ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: compute, -compute- |
|
| | all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ | analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ | apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ | compute | (คัมพิวทฺ') { computed, computing, computes } vt., vi. คำนวณ, ประมาณการ, นับ. n. การคำนวณ., See also: computability n. ดูcompute computable adj. ดูcompute, Syn. calculate, estimate, determine, count | computer | (คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ, ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์ | computer aided design | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ | computer aided engineerin | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล | computer aided instructio | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน | computer aided manufactur | การผลิตใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAM (อ่านว่า แคม) มักใช้คู่กับแคด หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมการผลิตในโรงงาน เช่นการควบคุมจำนวนสินค้าที่ผลิต หรือ ควบคุมการทำงาน แต่ละส่วน เช่น การนับ และการบรรจุ เป็นต้นดู CAD ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM | computer aided software e | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำซอฟต์แวร์ | computer aided system eng | วิศวกรรมระบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การสร้างโปรแกรมระบบโดอาศัยคอมพิวเตอร์ช่วย | computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์หมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer education | computer architecture | หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้ | computer audit | การตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการตรวจสอบการประมวลผลเพื่อความถูกต้องทางบัญชี | computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code | computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น | computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation | computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ | computer graphics metafil | ใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm | computer hacker | นักเลงคอมพิวเตอร์เซียนคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์จนเชี่ยวชาญ บางทีเรียกว่า เซียนคอมพิวเตอร์ หรือนักเลงคอมพิวเตอร์ | computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานหมายถึง การเรียนรู้เพียงเพื่อให้เข้าใจพื้นฐานหรือความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการนำเครื่องไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ | computer network | ข่ายงานคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์หมายถึงระบบการนำเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง หรือเครื่องปลายทาง (terminal) หลาย ๆ เครื่องมาทำงานร่วมกัน โดยอาจใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกัน เช่น สื่อนำข้อมูลเข้า/ออก เครื่องพิมพ์ โมเด็ม (modem) เป็นต้น การทำงานเป็นเครือข่ายจะทำให้ดึงข้อมูลจากกันและกันมาใช้ หรือใช้ร่วมกันได้ | computer operation | การดำเนินการคอมพิวเตอร์การปฏิบัติการคอมพิวเตอร์หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ทำงานไปตามคำสั่ง เช่น อ่านข้อมูล นำข้อมูลไปเก็บ นำข้อมูลมาบวก ลบ ฯ เป็นต้น แล้วได้ผลตามที่ต้องการ | computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ | computer output on microf | ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า COM (อ่านว่า ซีโอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโครฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโครฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ 48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที | computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware | computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ | computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ | computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ | computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย | computer specialist | ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่มีความรู้พิเศษในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ อาจหมายถึง ระบบตัวเครื่อง การเขียนโปรแกรม หรือการวิเคระห์ระบบ ก็ได้ | computer system | ระบบคอมพิวเตอร์หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง หรือหนึ่งชุด ซึ่งประกอบด้วย 1. หน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น แป้นพิมพ์ 2. หน่วยประมวลผลกลาง (cetral processing unit) 3. หน่วยแสดงผล (output unit) เช่น จอภาพ เป็นต้น | computer user group | กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ | computer vendor group | กลุ่มผู้ขายเครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มบุคคลที่ทำงานด้านการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ มักใช้ในกรณีที่ต้องการแยกให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มผู้ใช้ (user group) ทั้งสองกลุ่มมักจะรวมตัว กันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและความเห็นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในมุมและทัศนะที่แตกต่างกันดู computer user group เปรียบเทียบ | computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส | computer-aided instructio | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer assissted instruction | computer-aided translatio | การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAT (อ่านว่า ซีเอที) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอม พิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ และบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ | computer-assissted instru | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer aided instruction | computerese | (สคัมพิวทะริซ) n. ภาษารหัสคอมพิวเตอร์ นักคอมพิวเตอร์หมายถึงคำศัพท์หรืออาจเป็นสำนวนต่าง ๆ ที่นักคอมพิวเตอร์มักใช้ และเป็นที่รู้จักในวงการนักคอมพิวเตอร์ด้วยกัน เช่น garbage ปกติแปลว่าขยะ นักคอมพิวเตอร์นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ | computerize | (-พิว'ทะไรซ) vt. คำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, See also: computerization n. ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง งานต่าง ๆ ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วย แทนที่จะทำด้วยมือ Manual ซึ่งจะให้ผลที่รวดเร็ว แน่นอน และมีความผิดพลาดน้อย ตัวอย่างเช่นการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ย่อมจะสู้การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ไม่ได้ เพราะเร็วกว่า แก้ไขง่ายกว่า เก็บบันทึกไว้ใช้ใหม่ก็ได้ เป็นต้น | computerized | (คัมพิว'เทอไรซดฺ) adj. ซึ่งใช้หรือคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ | computernik | ชาวคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งคนที่ชอบใช้อินเตอร์เน็ต หรือเล่นเกมคอมพิวเตอร์ด้วย คนกลุ่มนี้มักจะมีความคิดเห็น ความสนใจไปในทางเดียวกัน | desktop computer | คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะหมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย ๆ ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกที โดยปกติ เราจะถือว่า คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว (portable) ซึ่งก็ยังใหญ่กว่าขนาดวางตัก (laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) | digital computer | ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ | first generation computer | คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่เริ่มมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ มนุษย์ได้พัฒนาเครื่องมือนี้ติดต่อกันมาตลอด ทำให้มีการแบ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุค (generation) พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ยุคแรกถือว่าเริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1951 ถึงต้น ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์สมัยนั้นสามารถเก็บโปรแกรมได้ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยความจำ ทำให้มีขนาดใหญ่ กินเนื้อที่มาก ระหว่างทำงาน จะทำให้เกิดความร้อนสูงตลอดเวลา การทำงานจะทำได้ทีละอย่าง และจะเรียงกันไปตามลำดับคำสั่งอย่างเคร่งครัด ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็มีแต่ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ดู generation ประกอบ | fourth generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่คอมพิวเตอร์ในยุคที่สี่นี้มีขนาดของหน่วยความจำเล็กกว่ายุคที่สามลงไปอีก มีการนำไอซี (IC หรือ integrated circuit) หรือวงจรเบ็ดเสร็จมารวมกันเป็นแผงใหญ่ ๆ เรียกว่าแผงวงจรรวมความจุสูง (large scale integrated circuit) หรือบางทีเรียกกันว่าชิป (chip) ทำให้สร้างคอมพิวเตอร์ได้เล็กลงมาก จึงทำให้เกิดมีไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซีขึ้น ราคาขายในท้องตลาดก็ลดลงได้มาก ทำให้เป็นที่นิยมอย่างรวดเร็วในหมู่คนทั่วไป ไม่เฉพาะแต่นักคอมพิวเตอร์ ต่อมาปลายยุคที่สี่นี้ มีการนำพีซีหลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (network) ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นไปอีกดู generation ประกอบ | home computer | คอมพิวเตอร์ระดับบ้านหมายถึง เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีราคาถูก และมีประสิทธิภาพดีพอจะใช้ในบ้านได้ (ใช้งานที่ไม่สลับซับซ้อนนัก) บางทีเรียก คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซี | host computer | คอมพิวเตอร์แม่ข่ายคอมพิวเตอร์แม่งานหมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ตัวหลักในเครือข่าย ที่จะทำหน้าที่ควบคุมคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายนั้นทั้งหมด เป็นทั้งที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลพื้นฐาน ที่คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะเรียกใช้ได้ในเรื่องการสื่อสาร หมายถึง คอมพิวเตอร์เครื่องที่ใช้ต่อเข้า/ออก |
| compute | (n) คำนวณ, นับ, ประมาณการ | computer | (n) เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ |
| parallel computer | คอมพิวเตอร์งานขนาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | PC (personal computer) | พีซี (คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | PC (personal computer) | พีซี (คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) | พีซีเอ็มซีไอเอ (สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) | พีซีเอ็มซีไอเอ (สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | personal computer (PC) | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | personal computer (PC) | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Personal Computer Memory Card International Association (PCMCIA) | สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ (พีซีเอ็มซีไอเอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Personal Computer Memory Card International Association (PCMCIA) | สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ (พีซีเอ็มซีไอเอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | palmtop computer | คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือ, พาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | palmtop computer | คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือ, พาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | laptop computer | คอมพิวเตอร์วางตัก, แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | laptop computer | คอมพิวเตอร์วางตัก, แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reduced instruction set computer (RISC) | คอมพิวเตอร์ลดทอนคำสั่ง (ริสก์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | RISC (reduced instruction set computer) | ริสก์ (คอมพิวเตอร์ลดทอนคำสั่ง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | supermicrocomputer | ซูเปอร์ไมโครคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | superminicomputer | ซูเปอร์มินิคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | SCSI (small computer system interface) | เอสซีเอสไอ, สกัสซี (ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | SCSI (small computer system interface) | เอสซีเอสไอ, สกัสซี (ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | source computer | คอมพิวเตอร์ต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | supercomputer | ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | small computer system interface (SCSI) | ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (เอสซีเอสไอ, สกัสซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | small computer system interface (SCSI) | ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (เอสซีเอสไอ, สกัสซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | synchronous computer | คอมพิวเตอร์แบบประสานเวลา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | object computer | คอมพิวเตอร์จุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | office computer | คอมพิวเตอร์สำนักงาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | optical computer | คอมพิวเตอร์เชิงแสง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | air data computer (ADC) | คอมพิวเตอร์บอกข้อมูลอากาศยาน (เอดีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | asynchronous computer | คอมพิวเตอร์แบบไม่ประสานเวลา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | architecture; computer architecture | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | audit of computer systems | การตรวจสอบระบบคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | all-purpose computer; general-purpose computer | คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | all-purpose computer; general-purpose computer | คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | architecture; computer architecture | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | analog computer | คอมพิวเตอร์เชิงอุปมาน, แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | analog computer | คอมพิวเตอร์เชิงอุปมาน, แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ADC (air data computer) | เอดีซี (คอมพิวเตอร์บอกข้อมูลอากาศยาน) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | minicomputer | มินิคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | minicomputer | มินิคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | microcomputer | ไมโครคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | microcomputer | ไมโครคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mainframe; mainframe computer | เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | mainframe; mainframe computer | เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mainframe; mainframe computer | เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | mainframe computer; mainframe | เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | computer-aided design (CAD) | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (แคด) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | computer-aided design (CAD) | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (แคด) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | computer-aided engineering (CAE) | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเออี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | computer-aided engineering (CAE) | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเออี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | computer-aided instruction; computer-assisted instruction (CAI) | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอไอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
| Computer Assisted Instruction | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย [เทคโนโลยีการศึกษา] | Computer-Based Training | การนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการฝึกอบรม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Computer Assisted Instruction | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย [เทคโนโลยีการศึกษา] | Expert system (Computer science) | ระบบผู้เชี่ยวชาญ (คอมพิวเตอร์) [เทคโนโลยีการศึกษา] | Computer Assisted Instruction | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย, คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Expert system (Computer science) | ระบบผู้เชี่ยวชาญ (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | File organization (Computer science) | การจัดแฟ้มข้อมูล (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Computer game | เกมคอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Error messages (Computer science) | ข้อความระบุความผิดพลาด (คอมพิวเตอร์), Example: <strong>ข้อความระบุความผิดพลาด</strong> ซึ่งเป็นข้อความที่จะปรากฏขึ้นบนจอแสดงภาพโดยอัตโนมัติ หรือที่พิมพ์ออกมาทางรายงาน เพื่อเตือนให้ผู้ใช้งานทราบว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้น มีบางอย่างผิด จึงทำให้โปรแกรมไม่สามารถดำเนินการเสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยเหตุผลบางประการ ซึ่งข้อความดังกล่าวจะเป็นลักษณะข้อความไม่ยาวมาก เพียงพอสำหรับระบุว่าเกิดความผิดพลาดขึ้นที่ใด แต่ไม่ได้บอกว่าจะแก้ไขความผิดพลาดนั้นอย่างไร ดังนั้นประสบการณ์ในการทำงานจึงจำเป็นมากสำหรับค้นหาและแก้ไขความผิดพลาด ดังตัวอย่างต่อไปนี้</p> <li> <strong>400 - Bad File Request</strong><br /> ไวยากรณ์ (Syntax) ที่ใช้กับ URL นั้นมีข้อผิดพลาดเช่น มีการใส่ตัวอักษรเล็ก - ใหญ่สลับกัน หรืออาจจะมีการใช้เครื่องหมายต่างๆ ผิด</li> <p style="text-align: center"> <img alt="" height="221" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/images/phpcNs2FO" style="width: 454px; height: 221px" width="487" /></p> <li> <strong>403 - Forbidden/Access Denied</strong><br /> ผู้ใช้ไม่ได้รับอนุญาตให้ดูแฟ้มที่ร้องขอ การเข้าใช้งานต้องใช้รหัสผ่าน หรือโดเมนของผู้ใช้งานถูกปิดกั้นการใช้งาน หรือไฟล์อาจจะใช้ได้เฉพาะกับผู้ใช้ภายในเท่านั้น</li> <li> <strong>404 - File Not Found</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์ไม่สามารถหาไฟล์ที่คุณต้องการได้ ซึ่งไฟล์นั้นอาจจะถูกย้ายไปที่อื่นหรือถูกลบไปแล้ว หรือคุณอาจจะใส่ URL หรือชื่อเอกสารผิด ถ้าคุณเจอปัญหานี้ให้ลองตรวจสอบชื่อที่ใส่ใน URL ว่าถูกต้องหรือไม่</li> <li> <strong>408 Request Timeout</strong><br /> ข้อผิดพลาดนี้เกิดจากการหยุดโหลดเว็บเพจก่อนที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลสำเร็จ ซึ่งอาจจะเกิดจากผู้ใช้ไปคลิกปุ่ม stop หรือปิดบราวเซอร์ หรือไปคลิกลิงค์ก่อนที่เว็บเพจนั้นจะโหลดขึ้นมา โดยมากมักจะเกิดตอนที่เซิร์ฟเวอร์ช้าหรือไฟล์มีขนาดใหญ่</li> <li> <strong>500 - Internal Error</strong><br /> ไม่สามารถเรียกไฟล์เอกสาร HTML ได้เนื่องจากอาจมีปัญหาการตั้งค่าเซิร์ฟเวอร์ วิธีแก้ไขคือ ให้คุณติดต่อผู้ที่ดูแลเว็บไซต์ (Administrator)</li> <li> <strong>501 - Not Implemented</strong><br /> เว็บเซิร์ฟเวอร์นั้นไม่รองรับรูปแบบ (Feature) ที่คุณต้องการ</li> <li> <strong>502 - Service Temporarily Overloaded</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์นั้นมีผู้เข้ามาใช้งานมาก ให้ลองโหลดใหม่ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้</li> <li> <strong>503 - Service Unavailable</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์นั้นมีผู้เข้ามาใช้งานมาก หรือเว็บไซต์นั้นอาจจะย้ายไปแล้ว หรือคุณไม่ได้เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตแล้ว</li> <li> <strong>Connection Refused by Host</strong><br /> อาจจะเกิดจากคุณไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าใช้งานเว็บไซต นั้นหรือใส่พาสเวิร์ดไม่ถูกต้อง</li></p> อ้างอิงจาก : </br> ครรชิต มาลัยวงศ์. (2543). พจนานุกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.</br> คูคิน, แดน และ วัง, วอลเลซ. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก (ชนินทร์ เชาวมิตร, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Computer | คอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Computer graphic | คอมพิวเตอร์กราฟิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Pocket computer | คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Computer programming | การเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Data structures (Computer sciences) | โครงสร้างข้อมูล (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Shareware (Computer software) | แชร์แวร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Computer software | ซอฟต์แวร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Computer network resources | ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Insurance, Computer | ประกันคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computational grids (Computer systems) | กริด (ระบบคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer | คอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer networks | เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer software | ซอฟต์แวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computers and people with disabilities | คอมพิวเตอร์กับคนพิการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer network protocols | โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Embedded computer systems | ระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Personal computer | เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer storage devices | อุปกรณ์หน่วยเก็บ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer adaptive testing | การทดสอบแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer hardware | อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer sound processing | การประมวลผลเสียงด้วยคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Multicasting (Computer networks) | การแพร่สัญญาณเฉพาะกลุ่ม (เครือข่ายคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Quantum computer | ควอนตัมคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | COM (Computer architecture) | คอม (สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Pen-based computer | คอมพิวเตอร์ที่ใช้ปากกาสั่งงาน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cookies (Computer science) | คุกกี้ (วิทยาการคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Free computer software | ซอฟต์แวร์สาธารณะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | C# (Computer program language) | ซี# (ภาษาคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Browser (Computer program) | เบราเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | PCI bus (Computer bus) | พีซีไอบัส (คอมพิวเตอร์บัส) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Firewall (Computer security) | ไฟร์วอลล์ (ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer hardware description languages | ภาษาบรรยายคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Macintosh (Computer) | แมคอินทอช (คอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mobile IP (Computer network protocol) | โมบายไอพี (โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer system | ระบบคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Embedded computer system | ระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Virtual computer system | ระบบคอมพิวเตอร์เสมือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Transaction system (Computer system) | ระบบประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Longhorn (Computer operating system) | ลองฮอร์น (ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Laptop computer | แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน | compute | (informal) มีเหตุผล สอดคล้องกัน น่าเชื่อถือ พอเข้าที | computer terminal | (n) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกับหน่วยประมวลผลกลาง |
| compute | 80% of all information in the world's computers is in English. | compute | Ability to operate a computer is critical for this job. | compute | A bookkeeper computes all the company's income and expenses each week. | compute | A computer can calculate very rapidly. | compute | A computer game was given me by my father. | compute | A computer is a complex machine. | compute | A computer is an absolute necessity now. | compute | A computer is no more alive than a clock is. | compute | A display, aka monitor, is an appliance that displays video signal of still images and moving pictures produced by a computer or similar device. | compute | All of my friends like computer games. | compute | A lot of jobs are done by computers. | compute | Another event that has the same behaviour would also be fine. (computer) | compute | Any student in our college can use the computer. | compute | Argh! My computer froze up again. | compute | As soon as he got home, he began to play a computer game. | compute | Because the personal computer here cannot change the system, anything cannot be done. | compute | Both Bill and Mac are crazy about computers. | compute | Can computers actually translate literary works? | compute | Can there be a computer intelligent enough to tell a joke? | compute | Can you compute the distance of the moon from the earth? | compute | Car manufacturing is carried out by computer-programmed robots in place of human workers. | compute | Compared to a computer, a word processor has a single purpose. | compute | Computer are thought of as mere calculating machines. | compute | Computers are being introduced into this company. | compute | Computers are capable of doing extremely complicated work. | compute | Computers are capable of doing very complicated work in a split second. | compute | Computers are certainly playing an important role in our life, whether we like it or not. | compute | Computers are constantly being improved. | compute | Computers are difficult, so I get confused. | compute | Computers are of great use. | compute | Computers are really selling like hotcakes. | compute | Computers are used to send messages by e-mail. | compute | Computer save us a lot of time and trouble. | compute | Computers can do the job with ease. | compute | Computers can give us facts, but they can't give us experience. | compute | Computers can save us a lot of time and trouble. | compute | Computers caused a great, if gradual, change. | compute | Computer science has made rapid progress in our country. | compute | Computers have changed the industrial picture considerably. | compute | Computers have invaded every field. | compute | Computers have made rapid progress. | compute | Computers save us a lot of time and trouble. | compute | Computer supplies are very expensive in Japan. | compute | Computers will save you a lot of time. | compute | Computers will save you much time and energy when you deal with figures and graphs. | compute | Computer technology is indispensable to access many pertinent items of data. | compute | Computer users have so many buzzwords, it's a wonder if anyone else can understand them. | compute | Dan bought a new computer. | compute | Data can be transmitted from the main computer to yours, and vice versa. | compute | Don't do that!!! There's a computer at the drug store. |
| เนคเทค | (n) NECTEC, See also: National Electronics and Computer Technology Center, Syn. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ | พีซี | (n) PC, See also: personal computer, Syn. คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | มินิคอมพิวเตอร์ | (n) minicomputer, Example: บริษัท DEC หันมามุ่งผลิตมินิคอมพิวเตอร์เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันกับ IBM, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: คอมพิวเตอร์ขนาดกลางอยู่ระหว่างเมนเฟรมและไมโครคอมพิวเตอร์ ทำงานได้เร็วและมีประสิทธิภาพมากกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีหน่วยรับข้อมูลและแสดงผลหลายหน่วย, Notes: (อังกฤษ) | ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n) microcomputer, See also: personal computer, Example: ในช่วงปี 2520 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ดำเนินการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์อย่างจริงจัง, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูก ใช้หน่วยประมวลผลกลางที่บรรจุในชิป 1 ตัว, Notes: (อังกฤษ) | ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n) microcomputer, See also: personal computer, Thai Definition: เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูก ใช้หน่วยประมวลผลกลางที่บรรจุในชิป 1 ตัว, Notes: (อังกฤษ) | ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n) microcomputer | ภาษาคอมพิวเตอร์ | (n) computer language, Example: ภาษาคอมพิวเตอร์นั้น มีหลายภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองแตกต่างกันไปตามการใช้งาน, Count Unit: ภาษา | คณนา | (v) count, See also: compute, calculate, reckon, Syn. นับ, คณานับ, Example: ความผิดของเขามีมากมายสุดที่จะคณนา, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | คณานับ | (v) count, See also: calculate, reckon, compute, Syn. นับ, Example: บนพื้นดินและใต้ผิวดินลงไปมีสิ่งมีชีวิตจำนวนมากมายจนสุดที่จะคณานับ, Thai Definition: ตรวจเพื่อให้รู้จำนวน | คิด | (v) calculate, See also: compute, estimate, reckon, figure, count, Syn. คำนวณ, Example: นายจ้างจะคิดค่าอาหารและค่าที่พักให้ลูกจ้างโดยเรียกเก็บจากลูกจ้างภายหลัง | คิดเลข | (v) calculate, See also: compute | คำนวณ | (v) calculate, See also: compute, estimate, reckon, figure, count, Example: เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยให้เราคิดหรือคำนวณเลขได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและแม่นยำ, Thai Definition: กะประมาณ, คิดหาผลลัพธ์โดยวิธีเลข | คอมพิวเตอร์ | (n) computer, Syn. สมองกล, Example: ผู้ที่เขียนโปรแกรมภาษาเครื่องส่วนมากมักจะมองคอมพิวเตอร์ในแง่ที่ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ ซีพียู หน่วยความจำ และพอร์ต, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่รับข้อมูล ประมวลผลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ด้วยความเร็วสูง และแสดงผลผ่านอุปกรณ์ประกอบต่างๆ, Notes: (อังกฤษ) | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | (n) personal computer, Syn. เครื่องพีซี, Example: ไมโครคอมพิวเตอร์จะมีหลายแบบนับตั้งแต่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไปจนถึงคอมพิวเตอร์ในระดับเวอร์คสเตชัน, Count Unit: เครื่อง | สมองกล | (n) computer, Syn. คอมพิวเตอร์, Example: สมัยหนึ่งคอมพิวเตอร์เคยถูกเรียกว่าสมองกลหรือปัญญาประดิษฐ์เพราะนำคอมพิวเตอร์ไปเปรียบเทียบกับสมองมนุษย์, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่รับข้อมูล ประมวลผลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ด้วยความเร็วสูง และแสดงผลผ่านอุปกรณ์ประกอบต่างๆ | เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ | (n) microcomputer, Example: โปรแกรมสำเร็จรูปของบริษัทในนิวยอร์คเป็นโปรแกรมที่ใช้งานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์, Notes: (อังกฤษ) | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | (n) computer program, Example: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชื่อคุกเกอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รวบรวมเอาประสบการณ์การหุงต้มอาหารของนายซิมิโนไว้, Count Unit: โปรแกรม | โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ | (n) computer school, Example: การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมในปัจจุบันมีโรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์อยู่มากมาย | บวกลบคูณหาร | (v) compute, See also: calculate, Syn. คิดเลข, คำนวณ, Example: เขาบวกลบคูณหารคล่องโดยไม่ต้องใช้เครื่องคิดเลข | นักคอมพิวเตอร์ | (n) computerist, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่มีความชำนาญทางด้านคอมพิวเตอร์ | นับ | (v) count, See also: compute, reckon, enumerate, Syn. นับจำนวน, Example: ครูกำลังนับนักเรียนในห้องว่ามากันครบหรือไม่, Thai Definition: ตรวจหรือบอกให้รู้จำนวน | ประมาณ | (v) estimate, See also: approximate, reckon, calculate, compute roughly, guess, guesstimate, Syn. กะ, คะเน, คาด, คาดคะเน, เก็ง, Example: ในการทำอาหารบางครั้งก็ไม่มีสูตรอะไรที่แน่นอนตายตัว จะต้องประมาณประมาณอัตราส่วนของส่วนผสมเอาเอง | ศอ. | (n) NECTEC, See also: National Electronics and Computer Technology Center, Syn. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ | ไวรัส | (n) computer virus, Syn. ไวรัสคอมพิวเตอร์, Example: เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกไวรัสทำลายข้อมูลทั้งหมด, Thai Definition: โปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อรบกวนโปรแกรมอื่นในคอมพิวเตอร์, Notes: (อังกฤษ) |
| บวกลบคูณหาร | [būak-lop-khūn-hān] (v, exp) EN: compute ; calculate ; do sums FR: calculer ; faire des calculs | ด้วยคอมพิวเตอร์ | [dūay khømphiutoē] (n, exp) EN: by using computer ; computer based FR: par ordinateur | การจำลองแบบโดยคอมพิวเตอร์ | [kān jamløng baēp dōi khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer simulation FR: simulation par ordinateur [ f ] | การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ | [kān jamløng sathānakān dūay khømphiutoē] (n, exp) EN: computer simulation FR: simulation par ordinateur [ f ] | คำนวณ | [khamnūan] (v) EN: calculate ; compute ; estimate ; reckon ; figure ; count FR: calculer ; compter | คณิตกรณ์ | [khanitkøn] (n) EN: computer FR: calculateur [ m ] | คิด | [khit] (v) EN: calculate ; reckon ; compute ; count ; charge FR: calculer ; compter | คิดเลข | [khitlēk] (v) EN: calculate ; compute FR: calculer | คอมพ์ | [khøm = khǿm] (n) EN: computer FR: ordinateur [ m ] ; ordi [ m ] (fam. - abrév.) ; PC = P.C. [ m ] | คอมพิวเตอร์ | [khømphiutoē = khǿmphiutoē] (n) EN: computer FR: ordinateur [ m ] | คอมพิวเตอร์ศึกษา | [khømphiutoē seuksā] (n, exp) EN: computer education FR: enseignement informatique [ m ] | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | [khømphiutoē suanbukkhon] (n, exp) EN: personal computer FR: ordinateur individuel [ m ] ; ordinateur personnel [ m ] | เครื่องคำนวณ | [khreūang khamnūan] (n, exp) EN: computer FR: ordinateur [ m ] | เครื่องคอมพิวเตอร์ | [khreūang khømphiūtoē] (n) EN: computer FR: ordinateur [ m ] | เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | [khreūang khømphiūtoē suanbukkhon] (n, exp) EN: personal computer ; PC FR: ordinateur individuel [ m ] ; PC [ m ] | เครื่องพิมพ์ | [khreūangphim] (n, exp) EN: printer ; computer printer FR: imprimante [ f ] | ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ | [khūapkhum dūay khømphiutoē] (adj) EN: computer-controlled FR: contrôlé par ordinateur | เล่นเกมคอมพิวเตอร์ | [len kēm khømphiūtoē] (v, exp) EN: play computer games FR: jouer à des jeux vidéo | เล่นคอมพิวเตอร์ | [len khømphiutoē] (v, exp) EN: work with computer FR: travailler sur ordinateur | เมาส์ | [mao] (n) EN: (computer) mouse FR: souris (d'ordinateur) [ f ] | เมาส์คอมพิวเตอร์ | [mao khømphiūtoē] (n) EN: computer mouse FR: souris d'ordinateur [ f ] | เนคเทค | [Nēkthēk] (org) EN: NECTEC (National Electronics and Computer Technology Center) FR: NECTEC [ m ] | ภาษาคอมพิวเตอร์ | [phāsā khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer language FR: langage informatique [ m ] ; langage de programmation [ m ] | พีซี | [phī-sī] (n) EN: PC ; personal computer FR: PC [ m ] ; ordinateur individuel [ m ] | ประมาณ | [pramān] (v) EN: estimate ; approximate ; calculate ; reckon ; compute roughly ; guess FR: estimer ; évaluer | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | [prōkraēm khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer program FR: programme informatique [ m ] ; application informatique [ f ] | โปรแกรมเมอร์ | [prōkraēmmoē] (n) EN: programmer ; computer programmer FR: programmeur [ m ] | โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ | [rōngrīen søn khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer school FR: école d'informatique [ f ] | ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ | [suanprakøp khøng] (n, exp) EN: computer components FR: composants d'ordinateur [ mpl ] | ไวรัสคอมพิวเตอร์ | [wairat khømphiutoē] (n, exp) EN: computer virus FR: virus informatique [ m ] | วิทยาการคอมพิวเตอร์ | [witthayākān khømphiutoē] (n, exp) EN: computer science |
| | | analog computer | (n) a computer that represents information by variable quantities (e.g., positions or voltages), Syn. analogue computer | briefcase computer | (n) a portable computer housed in a box that resembles a briefcase | computer | (n) a machine for performing calculations automatically, Syn. information processing system, computing device, computing machine, electronic computer, data processor | computer accessory | (n) an accessory for a computer | computer-aided design | (n) software used in art and architecture and engineering and manufacturing to assist in precision drawing, Syn. CAD | computer architecture | (n) the art of assembling logical elements into a computing device; the specification of the relation between parts of a computer system | computer architecture | (n) (computer science) the structure and organization of a computer's hardware or system software, Syn. architecture | computer business | (n) a business that manufactures and sells computers | computer circuit | (n) a circuit that is part of a computer | computer dealer | (n) a firm that sells and buys computers | computer expert | (n) an authority on computers and computing, Syn. computer guru | computer file | (n) (computer science) a file maintained in computer-readable form | computer game | (n) a game played against a computer, Syn. video game | computer graphics | (n) the pictorial representation and manipulation of data by a computer | computer industry | (n) the manufacturers of computers considered collectively | computerization | (n) the control of processes by computer, Syn. cybernation | computerize | (v) provide with computers, Syn. computerise | computerize | (v) store in a computer, Syn. computerise | computerized axial tomography scanner | (n) a tomograph that constructs a 3-D model of an object by combining parallel planes, Syn. CAT scanner | computerized tomography | (n) a method of examining body organs by scanning them with X rays and using a computer to construct a series of cross-sectional scans along a single axis, Syn. CT, CAT, computerized axial tomography, computed tomography, computed axial tomography | computer keyboard | (n) a keyboard that is a data input device for computers; arrangement of keys is modelled after the typewriter keyboard, Syn. keypad | computer language | (n) a programming language designed for use on a specific class of computers, Syn. computer-oriented language, machine language, machine-oriented language | computer memory unit | (n) a unit for measuring computer memory | computer monitor | (n) a device that displays signals on a computer screen | computer network | (n) (computer science) a network of computers | computer operation | (n) an elementary operation that a computer is designed and built to perform, Syn. machine operation | computer paper | (n) paper folded to permit continuous printing controlled by a computer | computer science | (n) the branch of engineering science that studies (with the aid of computers) computable processes and structures, Syn. computing | computer scientist | (n) a scientist who specializes in the theory of computation and the design of computers | computer screen | (n) a screen used to display the output of a computer to the user, Syn. computer display | computer store | (n) a store that sells computers to the small businessperson or personal user | computer system | (n) a system of one or more computers and associated software with common storage, Syn. computing system, ADP system, ADPS, automatic data processing system | computer technology | (n) the activity of designing and constructing and programming computers | computer user | (n) a person who uses computers for work or entertainment or communication or business | department of computer science | (n) the academic department responsible for teaching and research in computer science | desktop computer | (n) a personal computer small enough to fit conveniently in an individual workspace | digital computer | (n) a computer that represents information by numerical (binary) digits | hand-held computer | (n) a portable battery-powered computer small enough to be carried in your pocket, Syn. hand-held microcomputer | home computer | (n) a computer intended for use in the home | minicomputer | (n) a digital computer of medium size | personal computer | (n) a small digital computer based on a microprocessor and designed to be used by one person at a time, Syn. microcomputer, PC | portable computer | (n) a personal computer that can easily be carried by hand | small computer system interface | (n) interface consisting of a standard port between a computer and its peripherals that is used in some computers, Syn. SCSI | supercomputer | (n) a mainframe computer that is one of the most powerful available at a given time | address | (n) (computer science) the code that identifies where a piece of information is stored, Syn. computer address, reference | backup | (n) (computer science) a copy of a file or directory on a separate storage device, Syn. computer backup | calculate | (v) make a mathematical calculation or computation, Syn. compute, work out, cypher, reckon, cipher, figure | calculator | (n) an expert at calculation (or at operating calculating machines), Syn. reckoner, figurer, computer, estimator | code | (n) (computer science) the symbolic arrangement of data or instructions in a computer program or the set of such instructions, Syn. computer code | complex instruction set computing | (n) (computer science) a kind of computer architecture that has a large number of instructions hard coded into the CPU chip, Syn. complex instruction set computer, CISC, Ant. RISC, reduced instruction set computing, reduced instruction set computer |
| analogue computer | n. a computer that represents information by continuously variable quantities (e.g., positions or voltages). [ WordNet 1.5 +PJC ] Variants: analog computer | Compute | v. t. [ imp. & p. p. Computed; p. pr. & vb. n. Computing. ] [ L. computare. See Count, v. t. ] To determine by calculation; to reckon; to count. [ 1913 Webster ] Two days, as we compute the days of heaven. Milton. [ 1913 Webster ] What's done we partly may compute, But know not what's resisted. Burns. Syn. -- To calculate; number; count; reckon; estimate; enumerate; rate. See Calculate. [ 1913 Webster ] | Compute | n. [ L. computus: cf. F. comput. ] Computation. [ R. ] Sir T. Browne. [ 1913 Webster ] | Computer | n. 1. One who computes. 2. (Computers) an electronic device for performing calculations automatically. It consists of a clock to provide voltage pulses to synchronize the operations of the devices within the computer, a central processing unit, where the arithmetical and logical operations are performed on data, a random-access memory, where the programs and data are stored for rapid access, devices to input data and output results, and various other peripheral devices of widely varied function, as well as circuitry to support the main operations. This modern sense of computer comprises the stored-program computers, in which multiple steps in a calculation may be stored within the computer itself as instructions in a program, and are then executed by the computer without further intervention of the operator. Different types of computer are variously called analog computer, number cruncher, number-cruncher, digital computer, and pari-mutuel machine, totalizer, totaliser, totalizator, totalisator. Syn. -- data processor, electronic computer, information processing system. [ WordNet 1.5 +PJC ] 3. (Computers) same as digital computer. [ PJC ] | computerize | v. t. 1. to provide with computers; as, Our office is fully computerized now. [ WordNet 1.5 ] 2. to to store in a computer; as, a computerized dictionary. [ WordNet 1.5 ] 3. to cause (a function) to be carried out by a computer or computers; as, They computerized their order processing. [ WordNet 1.5 ] | computerized | adj. stored, processed, or analyzed by computer. [ WordNet 1.5 ] | computer program | n. a sequence of instructions, stored in any medium, that can be interpreted and executed by a computer; -- called most frequently a program. This term is used both for the written program (a document) and for its corresponding electronic version stored or executed on the computer. See instruction; as, Version 1.0 of the program had a serious bug that caused the computer to crash frequently.. Syn. -- program, program, computer programme. [ WordNet 1.5 +PJC ] | digital computer | n. 1. (Computers) a computer that represents information by numerical digits with a fixed number of values; -- most commonly each piece of information is internally represented in binary code, as an array of bits, which are information units each of which can take only two values. The possible values of each bit are conventionally represented as the numbers 1 or 0. The bits of information are usually further organized, maniplulated, and discussed as nybbles (4 bits, rarely used), bytes (8 bits, most commonly used), or words (from 16 to 128 bits, and in the future probably more). A word is usually defined as the number of bits that are processed at one time by the central procesor unit. Syn. -- . [ WordNet 1.5 +PJC ] | microcomputer | n. A small computer based on a microprocessor; in practise, at any given time in the technology of computer development, a microcomputer will be one that is less powerful than a minicomputer. Syn. -- personal computer, PC. [ WordNet 1.5 ] | minicomputer | n. (Computers) a mid-sized digital computer; at any given point in the development of computer technology, a minicomputer will be faster and have greater capacity than a microcomputer, but will be slower and have less capacity than a mainframe computer. [ WordNet 1.5 ] | Miscompute | v. t. [ Cf. Miscount. ] To compute erroneously. Sir T. Browne. [ 1913 Webster ] | personal computer | n. 1. (Computers) A computer{ 2 } designed for use by one person at a time; -- contrasted with shared-time computers such as a mainframe, server or minicomputer, which may be accessed by multiple users each operating from a different input device (in the 1990's, usually a terminal or personal computer). A personal computer typically uses a microprocessor for its CPU. Syn. -- PC, microcomputer. [ WordNet 1.5 +PJC ] |
| 网络 | [wǎng luò, ㄨㄤˇ ㄌㄨㄛˋ, 网 络 / 網 絡] network (computer, telecom etc) #478 [Add to Longdo] | 电脑 | [diàn nǎo, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ, 电 脑 / 電 腦] computer #937 [Add to Longdo] | 确定 | [què dìng, ㄑㄩㄝˋ ㄉㄧㄥˋ, 确 定 / 確 定] definite; certain; fixed; to fix (on sth); to determine; to be sure; to ensure; to make certain; to ascertain; to clinch; to recognize; to confirm; OK (on computer dialog box) #940 [Add to Longdo] | 算 | [suàn, ㄙㄨㄢˋ, 算] regard as; to figure; to calculate; to compute #1,123 [Add to Longdo] | 软件 | [ruǎn jiàn, ㄖㄨㄢˇ ㄐㄧㄢˋ, 软 件 / 軟 件] (computer) software #1,349 [Add to Longdo] | 计算 | [jì suàn, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ, 计 算 / 計 算] to count; to calculate; to compute #1,525 [Add to Longdo] | 计 | [jì, ㄐㄧˋ, 计 / 計] to calculate; to compute; to count; reckon; ruse; to plan; surname Ji #2,124 [Add to Longdo] | 藏 | [zàng, ㄗㄤˋ, 藏] storehouse; depository; cache (computer); Buddhist or Taoist scripture #2,299 [Add to Longdo] | 玩家 | [wán jiā, ㄨㄢˊ ㄐㄧㄚ, 玩 家] a player (of computer games) #2,541 [Add to Longdo] | 计算机 | [jì suàn jī, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ, 计 算 机 / 計 算 機] computer; calculator #2,761 [Add to Longdo] | 联想 | [lián xiǎng, ㄌㄧㄢˊ ㄒㄧㄤˇ, 联 想 / 聯 想] associate; (abbr.) Lenovo (PRC computer company) #3,288 [Add to Longdo] | 中介 | [zhōng jiè, ㄓㄨㄥ ㄐㄧㄝˋ, 中 介] agent (computer) #3,858 [Add to Longdo] | 服务器 | [fú wù qì, ㄈㄨˊ ㄨˋ ㄑㄧˋ, 服 务 器 / 服 務 器] server (computer) #4,708 [Add to Longdo] | 内存 | [nèi cún, ㄋㄟˋ ㄘㄨㄣˊ, 内 存 / 內 存] memory; random access memory; RAM (computer); internal storage #4,755 [Add to Longdo] | 盛大 | [shèng dà, ㄕㄥˋ ㄉㄚˋ, 盛 大] grand; majestic; magnificent; Shanda Entertainment (PRC computer game company) #5,590 [Add to Longdo] | 代码 | [dài mǎ, ㄉㄞˋ ㄇㄚˇ, 代 码 / 代 碼] code (e.g. telephone area code); computer code (e.g. virus) #6,509 [Add to Longdo] | 通行 | [tōng xíng, ㄊㄨㄥ ㄒㄧㄥˊ, 通 行] to go through; a passage through; in general use; a pass or laissez-passer; a license (to a computer account) #6,842 [Add to Longdo] | 显示器 | [xiǎn shì qì, ㄒㄧㄢˇ ㄕˋ ㄑㄧˋ, 显 示 器 / 顯 示 器] monitor (computer) #6,863 [Add to Longdo] | 鼠标 | [shǔ biāo, ㄕㄨˇ ㄅㄧㄠ, 鼠 标 / 鼠 標] mouse (computer) #7,006 [Add to Longdo] | 目录 | [mù lù, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ, 目 录 / 目 錄] catalog; table of contents; directory (on computer hard drive); list; contents #7,457 [Add to Longdo] | 快捷 | [kuài jié, ㄎㄨㄞˋ ㄐㄧㄝˊ, 快 捷] (computer) shortcut #7,660 [Add to Longdo] | 路径 | [lù jìng, ㄌㄨˋ ㄐㄧㄥˋ, 路 径 / 路 徑] path; route (also in computer networking) #10,798 [Add to Longdo] | 渲染 | [xuàn rǎn, ㄒㄩㄢˋ ㄖㄢˇ, 渲 染] rendering (computer graphics) #12,406 [Add to Longdo] | 文档 | [wén dàng, ㄨㄣˊ ㄉㄤˋ, 文 档 / 文 檔] (computer) file #13,323 [Add to Longdo] | 总线 | [zǒng xiàn, ㄗㄨㄥˇ ㄒㄧㄢˋ, 总 线 / 總 線] computer bus #13,751 [Add to Longdo] | 微机 | [wēi jī, ㄨㄟ ㄐㄧ, 微 机 / 微 機] micro (computer) #15,095 [Add to Longdo] | 工作站 | [gōng zuò zhàn, ㄍㄨㄥ ㄗㄨㄛˋ ㄓㄢˋ, 工 作 站] (computer) workstation #17,343 [Add to Longdo] | 图标 | [tú biāo, ㄊㄨˊ ㄅㄧㄠ, 图 标 / 圖 標] (computer) icon #17,908 [Add to Longdo] | 内核 | [nèi hé, ㄋㄟˋ ㄏㄜˊ, 内 核 / 內 核] kernel (computer science) #19,626 [Add to Longdo] | 散热器 | [sàn rè qì, ㄙㄢˋ ㄖㄜˋ ㄑㄧˋ, 散 热 器 / 散 熱 器] heatsink; heat spreader; fan (computer) (lit. scatter heat device) #20,483 [Add to Longdo] | 计算机网络 | [jì suàn jī wǎng luò, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄨㄤˇ ㄌㄨㄛˋ, 计 算 机 网 络 / 計 算 機 網 絡] computer network #21,949 [Add to Longdo] | 联想集团 | [lián xiǎng jí tuán, ㄌㄧㄢˊ ㄒㄧㄤˇ ㄐㄧˊ ㄊㄨㄢˊ, 联 想 集 团 / 聯 想 集 團] Lenovo group (PRC computer firm) #21,970 [Add to Longdo] | 个人电脑 | [gè rén diàn nǎo, ㄍㄜˋ ㄖㄣˊ ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ, 个 人 电 脑 / 個 人 電 腦] personal computer; PC #22,285 [Add to Longdo] | 磁盘 | [cí pán, ㄘˊ ㄆㄢˊ, 磁 盘 / 磁 盤] (computer) disk #23,450 [Add to Longdo] | 李开复 | [Lǐ Kāi fù, ㄌㄧˇ ㄎㄞ ㄈㄨˋ, 李 开 复 / 李 開 復] Lee Kai-Fu (1961-), Taiwanese computer scientist and IT executive, from 2005 Vice president of Google and president of Google China #24,132 [Add to Longdo] | 计算器 | [jì suàn qì, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄑㄧˋ, 计 算 器 / 計 算 器] calculator; calculating machine; computer #26,148 [Add to Longdo] | 盗取 | [dào qǔ, ㄉㄠˋ ㄑㄩˇ, 盗 取] to steal (including identity theft, credit card fraud or theft of computer account); to misappropriate #29,755 [Add to Longdo] | 存档 | [cún dàng, ㄘㄨㄣˊ ㄉㄤˋ, 存 档 / 存 檔] to file; to save a file (computer) #30,833 [Add to Longdo] | 电子计算机 | [diàn zǐ jì suàn jī, ㄉㄧㄢˋ ㄗˇ ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ, 电 子 计 算 机 / 電 子 計 算 機] electronic computer #31,438 [Add to Longdo] | 导出 | [dǎo chū, ㄉㄠˇ ㄔㄨ, 导 出 / 導 出] to derive; to get out a conclusion; to deduce; to export (computer data) #32,710 [Add to Longdo] | 视窗 | [shì chuāng, ㄕˋ ㄔㄨㄤ, 视 窗 / 視 窗] a window (on a computer screen); Windows (the Microsoft operating system) #33,675 [Add to Longdo] | 记事本 | [jì shì běn, ㄐㄧˋ ㄕˋ ㄅㄣˇ, 记 事 本 / 記 事 本] notebook; paper notepad; laptop computer #35,979 [Add to Longdo] | 显像管 | [xiǎn xiàng guǎn, ㄒㄧㄢˇ ㄒㄧㄤˋ ㄍㄨㄢˇ, 显 像 管 / 顯 像 管] CRT used in TV or computer monitor; picture tube; kinescope #36,988 [Add to Longdo] | 程序设计 | [chéng xù shè jì, ㄔㄥˊ ㄒㄩˋ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ, 程 序 设 计 / 程 序 設 計] computer programming #37,442 [Add to Longdo] | 电脑系统 | [diàn nǎo xì tǒng, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄒㄧˋ ㄊㄨㄥˇ, 电 脑 系 统 / 電 腦 系 統] computer system #39,091 [Add to Longdo] | 扫雷 | [sǎo léi, ㄙㄠˇ ㄌㄟˊ, 扫 雷 / 掃 雷] minesweeper (computer game) #39,282 [Add to Longdo] | 回车 | [huí chē, ㄏㄨㄟˊ ㄔㄜ, 回 车 / 回 車] enter (computer key) #39,425 [Add to Longdo] | 防毒 | [fáng dú, ㄈㄤˊ ㄉㄨˊ, 防 毒] defense against poison; defense against poison gas; anti-narcotics measures; defense against computer viruses #41,020 [Add to Longdo] | 路由 | [lù yóu, ㄌㄨˋ ㄧㄡˊ, 路 由] routing (in computer networks) #42,565 [Add to Longdo] | 计算机科学 | [jì suàn jī kē xué, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄎㄜ ㄒㄩㄝˊ, 计 算 机 科 学 / 計 算 機 科 學] computer science #45,720 [Add to Longdo] |
| コンピュータ | [こんぴゅーた, konpyu-ta] TH: คอมพิวเตอร์ EN: computer | パソコン | [ぱそこん, pasokon] TH: เครื่องคอมพิวเตอร์ EN: personal computer |
| Computertomografie | (n) |die, pl. Computertomografien| วิธีการสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพตัดขวางของส่วนของร่างกายออกมาเป็นดิจิตัลหรือตัวเลข | Computertomographie | (n) |die, pl. Computertomographien| ระบบสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, Syn. Computertomografie |
| | 参照 | [さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo] | 対応 | [たいおう, taiou] (n, vs) (1) interaction; correspondence; coping with; dealing with; support; (2) { comp } software support; ability of a computer system to run specific software; (P) #670 [Add to Longdo] | 設定 | [せってい, settei] (n, vs) (1) establishment; creation; posing (a problem); setting (movie, novel, etc.); scene; (2) { comp } options or preference settings (in computer software); configuration; assignment; setup; (P) #765 [Add to Longdo] | 周辺 | [しゅうへん, shuuhen] (n) (1) circumference; outskirts; environs; around; in the area of; in the vicinity of; (2) { comp } (computer) peripheral; (P) #1,142 [Add to Longdo] | ケース(P);ケイス(P) | [ke-su (P); keisu (P)] (n) (1) case (e.g. receptacle, condition, event, legal action, letter style, etc.); (2) { comp } Computer-Aided Software Engineering; CASE; (P) #1,156 [Add to Longdo] | 値(P);価;直;價(oK) | [あたい(値;価;價)(P);ね(値;直), atai ( atai ; atai ; atai )(P); ne ( atai ; choku )] (n, adj-no) (1) price; cost; (2) value; worth; merit; (3) (あたい only) { math } value; count; number; (4) (あたい only) { comp } variable (computer programming, programing); (P) #1,346 [Add to Longdo] | コンピュータ(P);コンピューター(P) | [konpyu-ta (P); konpyu-ta-(P)] (n) { comp } computer; (P) #1,364 [Add to Longdo] | イメージ(P);イメジ | [ime-ji (P); imeji] (n, vs) (1) (See イメージアップ) (one's) image; (2) { comp } (computer) image; (3) mental image; impression; artist's impression; (P) #1,823 [Add to Longdo] | 上位 | [じょうい, joui] (n, adj-no) (1) superior (rank not class); ranking; (n) (2) { comp } higher order (e.g. byte); (3) { comp } host computer (of connected device); (P) #2,360 [Add to Longdo] | 解放 | [かいほう, kaihou] (n, vs) (1) release; unleashing; liberation; emancipation; setting free; (2) { comp } deallocation (of computer memory); (P) #2,688 [Add to Longdo] | バグ | [bagu] (n) { comp } (computer) bug #3,021 [Add to Longdo] | パスワード | [pasuwa-do] (n) { comp } (computer) password; (P) #3,154 [Add to Longdo] | 端末 | [たんまつ, tanmatsu] (n) (1) (abbr) { comp } (See 端末装置) terminal; computer terminal; (2) end (e.g. of a roll of film); (P) #4,191 [Add to Longdo] | パソコン | [pasokon] (n, adj-no) (abbr) { comp } personal computer; (P) #4,306 [Add to Longdo] | 攻略 | [こうりゃく, kouryaku] (n, vs) (1) capture; (2) { comp } walkthrough or specific advice (e.g. in computer games); (P) #4,521 [Add to Longdo] | コム | [komu] (n) { comp } computer output microfilm system; COM; (P) #5,299 [Add to Longdo] | フォーマット | [fo-matto] (n, vs) { comp } (computer) format; (P) #5,936 [Add to Longdo] | パーツ | [pa-tsu] (n) { comp } parts (as in computer parts); (P) #6,077 [Add to Longdo] | 追跡 | [ついせき, tsuiseki] (n, vs, adj-no) pursuit; tracking (e.g. in computer graphics); keeping records on; tracing; (P) #6,415 [Add to Longdo] | コマンド | [komando] (n) (1) { comp } (computer) command; (2) commando; (P) #6,513 [Add to Longdo] | 台数 | [だいすう, daisuu] (n) number of large objects such as cars, computers, etc. #7,011 [Add to Longdo] | 起動 | [きどう, kidou] (n, vs, adj-no) startup; activation; starting (e.g. engine, computer); launch #7,066 [Add to Longdo] | モニター(P);モニタ | [monita-(P); monita] (n) (1) { comp } (computer) monitor; (n, vs) (2) consumer who comments on products, television programs, etc. (programmes); (3) { comp } (See カウンター・4, モニ) program or utility that monitors a program or activity; (P) #9,792 [Add to Longdo] | 落とす(P);落す | [おとす, otosu] (v5s, vt) (1) to drop; to lose; to let fall; to shed (light); to cast (one's gaze); to pour in (liquid); to leave behind; (2) to clean off (dirt, makeup, paint, etc.); to remove (e.g. stains or facial hair); to lose; to spend money at a certain place; to omit; to leave out; to secretly let escape; (3) to lose (a match); to reject (an applicant); to fail (a course); to defeat (in an election); (4) to lower (e.g. shoulders or voice); to lessen (e.g. production or body weight); to worsen (quality); to reduce (e.g. rank or popularity); to speak badly of; to make light of; to fall into straitened circumstances; (5) to fall into (e.g. a dilemma or sin); to make one's own; to have one's bid accepted; to force surrender; to take (e.g. an enemy camp or castle); to forcefully convince; to press for a confession; to deal with; (6) { comp } to download; to copy from a computer to another medium; (7) { MA } to make someone swoon (judo); (8) to finish a story (e.g. with the punch line); (9) to finish (a period, e.g. of fasting); (P) #10,232 [Add to Longdo] | ハードウェア(P);ハードウエア | [ha-douea (P); ha-douea] (n) { comp } hardware (esp. computer); (P) #10,433 [Add to Longdo] | アップル | [appuru] (n) (1) apple; (2) { comp } Apple (computer company) #11,439 [Add to Longdo] | ファミコン | [famikon] (n) (abbr) { comp } video game system (from family computer - Nintendo tradename); (P) #11,637 [Add to Longdo] | コンソール | [konso-ru] (n) (1) { comp } (computer) console; (2) single console for multiple diving gauges #12,414 [Add to Longdo] | 格納 | [かくのう, kakunou] (n, vs) (1) storage; housing for equipment and machines; (2) { comp } putting into computer memory #12,463 [Add to Longdo] | 折り返し(P);折返し | [おりかえし, orikaeshi] (adv) (1) by return; (call or write back) without delay; (n, adj-no) (2) lapel; cuffs; flap; (3) chorus; refrain; (4) repetition; (5) aliasing (in imaging); (6) shuttle service; (7) { comp } back-to-back; BTB; (8) wrapping (text on computer screen); wrap; (P) #12,680 [Add to Longdo] | 基板 | [きばん, kiban] (n) { comp } substrate; (computer) circuit board #13,389 [Add to Longdo] | 電脳 | [でんのう, dennou] (n) { comp } electronic brain; computer (primarily Chinese usage) #13,927 [Add to Longdo] | パーソナルコンピュータ;パーソナルコンピューター | [pa-sonarukonpyu-ta ; pa-sonarukonpyu-ta-] (n) { comp } personal computer; PC #15,430 [Add to Longdo] | 鍵盤;けん盤 | [けんばん, kenban] (n) keyboard (e.g. piano, computer) #16,265 [Add to Longdo] | @系 | [アットけい, atto kei] (n) (See ローグライク) roguelike (character display computer game) [Add to Longdo] | ABC | [エービーシー, e-bi-shi-] (n) (1) alphabet; ABCs; (2) American Broadcasting Company; ABC; (3) Audit Bureau of Circulations; ABC; (4) activity-based costing; ABC; (5) ABC World Airways Guide; (6) Atanasoff-Berry Computer; ABC [Add to Longdo] | CAD | [キャド, kyado] (n) { comp } computer-aided design; CAD [Add to Longdo] | CAI | [シーエーアイ, shi-e-ai] (n) { comp } computer-assisted instruction; CAI; computer-aided instruction [Add to Longdo] | CAM | [キャム, kyamu] (n) { comp } computer-aided manufacturing; CAM [Add to Longdo] | CG | [シージー, shi-ji-] (n) { comp } computer graphics; CG [Add to Longdo] | CGI | [シージーアイ, shi-ji-ai] (n) (1) { comp } common gateway interface; CGI; (2) computer generated imagery; CGI [Add to Longdo] | CISC | [シスク, shisuku] (n) { comp } complex instruction set computer; CISC [Add to Longdo] | COSMETS | [コスメッツ, kosumettsu] (n) { comp } Computer System for Meteorological Services; COSMETS [Add to Longdo] | CT | [シーティー, shi-tei-] (n) { comp } CT (computerized tomography) [Add to Longdo] | CTS | [シーティーエス, shi-tei-esu] (n) (1) { comp } computerized typesetting system (computerised); CTS; (2) cold type system; CTS [Add to Longdo] | PC | [ピーシー, pi-shi-] (n) { comp } PC; personal computer [Add to Longdo] | RISC | [リスク, risuku] (n) { comp } reduced instruction set computer; RISC [Add to Longdo] | アナコン | [anakon] (n) (abbr) { comp } analog computer [Add to Longdo] | アナログコンピュータ | [anarogukonpyu-ta] (n) { comp } analog computer [Add to Longdo] | アナログコンピューター | [anarogukonpyu-ta-] (n) { comp } analog computer [Add to Longdo] |
| アナコン | [あなこん, anakon] analog computer (abbr) [Add to Longdo] | アナログコンピューター | [あなろぐこんぴゅーたー, anarogukonpyu-ta-] analog computer [Add to Longdo] | アナログ計算機 | [アナログけいさんき, anarogu keisanki] analog computer [Add to Longdo] | アレイコンピュータ | [あれいこんぴゅーた, areikonpyu-ta] array computer [Add to Longdo] | ウィンドウ | [ういんどう, uindou] window (e.g in computer graphics) [Add to Longdo] | オフィスコンピューター | [おふぃすこんぴゅーたー, ofisukonpyu-ta-] office computer [Add to Longdo] | オフコン | [おふこん, ofukon] office computer (abbr) [Add to Longdo] | キャド | [きゃど, kyado] computer-aided design (CAD) [Add to Longdo] | キャム | [きゃむ, kyamu] Computer-Aided Manufacturing, CAM [Add to Longdo] | グリーンPC | [グリーンピーシー, guri-npi-shi-] environmentally friendly computer (e.g. low power consumption) [Add to Longdo] | ケース | [けーす, ke-su] Computer-Aided Software Engineering, CASE [Add to Longdo] | ゲストコンピュータ | [げすとこんぴゅーた, gesutokonpyu-ta] guest computer [Add to Longdo] | コム | [こむ, komu] COM, computer output microfilm system [Add to Longdo] | コンピュータ | [こんぴゅーた, konpyu-ta] computer [Add to Longdo] | コンピューター | [こんぴゅーたー, konpyu-ta-] computer [Add to Longdo] | コンピューターアート | [こんぴゅーたーあーと, konpyu-ta-a-to] computer art [Add to Longdo] | コンピューターアニメ | [こんぴゅーたーあにめ, konpyu-ta-anime] computer animation (abbr) [Add to Longdo] | コンピューターアニメーション | [こんぴゅーたーあにめーしょん, konpyu-ta-anime-shon] computer animation [Add to Longdo] | コンピューターアレルギー | [こんぴゅーたーあれるぎー, konpyu-ta-arerugi-] computer allergy [Add to Longdo] | コンピューターグラフィックス | [こんぴゅーたーぐらふぃっくす, konpyu-ta-gurafikkusu] computer graphics [Add to Longdo] | コンピュータージオグラフィックス | [こんぴゅーたーじおぐらふぃっくす, konpyu-ta-jiogurafikkusu] computer geographics [Add to Longdo] | コンピュータートモグラフィー | [こんぴゅーたーともぐらふぃー, konpyu-ta-tomogurafi-] computer tomography [Add to Longdo] | コンピュータービジョン | [こんぴゅーたーびじょん, konpyu-ta-bijon] computer-vision [Add to Longdo] | コンピューターマインド | [こんぴゅーたーまいんど, konpyu-ta-maindo] computer mind [Add to Longdo] | コンピューターユーティリティー | [こんぴゅーたーゆーていりていー, konpyu-ta-yu-teiritei-] computer utility [Add to Longdo] | コンピューター援用生産 | [コンピューターえんようせいさん, konpyu-ta-enyouseisan] computer-aided manufacture, CAM [Add to Longdo] | コンピューター援用設計 | [コンピューターえんようせっけい, konpyu-ta-enyousekkei] computer-aided design, CAD [Add to Longdo] | コンピューター化 | [コンピューターか, konpyu-ta-ka] computerization [Add to Longdo] | コンピュータウィルス | [こんぴゅーたういるす, konpyu-tauirusu] computer virus [Add to Longdo] | コンピュータグラフィクスのメタファイル | [こんぴゅーたぐらふぃくす の めたふぁいる, konpyu-tagurafikusu no metafairu] Computer Graphics Metafile [Add to Longdo] | コンピュータグラフィクスインタフェース | [こんぴゅーたぐらふぃくすいんたふぇーす, konpyu-tagurafikusuintafe-su] Computer Graphics Interface [Add to Longdo] | コンピュータグラフィックス | [こんぴゅーたぐらふぃっくす, konpyu-tagurafikkusu] computer graphics [Add to Longdo] | コンピュータゲーム | [こんぴゅーたげーむ, konpyu-tage-mu] computer game [Add to Longdo] | コンピュータサイエンス | [こんぴゅーたさいえんす, konpyu-tasaiensu] computer-science [Add to Longdo] | コンピュータソフトウェア | [こんぴゅーたそふとうえあ, konpyu-tasofutouea] computer-software [Add to Longdo] | コンピュータビジョン | [こんぴゅーたびじょん, konpyu-tabijon] computer-vision [Add to Longdo] | コンピュータプログラマー | [こんぴゅーたぷろぐらまー, konpyu-tapurogurama-] computer programmer [Add to Longdo] | コンピュータマイクログラフィックス | [こんぴゅーたまいくろぐらふぃっくす, konpyu-tamaikurogurafikkusu] computer micrographics [Add to Longdo] | コンピュータミュージック | [こんぴゅーたみゅーじっく, konpyu-tamyu-jikku] computer-music [Add to Longdo] | コンピュータリゼーション | [こんぴゅーたりぜーしょん, konpyu-tarize-shon] computerization [Add to Longdo] | コンピュータ依存言語 | [コンピュータいぞんげんご, konpyu-ta izongengo] computer-dependent language [Add to Longdo] | コンピュータ化 | [こんぴゅうたか, konpyuutaka] computerization [Add to Longdo] | コンピュータ資源 | [コンピュータしげん, konpyu-ta shigen] computer resource [Add to Longdo] | コンピュータ端末 | [コンピュータたんまつ, konpyu-ta tanmatsu] computer terminal [Add to Longdo] | コンピュータ統合生産 | [コンピュータとうごうせいさん, konpyu-ta tougouseisan] CIM, Computer Integrated Manufacturing [Add to Longdo] | コンピュータ用語 | [コンピュータようご, konpyu-ta yougo] computerese [Add to Longdo] | コンピュニケーション | [こんぴゅにけーしょん, konpyunike-shon] computer communication [Add to Longdo] | サテライトコンピューター | [さてらいとこんぴゅーたー, sateraitokonpyu-ta-] satellite computer [Add to Longdo] | シーエーアイ | [しーえーあい, shi-e-ai] Computer-Aided Instruction, CAI [Add to Longdo] | シーティーエス | [しーていーえす, shi-tei-esu] CTS, computerized typesetting system [Add to Longdo] |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |