorpio 天蝎, Sagittarius 人馬|人马, Capricorn 摩羯, Aquarius 寶瓶|宝瓶, Pisces 雙魚|双鱼 [Add to Longdo] | 同文馆 | [Tóng wén guǎn, ㄊㄨㄥˊ ㄨㄣˊ ㄍㄨㄢˇ, 同 文 馆 / 同 文 館] the first modern Chinese library established in 1898 by William A.P. Martin 丁韙良|丁韪良, becoming the foundation for Beijing University library [Add to Longdo] | 固定点 | [gù dìng diǎn, ㄍㄨˋ ㄉㄧㄥˋ ㄉㄧㄢˇ, 固 定 点 / 固 定 點] fixed point; calibration point [Add to Longdo] | 国家图书馆 | [guó jiā tú shū guǎn, ㄍㄨㄛˊ ㄐㄧㄚ ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 国 家 图 书 馆 / 國 家 圖 書 館] national library [Add to Longdo] | 图书管理员 | [tú shū guǎn lǐ yuán, ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ ㄌㄧˇ ㄩㄢˊ, 图 书 管 理 员 / 圖 書 管 理 員] librarian [Add to Longdo] | 图书馆员 | [tú shū guǎn yuán, ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ ㄩㄢˊ, 图 书 馆 员 / 圖 書 館 員] librarian [Add to Longdo] | 天枰座 | [Tiān píng zuò, ㄊㄧㄢ ㄆㄧㄥˊ ㄗㄨㄛˋ, 天 枰 座] Libra (constellation and sign of the zodiac); erroneous variant of 天秤座 [Add to Longdo] | 心房颤动 | [xīn fáng chàn dòng, ㄒㄧㄣ ㄈㄤˊ ㄔㄢˋ ㄉㄨㄥˋ, 心 房 颤 动 / 心 房 顫 動] atrial fibrillation [Add to Longdo] |
| kalibrieren | (vt) |kalibierte, hat kalibriert| ปรับเครื่องชั่งหรืออุปกรณ์ให้เที่ยงตรงก่อนนำมาใช้, Syn. eichen | Kalibrierung | (n) |die, pl. Kalibrierungen| วิธีการปรับเครื่องชั่งหรือเครื่องมือให้เที่ยงตรงก่อนนำมาใช้, Syn. die Eichung |
| | | 文庫 | [ぶんこ, bunko] (n) (1) library; book collection; (2) (abbr. of 文庫本) paperback book; (P) #756 [Add to Longdo] | 図書館(P);圕(oK) | [としょかん(P);ずしょかん(図書館)(ok), toshokan (P); zushokan ( toshokan )(ok)] (n) library; (P) #1,098 [Add to Longdo] | 器 | [き, ki] (n) (1) bowl; vessel; container; (2) ability; capacity; calibre; caliber; (P) #1,335 [Add to Longdo] | 平均 | [へいきん(P);へいぎん(ok), heikin (P); heigin (ok)] (n, vs) (1) average; mean; (2) balance; equilibrium; (P) #1,485 [Add to Longdo] | 書房 | [しょぼう, shobou] (n) library; bookstore; bookshop; (P) #1,819 [Add to Longdo] | 歌詞 | [かし, kashi] (n) song lyrics; words of a song; libretto; (P) #2,810 [Add to Longdo] | 叢書;双書;総書 | [そうしょ, sousho] (n) series (of publications); library (of literature) #2,912 [Add to Longdo] | 安定 | [あんてい, antei] (adj-na, n, vs) stability; equilibrium; (P) #2,940 [Add to Longdo] | 筋(P);条 | [すじ, suji] (n) (1) muscle; tendon; sinew; (2) vein; artery; (3) fiber; fibre; string; (4) line; stripe; streak; (5) (See 筋が通る) reason; logic; (6) plot; storyline; (7) lineage; descent; (8) school (e.g. of scholarship or arts); (9) aptitude; talent; (10) source (of information, etc.); circle; channel; (11) well-informed person (in a transaction); (12) logical move (in go, shogi, etc.); (13) ninth vertical line (shogi); (14) seam on a helmet; (15) (abbr) (See 筋蒲鉾) gristly fish paste (made of muscle, tendons, skin, etc.); (16) (arch) social position; status; (n-suf, n, adj-no) (17) on (a river, road, etc.); along; (suf, ctr) (18) counter for long thin things; (19) (arch) (Edo period) counter for hundreds of mon (obsolete unit of currency); (P) #3,255 [Add to Longdo] | 国会図書館 | [こっかいとしょかん, kokkaitoshokan] (n) (See 国立国会図書館) National Diet Library; Library of Congress #3,396 [Add to Longdo] | 開館 | [かいかん, kaikan] (n, vs) (1) opening a hall for that day's business (museum, library, such like buildings); (2) opening of new hall (museum, etc.); (P) #3,941 [Add to Longdo] | 口径 | [こうけい, koukei] (n) aperture; bore; calibre; caliber; (P) #5,967 [Add to Longdo] | 繊維(P);線維 | [せんい, sen'i] (n, adj-no) fibre; fiber; textile; (P) #6,709 [Add to Longdo] | 振動 | [しんどう, shindou] (n, vs) oscillation; vibration; (P) #7,466 [Add to Longdo] | ライブラリー(P);ライブラリ | [raiburari-(P); raiburari] (n) library; (P) #7,944 [Add to Longdo] | 揺れ | [ゆれ, yure] (n) vibration; flickering; jolting; tremor #9,216 [Add to Longdo] | 館長 | [かんちょう, kanchou] (n) superintendent; director; curator; chief librarian; (P) #9,299 [Add to Longdo] | 壮 | [そう, sou] (n, adj-na) (1) vibrancy; strength; bravery; manliness; (2) (esp. of men) one's prime (approx. age 30) #9,928 [Add to Longdo] | 蔵書 | [ぞうしょ, zousho] (n, vs) book collection; library; (P) #10,173 [Add to Longdo] | 台本 | [だいほん, daihon] (n) script; libretto; scenario; (P) #10,653 [Add to Longdo] | 休館 | [きゅうかん, kyuukan] (n, vs, adj-no) closure (of a library, museum, etc.); (P) #12,965 [Add to Longdo] | 均衡 | [きんこう, kinkou] (n, vs) equilibrium; balance; (P) #14,586 [Add to Longdo] | 来館 | [らいかん, raikan] (n, vs) coming to an embassy, theatre, library, etc. #15,066 [Add to Longdo] | 平衡 | [へいこう, heikou] (n, vs) even scale; equilibrium; balance; equalization; equalisation; (P) #15,262 [Add to Longdo] | ジブラルタル | [jiburarutaru] (n) Gibraltar #17,178 [Add to Longdo] | 鮮やか(P);鮮か(io) | [あざやか, azayaka] (adj-na) (1) vivid; bright; brilliant; clear; fresh; vibrant; (2) skillful; skilful; adept; adroit; deft; brilliant; beautiful; fine; excellent; (P) #18,375 [Add to Longdo] | 校正(P);較正 | [こうせい, kousei] (n, vs) (1) (校正 only) proofreading; correction of press; (2) calibration; (P) #18,379 [Add to Longdo] | 入館 | [にゅうかん, nyuukan] (n, vs) entry (e.g. library, school, museum); entering #19,958 [Add to Longdo] | FTTH | [エフティーティーエッチ, efutei-tei-ecchi] (n) (See FTTx) fiber to the home (fibre); FTTH; home fiber optic cable installation [Add to Longdo] | FTTx | [エフティーティーエックス, efutei-tei-ekkusu] (n) fiber to the x (generic term for any network architecture that uses optical fiber) (fibre); FTTx [Add to Longdo] | アーカイブライブラリ | [a-kaiburaiburari] (n) { comp } archive library [Add to Longdo] | アクリル | [akuriru] (n, adj-no) acrylic (esp. acrylic fibre, fiber); (P) [Add to Longdo] | アクリル繊維 | [アクリルせんい, akuriru sen'i] (n) acrylic fiber; acrylic fibre [Add to Longdo] | アセテート繊維 | [アセテートせんい, asete-to sen'i] (n) acetate fiber; acetate fibre [Add to Longdo] | アラミド繊維 | [アラミドせんい, aramido sen'i] (n) aramid fibre; aramid fiber [Add to Longdo] | エクスルブリス;エクスリブリス | [ekusuruburisu ; ekusuriburisu] (n) ex libris (lat [Add to Longdo] | オブジェクトライブラリ | [obujiekutoraiburari] (n) { comp } object library [Add to Longdo] | カーボンファイバー | [ka-bonfaiba-] (n) carbon fiber; carbon fibre [Add to Longdo] | ガラス繊維 | [ガラスせんい, garasu sen'i] (n) glass fiber; glass fibre [Add to Longdo] | キャリブレーション | [kyaribure-shon] (n) calibration [Add to Longdo] | キャリブレート | [kyaribure-to] (n, vs) { comp } calibration [Add to Longdo] | キューバリブレ;キューバリーブレ | [kyu-baribure ; kyu-bari-bure] (n) cuba libre (cocktail) [Add to Longdo] | クラスライブラリ | [kurasuraiburari] (n) { comp } class library (as in C++) [Add to Longdo] | グラススキー | [gurasusuki-] (n) (1) glass fiber ski; glass fibre ski; (2) grass ski [Add to Longdo] | グラスファイバー | [gurasufaiba-] (n) glass fiber; glass fibre; (P) [Add to Longdo] | グラスファイバーポール | [gurasufaiba-po-ru] (n) glass fiber pole; glass fibre pole [Add to Longdo] | グラスロッド | [gurasuroddo] (n) glass fiber rod; glass fibre rod [Add to Longdo] | コレラ菌 | [コレラきん, korera kin] (n) vibrio cholerae [Add to Longdo] | コンクリートバイブレーター | [konkuri-tobaibure-ta-] (n) concrete vibrator [Add to Longdo] | コンテンツライブラリ | [kontentsuraiburari] (n) { comp } content library [Add to Longdo] |
| キャリブレート | [きゃりぶれーと, kyaribure-to] calibration (vs) [Add to Longdo] | システムライブラリ | [しすてむらいぶらり, shisutemuraiburari] system library [Add to Longdo] | テープライブラリ | [てーぷらいぶらり, te-puraiburari] tape library [Add to Longdo] | ビデオライブラリ | [びでおらいぶらり, bideoraiburari] video library [Add to Longdo] | ファイバ | [ふぁいば, faiba] fibre [Add to Longdo] | フィルムライブラリ | [ふぃるむらいぶらり, firumuraiburari] film library [Add to Longdo] | ブックモビル | [ぶっくもびる, bukkumobiru] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] | プログラムライブラリ | [ぷろぐらむらいぶらり, puroguramuraiburari] program library [Add to Longdo] | ライブラリ | [らいぶらり, raiburari] library [Add to Longdo] | ライブラリー関数 | [ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] library function [Add to Longdo] | ライブラリアン | [らいぶらりあん, raiburarian] librarian [Add to Longdo] | ライブラリケース | [らいぶらりけーす, raiburarike-su] library case [Add to Longdo] | ライブラリディレクトリ | [らいぶらりでいれくとり, raiburarideirekutori] library directory [Add to Longdo] | ライブラリファイル | [らいぶらりふぁいる, raiburarifairu] library file [Add to Longdo] | ライブラリルーチン | [らいぶらりるーちん, raiburariru-chin] library routine [Add to Longdo] | レコードライブラリ | [れこーどらいぶらり, reko-doraiburari] sound recordings library, record library [Add to Longdo] | 移動図書館 | [いどうとしょかん, idoutoshokan] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] | 寄託図書館 | [きたくとしょかん, kitakutoshokan] deposit library [Add to Longdo] | 研究図書館 | [けんきゅうとしょかん, kenkyuutoshokan] research library [Add to Longdo] | 光ファイバケーブル | [ひかりファイバケーブル, hikari faibake-buru] fibre optic cable [Add to Longdo] | 光ファイバ伝送技術 | [ひかりファイバでんそうぎじゅつ, hikari faiba densougijutsu] fibre optics [Add to Longdo] | 公共図書館 | [こうきょうとしょかん, koukyoutoshokan] public library [Add to Longdo] | 国立図書館 | [こくりつとしょかん, kokuritsutoshokan] national library [Add to Longdo] | 参考図書館 | [さんこうとしょかん, sankoutoshokan] reference library [Add to Longdo] | 実行形式ライブラリ | [じっこうけいしきライブラリ, jikkoukeishiki raiburari] execution image library [Add to Longdo] | 写真図書館 | [しゃしんとしょかん, shashintoshokan] photographic library [Add to Longdo] | 図書館 | [としょかん, toshokan] library [Add to Longdo] | 図書館システム | [としょかんシステム, toshokan shisutemu] library system [Add to Longdo] | 図書館ネットワーク | [としょかんネットワーク, toshokan nettowa-ku] library network [Add to Longdo] | 図書館学 | [としょかんがく, toshokangaku] library science [Add to Longdo] | 専門図書館 | [せんもんとしょかん, senmontoshokan] special library [Add to Longdo] | 総合図書館 | [そうごうとしょかん, sougoutoshokan] general library [Add to Longdo] | 著作権図書館 | [ちょさくけんとしょかん, chosakukentoshokan] copyright library [Add to Longdo] | 著作権登録図書館 | [ちょさくけんとうろくとしょかん, chosakukentourokutoshokan] copyright library [Add to Longdo] | 電子図書館 | [でんしとしょかん, denshitoshokan] electronic library [Add to Longdo] | 登録集原文 | [とうろくしゅうげんぶん, tourokushuugenbun] library text [Add to Longdo] | 登録集名 | [とうろくしゅうめい, tourokushuumei] library-name [Add to Longdo] | 納本図書館 | [のうほんとしょかん, nouhontoshokan] deposit library [Add to Longdo] | 非安定マルチバイブレータ | [ひあんていマルチバイブレータ, hiantei maruchibaibure-ta] astable multivibrator [Add to Longdo] | 標準ライブラリ | [ひょうじゅんライブラリ, hyoujun raiburari] standard library [Add to Longdo] | 文庫 | [ぶんこ, bunko] library [Add to Longdo] | ファイバーチャネル | [ふぁいばーちゃねる, faiba-chaneru] Fibre Channel [Add to Longdo] | ビジブローカー | [びじぶろーかー, bijiburo-ka-] VisiBroker [Add to Longdo] |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |