ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: rights, -rights- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| | bill of rights | n. พระราชบัญญัติลัทธิและเสรีภาพของพลเมือง | civil rights | n. สิทธิที่เท่ากันของพลเมือง, See also: civil-rights adj. ดูcivil rights | rights | (ไรทซฺ) n. สิทธิ, สิทธิโดยชอบธรรม, สิทธิของพลเมือง adj. มีสิทธิ, มีสิทธิโดยชอบธรรมของพลเมือง, Syn. civil rights | woman's rights | n. สิทธิของสตรี |
| petition of rights | คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | littoral rights | สิทธิเหนือชายฝั่ง [ ดู riparian rights ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | riparian rights | สิทธิชายฝั่งแม่น้ำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rights issue | สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rights, antecedent | บุรพสิทธิ, สิทธิที่มีอยู่ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Rights, Bill of | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rights, civil | สิทธิของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rights, divine | เทวสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rights, human | สิทธิมนุษยชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rights, natural | สิทธิโดยธรรมชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rights, natural | สิทธิโดยธรรมชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rights, petition of | คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rights, States' | สิทธิของมลรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | substantive rights | สิทธิพื้นฐาน, สิทธิที่เป็นสาระสำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | States' rights | สิทธิของมลรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | antecedent rights | บุรพสิทธิ, สิทธิที่มีอยู่ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Bill of Rights | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | maternity rights | สิทธิเนื่องด้วยการคลอด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mere rights | สิทธิแต่ในนาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | marital rights and duties | สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil rights | สิทธิของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil rights | สิทธิของพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | conjugal rights | สิทธิที่คู่สมรสมีต่อกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | x.r. (ex rights) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fundamental rights | สิทธิพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex rights (x.r.) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex rights (x.r.) | โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | industrial property rights insurance | การประกันภัยสิทธิในอุตสาหกรรม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | vested rights | สิทธิพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | third-party rights in land | สิทธิของบุคคลภายนอกในที่ดิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | human rights | สิทธิมนุษยชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | natural rights | สิทธิโดยธรรมชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | natural rights | สิทธิโดยธรรมชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | unpaid seller's rights | สิทธิของผู้ขายที่ไม่ได้รับชำระราคาของ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| PR, Intellectual Property Rights | การมีสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Transferable Subscription Rights | ใบสำคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้, Example: ตราสารที่บริษัทจดทะเบียนออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมทุกคนตามสัดส่วนหุ้นที่ผุ้ถือหุ้นแต่ละรายมีอยู่ โดยผู้ถือหุ้นเดิมสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นเพิ่มทุนของบริษัทจดทะเบียนนั้น หรือขายตราสารดังกล่าวออกไปให้บุคคลอื่นใช้สิทธิแทน [ตลาดทุน] | Women's rights | สิทธิสตรี [TU Subject Heading] | Abuse of rights | สิทธิส่วนเกิน [TU Subject Heading] | Agreement on Trade-Related Aspect of Intellectural Property Rights (1994) | ความตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า (ค.ศ. 1994) [TU Subject Heading] | Animal rights | สิทธิของสัตว์ [TU Subject Heading] | Broadcasting rights | สิทธิในการกระจายเสียงและการแพร่ภาพออกอากาศ [TU Subject Heading] | Children's rights | สิทธิเด็ก [TU Subject Heading] | Civil rights | สิทธิพลเมือง [TU Subject Heading] | Civil rights demonstrations | สิทธิพลเมืองในการเดินขบวน [TU Subject Heading] | Convention on the Rights of Persons with Disabilities and Optional Protocol (2007) | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการและพิธีสาร (ค.ศ. 2007) [TU Subject Heading] | Convention on the Rights of the Child (1989) | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (ค.ศ. 1989) [TU Subject Heading] | Convention Relation to Registration of Rights in Respect of Vessels under Construction, 1967 | อนุสัญญาว่าด้วยการจดทะเบียนซึ่งสิทธิบางประการของเรือที่อยู่ระหว่างการต่อ (ค.ศ. 1967) [TU Subject Heading] | Employee rights | สิทธิลูกจ้าง [TU Subject Heading] | Gay rights | สิทธิเกย์ [TU Subject Heading] | Human rights | สิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | Human rights advocacy | การพิทักษ์สิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | Human rights in motion pictures | สิทธิมนุษยชนในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] | Human rights workers | นักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | International Covenant on Civil and Political Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] | International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] | Management rights | สิทธิในการจัดการ [TU Subject Heading] | Moral rights | สิทธิทางศีลธรรม [TU Subject Heading] | Political rights | สิทธิทางการเมือง [TU Subject Heading] | Social rights | สิทธิทางสังคม [TU Subject Heading] | Special drawing rights | สิทธิถอนเงินพิเศษ [TU Subject Heading] | Water rights | สิทธิเกี่ยวกับน้ำ [TU Subject Heading] | Water rights (International law) | สิทธิเกี่ยวกับน้ำ (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] | Women human rights workers | นักต่อสู้สตรีเพื่อสิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Convention on the Rights of the Child | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้รับการรับรองจากสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2532 โดยอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2533 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของเด็ก (บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี) เพื่อให้ได้รับการศึกษา การดูแล ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือกระทำทารุณกรรม ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 191 ประเทศ คงเหลือโซมาเลียและสหรัฐอเมริกาที่ยังมิได้ให้สัตยาบัน ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กด้วยการภาคยานุวัติ อนุสัญญาฯ มีผลปังคับใช้กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 ขณะนี้ไทยยังคงมีข้อสงวน 2 ข้อ คือ ข้อ 7 เรื่องสัญชาติ และ ข้อ 22 เรื่องการให้สถานะเป็นผู้ลี้ภัย [การทูต] | Human Rights Committee | คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) [การทูต] | human rights | สิทธิมนุษยชน [การทูต] | International Covenant on Civil and Political Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540 [การทูต] | International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม " เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2542 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 " [การทูต] | observance of rights | การเคารพสิทธิ [การทูต] | preferential rights | บุริมสิทธิ [การทูต] | Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights | หมายถึง สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า เช่น เครื่องหมายการค้า (trademark) ลิขสิทธิ์ (copyrights) และสิทธิบัตร (patent) เป็นต้น [การทูต] | Universal Declaration of Human Rights | ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เป็นเอกสารหลักด้านสิทธิมนุษยชนฉบับแรก ซึ่งที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติให้การรับรองตามข้อมติที่ 217 A (III) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 โดยไทยออกเสียงสนับสนุน [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | Without rights | ไม่มีสิทธิ์ [การบัญชี] |
| | | สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน | (n) fundamental rights and freedoms, Example: สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน เป็นสิทธิที่ติดตัวมนุษย์มาแต่กำเนิด ไม่มีใครพรากจากตัวมนุษย์ได้ | คุ้มครองสิทธิ์ | (v) guard the rights, Syn. รักษาสิทธิ์, ป้องกันสิทธิ์, Ant. ละเมิดสิทธิ์, รุกรานสิทธิ์, Example: กรมทรัพย์สินทางปัญญาเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปกป้องและ คุ้มครองสิทธิ์ เพื่อสร้างวินัยทางการค้าแก่ผู้ประกอบการ | สิทธิเสรีภาพ | (n) liberty and rights | สิทธิมนุษยชน | (n) human rights, Example: ทุกวันนี้พม่ายังข่มเหงและละเมิดสิทธิมนุษยชนชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในประเทศอยู่, Thai Definition: สิทธิของความเป็นมนุษย์ที่ติดตัวมาแต่เกิดของมนุษย์ทุกคน | มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก | (n) Foundation of the protection of children's Rights, See also: CPCR, Example: ชมรมครอบครัวเป็นหนึ่งในโครงการของมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก, Thai Definition: องค์กรที่สนับสนุนการคุ้มครองเด็ก ในด้านกฎหมายและสังคมสงเคราะห์แก่เด็กที่ถูกละเมิดสิทธิในกรณีต่างๆ | สิทธิสตรี | (n) women's rights, See also: woman's rights, Example: นักเขียนได้เล่าถึงการเรียกร้องสิทธิสตรีตั้งแต่สมัยโบราณมาจนถึงทุกวันนี้, Thai Definition: สิ่งซึ่งผู้หญิงพึงได้รับจากสังคมตามบรรทัดฐานของสังคมนั้นๆ | ทับสิทธิ์ | (v) abstain from voting, See also: sleep on one's rights, lose one's right, abandon one's right, neglect one's right, Syn. นอนหลับทับสิทธิ์, Example: เขาทับสิทธิ์ในการเลือกตั้งครั้งนี้, Thai Definition: ไม่ยอมใช้สิทธิ์ของตน | ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน | (n) Declaration of Human Rights, Example: ประเทศต่างๆ ให้ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน, Thai Definition: การให้คำมั่นสัญญาหรือการแสดงยืนยันถึงสิทธิหรืออำนาจอันชอบธรรมของมนุษย์ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป | กฎหมายแพ่ง | (n) civil law, See also: law of private rights, Example: สัมปทานมีลักษณะเป็นสัญญาที่มีเงื่อนไข ข้อตกลงมากมายทั้งในแง่กฎหมายมหาชน กฎหมายแพ่ง และแนวทางปฎิบัติในวงการธุรกิจ, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคล เกี่ยวกับสถานภาพสิทธิและ หน้าที่ ของบุคคล ตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิดทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก | นอนหลับทับสิทธิ์ | (v) be neglectful in one's rights, See also: sleep on one's rights, Example: คนกรุงเทพนอนหลับทับสิทธิ์กันมากในการเลือกตั้งครั้งนี้, Thai Definition: ไม่ใช้สิทธิ์ที่ตนมีอยู่ | เสื่อมสิทธิ์ | (v) lose one's rights, See also: take away one's rights, Thai Definition: มีสิทธิน้อยลง, ทำให้สิทธิเสียไป |
| การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค | [kān khumkhrøng sitthi phūbøriphōk] (n, exp) EN: Protection of Consumers` Rights (PCR) FR: protection du consommateur [ f ] | คุ้มครองสิทธิ์ | [khumkhrøng sit] (v, exp) EN: guard the rights | กฎหมายแพ่ง | [kotmāi phaeng] (n, exp) EN: civil law ; law of private rights FR: code civil [ m ] ; droit civil [ m ] | นอนหลับทับสิทธิ์ | [nønlapthapsit] (v) EN: be neglectful in one's rights ; sleep on one's rights ; fail to excercise one's rights | ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน | [Patinyā Sākon Wā Dūay Sitthi Manutsayachon] (n, prop) EN: Declaration of Human Rights | สงวนลิขสิทธิ์ | [sa-ngūan likkhasit] (v, exp) EN: all rights reserved FR: tous droits réservés | สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด | [sa-ngūan likkhasit thangmot] (v, exp) EN: all rights reserved | สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน | [sitthi lae sēriphāp khanpheūnthān] (n, exp) EN: fundamental rights and freedoms FR: droits et libertés fondamentaux [ mpl ] | สิทธิมนุษยชน | [sitthi manutsayachon] (n, exp) EN: human rights FR: droits de l'Homme [ mpl ] | สิทธิมนุษยชนพื้นฐาน | [sitthi manutsayachon pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental human rights FR: droits humains fondamentaux [ mpl ] | สิทธิพลเมือง | [sitthi phonlameūang] (n, exp) EN: civil rights | สิทธิผูกขาด | [sitthi phūkkhāt] (n, exp) EN: sole rights | สิทธิสตรี | [sitthi sattrī] (n, exp) EN: women's rights ; woman's rights FR: droits de la femme [ mpl ] | สิทธิเสรีภาพ | [sitthi sēriphāp] (n, exp) EN: liberty and rights FR: droits et libertés [ mpl ] | สิทธิเท่าเทียมกัน | [sitthi thaothīem kan] (n, exp) EN: equal rights FR: droits équivalents [ mpl ] | สิทธิที่ได้มาตั้งแต่เกิด | [sitthi thī dāi mā tangtaē koēt] (n, exp) EN: unalienable rights | ทับสิทธิ์ | [thapsit] (v) EN: abstain from voting ; sleep on one's rights ; lose one's right ; abandon one's right ; neglect one's right | ตราจอง | [trājøng] (n) EN: document of possessory rights to land |
| | | bill of rights | (n) a statement of fundamental rights and privileges (especially the first ten amendments to the United States Constitution) | by rights | (adv) with reason or justice, Syn. properly | civil rights leader | (n) a leader of the political movement dedicated to securing equal opportunity for members of minority groups, Syn. civil rights activist, civil rights worker | civil rights movement | (n) movement in the United States beginning in the 1960s and led primarily by Blacks in an effort to establish the civil rights of individual Black citizens | commission on human rights | (n) the commission of the Economic and Social Council of the United Nations that is concerned with human rights | rights offering | (n) an offering of common stock to existing shareholders who hold subscription rights or pre-emptive rights that entitle them to buy newly issued shares at a discount from the price at which they will be offered to the public later, Syn. rights issue | special drawing rights | (n) reserve assets in the International Monetary Fund; designed to supplement reserves of gold and convertible currencies used to maintain stability in the foreign exchange market, Syn. paper gold | states' rights | (n) a doctrine that federal powers should be curtailed and returned to the individual states | states' rights | (n) the rights conceded to the states by the United States constitution | states' rights democratic party | (n) a former political party in the United States; formed in 1948 by Democrats from southern states in order to oppose to the candidacy of Harry S Truman, Syn. Dixiecrats | accordance | (n) the act of granting rights, Syn. accordance of rights |
| Brightsome | a. Bright; clear; luminous; brilliant. [ R. ] Marlowe. [ 1913 Webster ] | civil rights | a legal right or rights belonging to a person by reason of citizenship, including especially the fundamental freedoms and privileges guaranteed by the 13th and 14th amendments and subsequent acts of congress, including the right to legal and social and economic equality. [ WordNet 1.5 ] Variants: civil right |
| 享受 | [xiǎng shòu, ㄒㄧㄤˇ ㄕㄡˋ, 享 受] to enjoy (rights, benefits etc) #1,228 [Add to Longdo] | 权益 | [quán yì, ㄑㄩㄢˊ ㄧˋ, 权 益 / 權 益] rights and benefits #2,830 [Add to Longdo] | 知识产权 | [zhī shi chǎn quán, ㄓ ㄕ˙ ㄔㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 知 识 产 权 / 知 識 產 權] intellectual property rights #3,990 [Add to Longdo] | 享有 | [xiǎng yǒu, ㄒㄧㄤˇ ㄧㄡˇ, 享 有] enjoy (rights, privileges etc) #5,423 [Add to Longdo] | 出让 | [chū ràng, ㄔㄨ ㄖㄤˋ, 出 让 / 出 讓] to transfer (one's property or rights to sb else) #6,733 [Add to Longdo] | 侵权 | [qīn quán, ㄑㄧㄣ ㄑㄩㄢˊ, 侵 权 / 侵 權] to infringe the rights of; to violate; infringement #6,862 [Add to Longdo] | 人权 | [rén quán, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ, 人 权 / 人 權] human rights #7,277 [Add to Longdo] | 使用权 | [shǐ yòng quán, ㄕˇ ㄩㄥˋ ㄑㄩㄢˊ, 使 用 权 / 使 用 權] usage rights #7,625 [Add to Longdo] | 所有权 | [suǒ yǒu quán, ㄙㄨㄛˇ ㄧㄡˇ ㄑㄩㄢˊ, 所 有 权 / 所 有 權] ownership; possession; property rights; title (to property) #8,276 [Add to Longdo] | 财产权 | [cái chǎn quán, ㄘㄞˊ ㄔㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 财 产 权 / 財 產 權] property rights #27,105 [Add to Longdo] | 包销 | [bāo xiāo, ㄅㄠ ㄒㄧㄠ, 包 销 / 包 銷] have exclusive selling rights; be the sole agent for a production unit or firm #31,507 [Add to Longdo] | 公民权利 | [gōng mín quán lì, ㄍㄨㄥ ㄇㄧㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄌㄧˋ, 公 民 权 利 / 公 民 權 利] civil rights #34,748 [Add to Longdo] | 拨乱反正 | [bō luàn fǎn zhèng, ㄅㄛ ㄌㄨㄢˋ ㄈㄢˇ ㄓㄥˋ, 拨 乱 反 正 / 撥 亂 反 正] bring order out of chaos; set to rights things which have been thrown into disorder #39,899 [Add to Longdo] | 胡佳 | [Hú Jiā, ㄏㄨˊ ㄐㄧㄚ, 胡 佳] Hu Jia (1974-), PRC dissident human rights activist #41,889 [Add to Longdo] | 治外法权 | [zhì wài fǎ quán, ㄓˋ ㄨㄞˋ ㄈㄚˇ ㄑㄩㄢˊ, 治 外 法 权 / 治 外 法 權] diplomatic immunity; (hist.) extraterritoriality, the rights (under unequal treaties) of a foreigner to live in China outside Chinese jurisdiction #106,703 [Add to Longdo] | 人权法 | [rén quán fǎ, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄈㄚˇ, 人 权 法 / 人 權 法] Human Rights law (Hong Kong) #122,239 [Add to Longdo] | 萨哈罗夫 | [Sà hǎ luó fū, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄌㄨㄛˊ ㄈㄨ, 萨 哈 罗 夫 / 薩 哈 羅 夫] Andrei Sakharov (1921-1989), Russian nuclear scientist and dissident human rights activist #259,708 [Add to Longdo] | 世界人权宣言 | [Shì jiè Rén quán Xuān yán, ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄒㄩㄢ ㄧㄢˊ, 世 界 人 权 宣 言 / 世 界 人 權 宣 言] Universal Declaration of Human Rights [Add to Longdo] | 中俄伊犁条约 | [Zhōng É Yī lí tiáo yuē, ㄓㄨㄥ ㄜˊ ㄧ ㄌㄧˊ ㄊㄧㄠˊ ㄩㄝ, 中 俄 伊 犁 条 约 / 中 俄 伊 犁 條 約] Treaty of Saint Petersburg of 1881, whereby Russia handed back Yili province to Qing China in exchange for compensation payment and unequal treaty rights [Add to Longdo] | 中俄改订条约 | [Zhōng É gǎi dìng tiáo yuē, ㄓㄨㄥ ㄜˊ ㄍㄞˇ ㄉㄧㄥˋ ㄊㄧㄠˊ ㄩㄝ, 中 俄 改 订 条 约 / 中 俄 改 訂 條 約] Treaty of Saint Petersburg of 1881, whereby Russia handed back Yili province to Qing China in exchange for compensation payment and unequal treaty rights [Add to Longdo] | 人权观察 | [rén quán guān chá, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄍㄨㄢ ㄔㄚˊ, 人 权 观 察 / 人 權 觀 察] Human Rights Watch (organization) [Add to Longdo] | 人权斗士 | [rén quán dòu shì, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄉㄡˋ ㄕˋ, 人 权 斗 士 / 人 權 鬥 士] a human rights activist; a fighter for human rights [Add to Longdo] | 人民基本权利 | [rén mín jī běn quán lì, ㄖㄣˊ ㄇㄧㄣˊ ㄐㄧ ㄅㄣˇ ㄑㄩㄢˊ ㄌㄧˋ, 人 民 基 本 权 利 / 人 民 基 本 權 利] fundamental civil rights [Add to Longdo] | 人身权 | [rén shēn quán, ㄖㄣˊ ㄕㄣ ㄑㄩㄢˊ, 人 身 权 / 人 身 權] one's personal rights [Add to Longdo] | 利权 | [lì quán, ㄌㄧˋ ㄑㄩㄢˊ, 利 权 / 利 權] economic rights (e.g. of a state monopoly) [Add to Longdo] | 名称权 | [míng chēng quán, ㄇㄧㄥˊ ㄔㄥ ㄑㄩㄢˊ, 名 称 权 / 名 稱 權] copyright; rights to a trademark [Add to Longdo] | 大宪章 | [dà xiàn zhāng, ㄉㄚˋ ㄒㄧㄢˋ ㄓㄤ, 大 宪 章 / 大 憲 章] Magna Carta, contract forced on Norman king John of England in 1215 by his barons, subsequently viewed as a basis of constitutional government and human rights [Add to Longdo] | 打兑 | [dǎ duì, ㄉㄚˇ ㄉㄨㄟˋ, 打 兑 / 打 兌] to arrange (colloq.); to transfer creditor's rights (in a debt case) [Add to Longdo] | 改订伊犁条约 | [gǎi dìng Yī lí tiáo yuē, ㄍㄞˇ ㄉㄧㄥˋ ㄧ ㄌㄧˊ ㄊㄧㄠˊ ㄩㄝ, 改 订 伊 犁 条 约 / 改 订 伊 犁 條 約] Treaty of Saint Petersburg of 1881 in which Russia agreed to hand back Yili province to Qing China in exchange for compensation payment and unequal treaty rights [Add to Longdo] | 扬建利 | [yáng jiàn lì, ㄧㄤˊ ㄐㄧㄢˋ ㄌㄧˋ, 扬 建 利 / 楊 建 利] Yang JianLi, PRC human rights activist [Add to Longdo] | 维权 | [wéi quán, ㄨㄟˊ ㄑㄩㄢˊ, 维 权 / 維 權] to defend (legal) rights [Add to Longdo] | 维权人士 | [wéi quán rén shì, ㄨㄟˊ ㄑㄩㄢˊ ㄖㄣˊ ㄕˋ, 维 权 人 士 / 維 權 人 士] civil rights activist [Add to Longdo] | 萨哈罗夫人权奖 | [sà hǎ luó fū rén quán jiǎng, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄌㄨㄛˊ ㄈㄨ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄐㄧㄤˇ, 萨 哈 罗 夫 人 权 奖 / 薩 哈 羅 夫 人 權 獎] the EU Sakharov prize for human rights [Add to Longdo] | 萨哈诺夫人权奖 | [sà hǎ nuò fū rén quán jiǎng, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄋㄨㄛˋ ㄈㄨ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄐㄧㄤˇ, 萨 哈 诺 夫 人 权 奖 / 薩 哈 諾 夫 人 權 獎] the EU Sakharov prize for human rights [Add to Longdo] |
| 女権 | [じょけん, joken] TH: สิทธิสตรี EN: women's rights |
| | 人権 | [じんけん, jinken] (n, adj-no) human rights; civil liberties; (P) #4,909 [Add to Longdo] | 同等 | [どうとう, doutou] (adj-na, n, adj-no) equality; equal; same rights; same rank; equivalence; (P) #6,426 [Add to Longdo] | 理念 | [りねん, rinen] (n) (Platonic) ideal (of how things ought to be, e.g. human rights); foundational principle; idea; conception (e.g. of the university); doctrine; ideology; (P) #6,765 [Add to Longdo] | 擁護 | [ようご, yougo] (n) (1) protection; advocacy; support; defence; championship; vindication; (vs) (2) to protect (e.g. rights, etc.); to advocate (e.g. free trade, etc.); to support; (P) #8,127 [Add to Longdo] | 時効 | [じこう, jikou] (n) (1) statute of limitations; lapse of rights after a period of time; prescription (including acquisitive and extinctive prescription); (2) ageing; aging; (P) #17,029 [Add to Longdo] | JASRAC | [ジャスラック, jasurakku] (n) Japanese Society for Rights of Authors, Composers and Publishers; JASRAC [Add to Longdo] | お婆はる | [おばはる, obaharu] (v5r) (sl) to shamelessly demand one's rights [Add to Longdo] | アニマルライツ;アニマルライト | [animaruraitsu ; animaruraito] (n) animal rights [Add to Longdo] | カナダ人権憲章 | [カナダじんけんけんしょう, kanada jinkenkenshou] (n) Canadian Charter of Rights and Freedoms [Add to Longdo] | コンシューマリズム | [konshu-marizumu] (n) (See 消費者主権) advocacy of consumer rights (product safety, accurate labelling, etc.); consumer activism; consumer advocacy; consumerism (in the original sense) [Add to Longdo] | タラ戦争;鱈戦争 | [タラせんそう(タラ戦争);たらせんそう(鱈戦争), tara sensou ( tara sensou ); tarasensou ( tara sensou )] (n) Cod Wars (conflicts between the United Kingdom and Iceland regarding fishing rights (1958, 1971, 1975)) [Add to Longdo] | ペンクラブ | [penkurabu] (n) PEN club; club for poets, play-wrights, essayists, editors, novelists; (P) [Add to Longdo] | ライトサイジング | [raitosaijingu] (n) { comp } rightsizing [Add to Longdo] | リプロダクティブライツ | [ripurodakuteiburaitsu] (n) reproductive rights [Add to Longdo] | 委付 | [いふ, ifu] (n, vs) abandonment (rights, property) [Add to Longdo] | 運動家 | [うんどうか, undouka] (n) (1) activist (in a political movement); crusader (e.g. for women's rights); (2) athlete [Add to Longdo] | 運動者 | [うんどうしゃ, undousha] (n) activist (in a political movement); crusader (e.g. for women's rights) [Add to Longdo] | 家族法 | [かぞくほう, kazokuhou] (n) law governing rights within families [Add to Longdo] | 家付きの娘 | [いえつきのむすめ, ietsukinomusume] (n) daughter of the home; unmarried woman who owns (the future rights to) a home [Add to Longdo] | 家付き娘;家付娘 | [いえつきむすめ, ietsukimusume] (n) daughter of the home; unmarried woman who owns (the future rights to) a home [Add to Longdo] | 基本的人権 | [きほんてきじんけん, kihontekijinken] (n) fundamental human rights [Add to Longdo] | 既得権 | [きとくけん, kitokuken] (n) vested rights; (P) [Add to Longdo] | 救済機関 | [きゅうさいきかん, kyuusaikikan] (n) (See 人権救済機関) aid agency; rescue organization; organization to monitor human rights [Add to Longdo] | 漁業権 | [ぎょぎょうけん, gyogyouken] (n) fishing rights [Add to Longdo] | 享持 | [きょうじ, kyouji] (n) securing rights and profits [Add to Longdo] | 興行権 | [こうぎょうけん, kougyouken] (n) promotional or production rights [Add to Longdo] | 空中権 | [くうちゅうけん, kuuchuuken] (n) air rights [Add to Longdo] | 決議権 | [けつぎけん, ketsugiken] (n) voting rights [Add to Longdo] | 嫌煙権 | [けんえんけん, ken'enken] (n) non-smokers' rights [Add to Longdo] | 憲法上の権利 | [けんぽうじょうのけんり, kenpoujounokenri] (n) constitutional right; constitutional rights [Add to Longdo] | 権原 | [けんげん, kengen] (n) origin of rights [Add to Longdo] | 権利と自由のカナダ憲章 | [けんりとじゆうのカナダけんしょう, kenritojiyuuno kanada kenshou] (n) Canadian Charter of Rights and Freedoms [Add to Longdo] | 権利を棄てる | [けんりをすてる, kenriwosuteru] (exp, v1) to abandon one's rights [Add to Longdo] | 権利章典 | [けんりしょうてん, kenrishouten] (n) Bill of Rights [Add to Longdo] | 権利譲渡 | [けんりじょうと, kenrijouto] (n) transfer of rights; demise; quitclaim deed [Add to Longdo] | 権利付き | [けんりつき, kenritsuki] (n) cum rights [Add to Longdo] | 権利落ち | [けんりおち, kenriochi] (n) ex rights [Add to Longdo] | 戸主権 | [こしゅけん, koshuken] (n) rights accruing to the head of a household (according to laws now obsolete) [Add to Longdo] | 御家騒動;お家騒動 | [おいえそうどう, oiesoudou] (n) family trouble (quarrel); domestic squabble; internal squabble (over headship rights) in a daimyo family in the Edo period [Add to Longdo] | 公権 | [こうけん, kouken] (n) civil rights [Add to Longdo] | 公衆送信権 | [こうしゅうそうしんけん, koushuusoushinken] (n) public transmission rights (e.g. putting copyrightable material on the WWW or an FTP server) [Add to Longdo] | 公民権 | [こうみんけん, kouminken] (n) civil rights; franchise; citizenship; (P) [Add to Longdo] | 公民権運動 | [こうみんけんうんどう, kouminken'undou] (n) civil rights movement (esp. American) [Add to Longdo] | 公民権法 | [こうみんけんほう, kouminkenhou] (n) Civil Rights Act (US) [Add to Longdo] | 工業所有権 | [こうぎょうしょゆうけん, kougyoushoyuuken] (n) (rights to) industrial property [Add to Longdo] | 国権 | [こっけん, kokken] (n) power of the state; national sovereignty; sovereign rights; (P) [Add to Longdo] | 国際人権規約 | [こくさいじんけんきやく, kokusaijinkenkiyaku] (n) (1) International Covenants on Human Rights; ICCPR; (2) International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights; ICESCR [Add to Longdo] | 国際連合人権委員会 | [こくさいれんごうじんけんいいんかい, kokusairengoujinken'iinkai] (n) (obsc) (See 国連人権委員会) United Nations Commission on Human Rights [Add to Longdo] | 国政調査権 | [こくせいちょうさけん, kokuseichousaken] (n) parliamentary investigation rights [Add to Longdo] | 国連規約人権委員会 | [こくれんきやくじんけんいいんかい, kokurenkiyakujinken'iinkai] (n) United Nations Human Rights Council; UNCHR [Add to Longdo] |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |