bib | (n) ผ้ากันเปื้อนของเด็ก, See also: ผ้ากันเปื้อนของเด็ก, ที่กันเปี้อน |
bib | (n) ผ้าผืนเล็กๆ ใช้ผูกใต้คางเด็กเพื่อกันเปื้อน |
bib | (n) ส่วนของผ้ากันเปื้อนที่ปกคลุมหน้าอก, Syn. apron |
Bible | (n) คัมภีร์ไบเบิ้ล, See also: คัมภีร์ของศาสนาคริสต์, Syn. Holy Writ |
biblio | (prf) หนังสือ |
imbibe | (vt) ดื่ม, See also: กลืน, Syn. drink, swallow |
imbibe | (vi) ดื่ม, See also: กลืน, Syn. drink, swallow |
imbibe | (vi) ดูดซึม, See also: ซึมซับ, Syn. absorb |
imbibe | (vt) ดูดซึม, See also: ซึมซับ, Syn. absorb |
biblical | (adj) เกี่ยวกับหรือในพระคัมภีร์ไบเบิ้ล |
bibulous | (adj) ดื่มเหล้ามากเกินไป |
winebibber | (n) คนที่ดื่มเหล้าองุ่นมากเกินไป |
bibliophile | (n) คนรักหรือสะสมหนังสือ |
bibliography | (n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog. |
King James Bible | (n) คัมภีร์ไบเบิ้ลที่ตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษเมื่อปี ค.ศ.1611, Syn. King James Version, Authorized Version |
best bib and tucker | (idm) ชุดที่ดีที่สุด, See also: เสื้อผ้าที่สวยที่สุด |
bib | (บิบ) n. ผ้าผูกใต้คางเด็กเพื่อกันเปื้อน |
bible | (ไบ'เบิล) n. พระคัมภีร์ไบเบิล, See also: bible n. คัมภีร์ biblical adj. -Conf. bibles |
biblical | (บิบ'บิเคิล) adj. เกี่ยวกับคัมภีร์ศาสนาคริสต์, Syn. biblical |
bibliographer | (บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม |
bibliography | (บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม |
bibliophile | (บิบ'ลีอะฟิล, -ไฟล์) n. ผู้ชอบหนังสือ, ผู้ชอบสะสมหนังสือ, See also: bibliophilist, bibliophilism n. bibliophilistic adj. ชอบหนังสือ bibliophilic adj. ชอบหนังสือ, Syn. book lover |
imbibe | (อิมไบบฺ') vt. ดื่ม, ดูดซึม, สูบเข้า, See also: imbiber n. imbibition n., Syn. drink |
bib | (n) ผ้าเอี๊ยม |
Bible | (n) คัมภีร์ไบเบิล, พระคริสต์ธรรม |
Biblical | (adj) เกี่ยวกับพระคัมภีร์ไบเบิล |
bibliographer | (n) บรรณารักษ์ |
bibliography | (n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง |
bibliophile | (n) ผู้สะสมหนังสือ |
bibliopole | (n) คนขายหนังสือ |
bibliotheca | (n) ห้องสมุด, รายชื่อหนังสือ |
imbibe | (vt, vi) ดื่ม, กลืน, สูบเข้า, ดูดซึม |
imbibition | การดูดอุ้ม [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
imbibition | การดูดอุ้ม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliography | บรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Author bibliography | บรรณานุกรมของผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Author bibliographies | บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example: เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliography | บรรณานุกรม, Example: หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic control | การควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographical information | รายละเอียดทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliography of bibliographies | บรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic service | บริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliometric | ดัชนีวรรณกรรม, ดรรชนีวรรณกรรม, Example: <p>Bibliometrics คือการศึกษาหรือวิธีการวัด (Measure) สารสนเทศ หรือข้อความชุดหนึ่ง มีพัฒนาการมายาวนานกว่า 40 ปี นับเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินงานวิจัย จัดอยู่ในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้มากมาย <p>การใช้วิธีการ Bibliometrics เพื่อค้นหาผลกระทบ (Impact) ในทุกระดับ คือ ระดับบทความ (Paper) ระดับสาขาวิชา (Field) ระดับนักวิจัย (Researcher) ระดับสถาบัน (Institutes / Affiliations ) และระดับประเทศ (Country ) <p>วิธีการของ Bibliometrics มีการนำไปใช้เพื่อตรวจสอบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอ้างอิงของวารสารวิชาการ ข้อมูลการอ้างอิงถือว่ามีความสำคัญ ดัชนีการอ้างอิงที่ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters ในฐานข้อมูล Web of Science และ Elsevier B.V. ในฐานข้อมูล Scopus ผู้สืบค้นสามารถค้นบทความที่อ้างอิงกันไปมาได้ ดัชนีการอ้างอิงสามารถสื่อถึงความเป็นที่นิยม มีผลกระทบต่อบทความ ผู้แต่ง และวารสาร <p>Bibliometrics เป็น Truly Interdisciplinary Research มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ศึกษา 3 กลุ่ม คือ <p>1 .Bibliometrics for Bibliometricians (Methodology เน้นหาวิธีการ เทคนิคต่าง ๆ) <p>2. Bibliometrics for scientific disciplines (Scientific information) เป็นกลุ่มที่มีความสนใจกว้างขวางมากที่สุด <p>3. Bibliometrics for Sciences Policy & Management (ศึกษาในระดับชาติ ภูมิภาค สถาบัน ด้วยการแสดงแบบเปรียบเทียบหรือพรรณา) <p>การประยุกต์ดัชนี Bibliometrics แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. เชิงปริมาณ (Quantitative) <p>- จำนวนบทความ (No. of Publications) ตามรายปี สถาบัน ประเทศ สาขาวิชา เป็นต้น <p>- จำนวนการได้รับการอ้างอิง (No. of Citations : Citing, Cited) <p>- จำนวนที่มีผู้เขียนร่วม (No. Co-Authors) <p>- จำนวนสิทธิบัตร (No. Patents) การยื่นขอจดสิทธิบัตรจากพลเมืองตนเองหรือต่างชาติ <p>2. เชิงความสัมพันธ์ (Relation) <p>- ดัชนีผลงานตีพิมพ์ร่วมกัน (ความเป็นนานาชาติ) <p>- ดัชนีเชื่อมโยงจากบทความอ้างอิง (หาคำตอบประเทศใดอ้างอิงถึงประเทศใดบ้าง) <p>- ดัชนีสัมพันธ์บทความวิชาการกับสิทธิบัตร <p>- ดัชนีอ้างอิงบทความร่วมกัน (วัดหาการอ้างอิงถึงบทความ 2 บทความ ในบทความเดียวกัน) <p>บรรณานุกรม <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. ความรู้พื้นฐาน Bibliometrics ประวัติ พัฒนาการ & การประยุกต์. 2551. Available at : http://www.slideshare.net/nstda/bibliometrics. Accessed August 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliotheraphy | การรักษาด้วยหนังสือ, บรรณบำบัด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Critical bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Descriptive bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Standard Bibliographic Descriptions | มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Retrospective bibliography | บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Selective bibliography | บรรณานุกรมเลือกสรร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Trade bibliography | บรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Universal Bibliographical Control | การควบคุมทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Universal bibliography | บรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Searching, Bibliographical | การค้นทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographical citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Special bibliography | บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Subject bibliography | บรรณานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliomining | การทำเหมืองข้อมูลบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliophobia | โรคกลัวหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliotherapy | การรักษาด้วยหนังสือ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Bibliographic format | รูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Arts in the Bible | ศิลปกรรมในไบเบิล [TU Subject Heading] |
Bible | ไบเบิล [TU Subject Heading] |
Bible and literature | ไบเบิลกับวรรณกรรม [TU Subject Heading] |
Bible. N.T. | ไบเบิล. พันธสัญญาใหม่ [TU Subject Heading] |
Bible. O.T. | ไบเบิล. พันธสัญญาเก่า [TU Subject Heading] |
Bible. O.T. Exodus. | ไบเบิล. พันธสัญญาเก่า. อพยพ. [TU Subject Heading] |
Bible. O.T. Genesis. | ไบเบิล. พันธสัญญาเก่า. ปฐมกาล. [TU Subject Heading] |
Biblical teaching | การสอนจากพระคัมภีร์ [TU Subject Heading] |
Bibliographical citations | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading] |
Bibliographical services | บริการทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading] |
Bibliography | บรรณานุกรม [TU Subject Heading] |
Bibliography of bibliographies | บรรณานุกรมของบรรณานุกรม [TU Subject Heading] |
Bibliography, National | บรรณานุกรมแห่งชาติ [TU Subject Heading] |
Bibliography--Methodology | การควบคุมทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading] |
Bibliography--Union lists | สหบรรณานุกรม [TU Subject Heading] |
Bibliometrics | ดัชนีวรรณกรรม [TU Subject Heading] |
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bibliographic | (n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ |
prebiblical | (adj) ก่อนการตีพิมพ์คัมภีร์ไบเบิ้ล |
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เอกสารอ้างอิง | (n) bibliography, Example: ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่ม, Thai Definition: เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย |
ดื่มเหล้า | (v) drink, See also: imbibe, sink, knock back, swallow, swig, quaff, Syn. กินเหล้า, Example: พ่อฉันไม่ดื่มเหล้าเลยนะ สูบแต่บุหรี่อย่างเดียว, Thai Definition: กินของเหลวที่ทำให้เกิดอาการมึนเมา |
เต่า | (n) bib, Syn. เอี๊ยม, Example: น้าซื้อเต่าสีสวยๆ มาให้น้องใส่, Count Unit: แผ่น, ผืน, Thai Definition: แผ่นผ้าสำหรับคาดหน้าอกเด็กเล็กๆ |
ขี้เมา | (n) drunkard, See also: toper, sot, wine bibber, Syn. ขี้เหล้าเมายา, ขี้เหล้า, Example: วัดกลายเป็นที่อาศัยของสองขี้เมาบ้าๆ บอๆ ของหมู่บ้าน, Thai Definition: ผู้ที่ดื่มเหล้ามากเป็นประจำจนเมามายครองสติไม่ได้ |
คัมภีร์ไบเบิล | (n) Bible, Syn. ไบเบิล, Example: เรื่องเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเป็นการปฏิบัติตามคำสอนที่มีอยู่ในคัมภีร์ไบเบิล, Thai Definition: คำสอนในศาสนาคริสต์ |
คัมภีร์ | (n) scripture, See also: bible, treatise, textbook, Syn. ตำรา, หนังสือ, คู่มือ, Example: คนไทยโบราณมักเป็นผู้ที่เจนจบในคัมภีร์พระเวทและศาสตร์ทั้งหลาย เช่น โหราศาสตร์ ไวยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ เป็นต้น, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: หนังสือตำราทางศาสนาหรือโหราศาสตร์ |
คอทองแดง | (n) drinker, See also: imbiber, Example: ผู้หญิงบางคนอาจจะต้องการโอเลี้ยงสักแก้ว แต่คอทองแดงบางคนอาจจะต้องการเบียร์เย็นๆ สักแก้ว, Thai Definition: คนที่ดื่มเหล้าเก่ง, ไม่เมาง่ายๆ, Notes: (ปาก) |
เอี๊ยม | (n) infant's apron, See also: bib, Ant. ผืน, ตัว, Example: คุณต้องใส่เอี๊ยมให้ลูกก่อนป้อนข้าว, Thai Definition: แผ่นผ้าสำหรับติดหน้าอกเด็กเล็กๆ |
ไบเบิล | (n) Bible, See also: holy book, Syn. คัมภีร์ไบเบิล, Example: มิชชันนารีนำคำสอนในคัมภีร์ไบเบิลไปเผยแพร่แก่ผู้สนใจในศาสนา, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: คำสอนในศาสนาคริสต์ |
ซด | (v) sip, See also: nip, imbibe, Syn. จิบ, Example: เธอปล่อยให้สามีซดกาแฟ อ่านหนังสือพิมพ์อยู่คนเดียวตรงบริเวณหน้าบ้าน, Thai Definition: อาการที่กินน้ำร้อน น้ำชา หรือน้ำแกงร้อน ทีละน้อยๆ |
ซด | (v) drink, See also: imbibe, Syn. ดื่ม, Example: พอค่ำมาเขากับพรรคพวกก็จะไปนั่งซดเหล้าหน้าร้านปากซอย |
ก๊ง | (v) drink wine, See also: drink (alcohol), imbibe, Syn. ดื่มเหล้า, Example: แกทำกับข้าวฝีมือเยี่ยมยอดมากยิ่งเสริมให้พวกเราก๊งกันหนักขึ้น, Thai Definition: (ปาก) ดื่ม (ใช้แก่เหล้า) เช่น ก๊งเหล้า |
ดูด | (v) suck, See also: drink, imbibe, Syn. สูบ, สูด, อัด |
ทุกนิบาต | (n) name of Buddhism bible, See also: one of scored writings of Buddhism, Count Unit: บท, Thai Definition: ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาที่กำหนดด้วยธรรมหรือคาถาที่แบ่งหมวดอย่างละ 2, Notes: (บาลี) |
บรรณานุกรม | [bannānukrom] (n) EN: bibliography FR: bibliographie [ f ] |
บรรณารักษ์ | [bannārak] (n) EN: librarian FR: bibliothécaire [ m, f ] |
ชั้นหนังสือ | [chan nangseū] (n) EN: bookcase FR: bibliothèque [ f ] (meuble) ; tablette [ f ] |
ชุ่ม | [chum] (adj) EN: soaked ; wet FR: imbibé ; imprégné |
ดรรชนีชื่อหนังสือ | [datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index FR: bibliographie [ f ] |
ดูด | [dūt] (v) EN: suck ; absorb ; imbibe ; soak up ; draw in FR: sucer ; absorber ; aspirer |
เอกสารอ้างอิง | [ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography |
ห้องหนังสือ | [hǿng nangseū] (n) EN: study room FR: bureau [ m ] ; bibliothèque [ f ] |
ห้องสมุด | [hǿngsamut] (n) EN: library ; study FR: bibliothèque [ f ] |
ห้องสมุดเคลื่อนที่ | [hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ] |
ห้องสมุดเสมือนจริง | [hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library FR: bibliothèque virtuelle [ f ] |
หอพระสมุด แห่งชาติ | [Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok) FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ] |
หอสมุด | [høsamut] (n) EN: library FR: bibliothèque [ f ] |
หอสมุดแห่งชาติ | [høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library FR: bibliothèque nationale [ f ] |
เอี๊ยม | [īem] (n) EN: bib ; infant's apron FR: bavoir [ m ] ; bavette [ f ] |
ขี้เมา | [khīmao = khīmāo] (n) EN: drunkard ; toper ; sot ; wine bibber FR: ivrogne [ m, f ] ; alcoolique [ m, f ] ; buveur [ m ] ; buveuse [ f ] ; poivrot [ m ] (fam.) ; poivrote [ f ] (fam.) ; soûlard [ m ] (fam.) ; soûlarde [ f ] (fam.) ; soûlaud [ m ] (fam.) ; soûlaude [ f ] (fam.) ; soûlot [ m ] (fam.) ; soûlote [ f ] (fam.) ; pochard [ m ] (fam.) ; |
ค้นคว้าเพิ่มเติม | [khonkhwā phoēmtoēm] (n, exp) FR: références bibliographiques [ fpl ] |
ขวดนม | [khūat nom] (n, exp) EN: bottle of milk ; milk bottle FR: bouteille de lait [ f ] ; biberon [ m ] |
ก๊ง | [kong] (v) EN: drink wine ; drink alcohol ; imbibe |
หมอ | [mø] (n) EN: doctor FR: médecin [ m ] ; docteur [ m ] ; doctoresse [ f ] ; toubib [ m ] (fam.) |
หมอกลางบ้าน | [mø klāng bān] (n) EN: self-styled doctor ; quack FR: toubib (pop.) [ m ] |
หนอนหนังสือ | [nøn nangseū] (n, exp) EN: bookworm FR: rat de bibliothèque [ m ] (fam.) ; dévoreur de livres [ m ] |
แพทย์ | [phaēt] (n) EN: doctor ; physician ; medico ; medical practitioner ; medic FR: docteur [ m ] ; médecin [ m ] ; toubib [ m ] (fam.) |
พระคัมภีร์ | [Phrakhamphī] (n, prop) EN: Bible FR: Bible [ f ] |
พระคัมภีร์ภาษาไทย | [Phrakhamphī phāsā Thai] (n, prop) EN: Thai Bible FR: Bible en thaï |
เปียกชุ่ม | [pīek chum] (adj) FR: imbibé ; détrempé |
พระคัมภีร์ไบเบิล | [Prakhamphī Baiboēn] (n, prop) EN: The Holy Bible |
แทรกซึม | [saēkseum] (v) EN: infiltrate ; permeate ; be abundant FR: s'imprégner ; s'imbiber |
ซ่อมแซม | [sǿmsaēm] (v) EN: repair ; mend ; restore ; renovate FR: réparer ; rafistoler ; raccomoder ; rabibocher (fam.) |
ซด | [sot] (v) EN: sip ; nip ; imbibe FR: siroter (fam.) ; déguster ; savourer ; boire à petites gorgées |
ตู้หนังสือ | [tū nangseū] (n) EN: bookcase FR: bibliothèque [ f ] |
ยืมหนังสือจากห้องสมุด | [yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library FR: emprunter un livre à la bibliothèque |
bib | |
bibs | |
Bible | |
Bibles | |
bibbed | |
imbibe | |
bibbing | |
imbibed | |
imbibes | |
biblical | |
bibulous | |
imbibing | |
bibliophile | |
bibliography | |
bibliophiles | |
bibliographer | |
bibliographers | |
bibliographies |
bib | (n) top part of an apron; covering the chest |
bib | (n) a napkin tied under the chin of a child while eating |
bib-and-tucker | (n) an attractive outfit |
bibbed | (adj) having a bib, Ant. bibless |
bibb lettuce | (n) lettuce with relatively crisp leaves |
bible | (n) the sacred writings of the Christian religions, Syn. Word of God, Christian Bible, Scripture, Holy Scripture, Good Book, Book, Holy Writ, Word |
bible | (n) a book regarded as authoritative in its field |
bible belt | (n) southern and midwestern United States where Protestant fundamentalism is dominant |
biblical | (adj) of or pertaining to or contained in or in accordance with the Bible, Syn. scriptural |
biblical | (adj) in keeping with the nature of the Bible or its times or people |
biblical aramaic | (n) the form of Aramaic that was spoken in Palestine in the time of the New Testament |
bibliographer | (n) someone trained in compiling bibliographies |
bibliographic | (adj) relating to or dealing with bibliography, Syn. bibliographical |
bibliography | (n) a list of writings with time and place of publication (such as the writings of a single author or the works referred to in preparing a document etc.) |
bibliolatrous | (adj) given to Bible-worship |
bibliolatry | (n) the worship of the Bible, Syn. Bible-worship |
bibliomania | (n) preoccupation with the acquisition and possession of books |
bibliomaniacal | (adj) characteristic of or characterized by or noted for bibliomania |
bibliophile | (n) someone who loves (and usually collects) books, Syn. book lover, booklover |
bibliophilic | (adj) of or relating to bibliophiles |
bibliopole | (n) a dealer in secondhand books (especially rare or curious books), Syn. bibliopolist |
bibliopolic | (adj) of or relating to bibliopoles |
bibliotheca | (n) a collection of books |
bibliothecal | (adj) of or relating to a library or bibliotheca or a librarian, Syn. bibliothecarial |
bibliotic | (adj) of or relating to bibliotics |
bibliotics | (n) the scientific study of documents and handwriting etc. especially to determine authorship or authenticity |
bibliotist | (n) someone who engages in bibliotics |
bibos | (n) wild ox, Syn. genus Bibos |
bibulous | (adj) given to or marked by the consumption of alcohol, Syn. drunken, sottish, boozy |
douay bible | (n) an English translation of the Vulgate by Roman Catholic scholars, Syn. Rheims-Douay Bible, Douay Version, Rheims-Douay Version, Douay-Rheims Version, Douay-Rheims Bible |
exbibit | (n) a unit of information equal to 1024 pebibits or 2^60 bits, Syn. Eibit |
family bible | (n) a large Bible with pages to record marriages and births |
gibibit | (n) a unit of information equal to 1024 mebibits or 2^30 (1, 073, 741, 824) bits, Syn. Gibit |
imbibe | (v) receive into the mind and retain |
imbibition | (n) (chemistry) the absorption of a liquid by a solid or gel |
kibibit | (n) a unit of information equal to 1024 bits, Syn. kibit |
mebibit | (n) a unit of information equal to 1024 kibibits or 2^20 (1, 048, 576) bits, Syn. Mibit |
new english bible | (n) a modern English version of the Bible and Apocrypha |
pebibit | (n) a unit of information equal to 1024 tebibits or 2^50 bits, Syn. Pibit |
postbiblical | (adj) subsequent to biblical times |
tebibit | (n) a unit of information equal to 1024 gibibits or 2^40 (1, 099, 511, 627, 776) bits, Syn. Tibit |
yobibit | (n) a unit of information equal to 1024 zebibits or 2^80 bits, Syn. Yibit |
zebibit | (n) a unit of information equal to 1024 exbibits or 2^70 bits, Syn. Zibit |
absorb | (v) take in, also metaphorically, Syn. imbibe, draw, suck, take up, take in, soak up, sop up, suck up |
assimilate | (v) take (gas, light or heat) into a solution, Syn. imbibe |
authorized version | (n) an English translation of the Bible published in 1611, Syn. King James Bible, King James Version |
costmary | (n) tansy-scented Eurasian perennial herb with buttonlike yellow flowers; used as potherb or salad green and sometimes for potpourri or tea or flavoring; sometimes placed in genus Chrysanthemum, Syn. Chrysanthemum balsamita, bible leaf, balsam herb, Tanacetum balsamita, alecost, mint geranium |
drink | (v) take in liquids, Syn. imbibe |
drinker | (n) a person who drinks alcoholic beverages (especially to excess), Syn. juicer, toper, imbiber, Ant. nondrinker |
drinking | (n) the act of consuming liquids, Syn. imbibing, imbibition |
Abib | ‖n. [ Heb. abīb, lit. an ear of corn. The month was so called from barley being at that time in ear. ] The first month of the Jewish ecclesiastical year, corresponding nearly to our April. After the Babylonish captivity this month was called |
Bib | n. [ From Bib, v., because the bib receives the drink that the child slavers from the mouth. ] |
Bib | v. i. To drink; to sip; to tipple. [ 1913 Webster ] He was constantly bibbing. Locke. [ 1913 Webster ] |
Bibacious | a. [ L. bibax, bibacis, fr. bibere. See Bib. ] Addicted to drinking. [ 1913 Webster ] |
Bibacity | n. The practice or habit of drinking too much; tippling. Blount. [ 1913 Webster ] |
Bibasic | a. [ Pref. bi- + basic. ] (Chem.) Having to hydrogen atoms which can be replaced by positive or basic atoms or radicals to form salts; -- said of acids. See Dibasic. [ 1913 Webster ] |
Bibb | n. A bibcock. See Bib, n., 3. [ 1913 Webster ] |
Bibbe | This miller hath . . . bibbed ale. Chaucer. [ 1913 Webster ] Variants: Bib |
Bibber | n. One given to drinking alcoholic beverages too freely; a tippler; -- chiefly used in composition; |
Bibble-babble | n. [ A reduplication of babble. ] Idle talk; babble. Shak. [ 1913 Webster ] |
Bibbs | n. pl. (Naut.) Pieces of timber bolted to certain parts of a mast to support the trestletrees. [ 1913 Webster ] |
Bibcock | n. A cock or faucet having a bent down nozzle. Knight. [ 1913 Webster ] |
Bibelot | ‖n. [ F. ] A small decorative object without practical utility. [ 1913 Webster ] Her pictures, her furniture, and her bibelots. M. Crawford. [ Webster 1913 Suppl. ] |
Bibirine | n. (Chem.) See Bebeerine. [ 1913 Webster ] |
Bibitory | a. Of or pertaining to drinking or tippling. [ 1913 Webster ] |
Bible | n. [ F. bible, L. biblia, pl., fr. Gr.
|
Bibler | n. [ See Bib, v. t. ] A great drinker; a tippler. |
bibless | adj. lacking a bib. |
Biblical | a. Pertaining to, or derived from, the Bible; |
Biblicality | n. The quality of being biblical; a biblical subject. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Biblically | adv. According to the Bible. [ 1913 Webster ] |
Biblicism | n. [ Cf. F. biblicisme. ] Learning or literature relating to the Bible. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Biblicist | n. One skilled in the knowledge of the Bible; a demonstrator of religious truth by the Scriptures. [ 1913 Webster ] |
Bibliograph | n. Bibliographer. [ 1913 Webster ] |
Bibliographer | n. [ Gr. &unr_;, fr. &unr_; book + &unr_; to write : cf. F. bibliographe. ] One who writes, or is versed in, bibliography. [ 1913 Webster ] |
Bibliographical | |
Bibliography | pos>n.; |
Bibliolatrist | |
Bibliolatry | n. [ Gr. |
Bibliological | a. Relating to bibliology. [ 1913 Webster ] |
Bibliology | n. [ Gr. &unr_; book + -logy. ] [ 1913 Webster ] |
Bibliomancy | n. [ Gr. &unr_; book + -mancy: cf. F. bibliomancie. ] A kind of divination, performed by selecting passages of Scripture at hazard, and drawing from them indications concerning future events. [ 1913 Webster ] |
Bibliomania | n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; madness: cf. F. bibliomanie. ] A mania for acquiring books. [ 1913 Webster ] |
Bibliomaniac | n. One who has a mania for books. -- |
Bibliomaniacal | a. Pertaining to a passion for books; relating to a bibliomaniac. [ 1913 Webster ] |
Bibliopegic | a. [ Gr. |
Bibliopegist | n. A bookbinder. [ 1913 Webster ] |
Bibliopegistic | a. Pertaining to the art of binding books. [ R. ] Dibdin. [ 1913 Webster ] |
Bibliopegy | n. [ See Bibliopegic. ] The art of binding books. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Bibliophile | n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; to love: cf. F. bibliophile. ] A lover of books. [ 1913 Webster ] |
Bibliophilism | n. Love of books. [ 1913 Webster ] |
Bibliophilist | n. A lover of books. [ 1913 Webster ] |
Bibliophobia | n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; to fear. ] A dread of books. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Bibliopolar | |
Bibliopole | n. [ L. bibliopola, Gr. &unr_;; &unr_; book + &unr_; to sell: cf. F. bibliopole. ] One who sells books. [ 1913 Webster ] |
Bibliopolism | n. The trade or business of selling books. [ 1913 Webster ] |
Bibliopolist | n. Same as Bibliopole. [ 1913 Webster ] |
Bibliopolistic | a. Of or pertaining to bibliopolism. Dibdin. [ 1913 Webster ] |
Bibliotaphist | |
Bibliothec | n. A librarian. [ 1913 Webster ] |
节 | [节 / 節] festival; section; segment; point; part; to economize; to save; temperate; classifier for segments, e.g. lessons, train wagons, biblical verses #999 [Add to Longdo] |
圣经 | [圣 经 / 聖 經] Holy Bible; the Confucian classics #18,422 [Add to Longdo] |
书信 | [书 信 / 書 信] a letter; an epistle (in the bible) #18,457 [Add to Longdo] |
犹太 | [犹 太 / 猶 太] Jew; Jewish; Judea (in Biblical Palestine) #20,417 [Add to Longdo] |
书库 | [书 库 / 書 庫] a store room for books; fig. an erudite person; the Bibliotheca and Epitome of pseudo-Apollodorus #23,149 [Add to Longdo] |
诗篇 | [诗 篇 / 詩 篇] a poem; a composition in verse; fig. epic (compared with historical epic); the biblical Book of Psalms #28,644 [Add to Longdo] |
救星 | [救 星] lit. saving star (cf star of Bethlehem in biblical nativity story); fig. savior (individual or organization); liberator; emancipator; knight in shining armor; cf Mao Zedong in north Shaanxi folk song The East is red 東方紅|东方红 #31,475 [Add to Longdo] |
箴言 | [箴 言] an admonition; a word of warning, ruling or advise; a motto; the biblical Book of Proverbs #34,486 [Add to Longdo] |
阿兰 | [阿 兰 / 阿 蘭] Alan, Allen, Allan, Alain etc (name); A-lan (Chinese female name); Ram, begotten of Hezron 赫茲龍|赫兹龙 and begetter of Amminadab 阿米納達布|阿米纳达布 in biblical Book of Ruth 路得記|路得记, 4:19 and Matthew 1:4 #38,563 [Add to Longdo] |
耶和华 | [耶 和 华 / 耶 和 華] Jehovah (biblical name for God, Hebrew: YHWH); compare Yahweh 雅威[ Ya3 wei1 ] and God 上帝[ Shang4 di4 ] #40,353 [Add to Longdo] |
约瑟夫 | [约 瑟 夫 / 約 瑟 夫] Joseph (Biblical name) #46,042 [Add to Longdo] |
玛利亚 | [玛 利 亚 / 瑪 利 亞] Mary (biblical name) #65,742 [Add to Longdo] |
伯利恒 | [伯 利 恒 / 伯 利 恆] Bethelehem (in the biblical nativity story) #74,594 [Add to Longdo] |
传略 | [传 略 / 傳 略] bibliographic sketch #92,885 [Add to Longdo] |
亚伯拉罕 | [亚 伯 拉 罕 / 亞 伯 拉 罕] Abraham (name); Abraham, father of Judaism and Islam in the Bible and Quran; same as Ibrahim 易卜拉辛 #94,344 [Add to Longdo] |
目录学 | [目 录 学 / 目 錄 學] bibliography #97,300 [Add to Longdo] |
雅歌 | [雅 歌] part of the Book of Songs 詩經|诗经; a song; a poem set to elegant music; a refined chant; the biblical Song of Solomon #108,015 [Add to Longdo] |
迦南 | [迦 南] Canaan (in Biblical Palestine) #153,793 [Add to Longdo] |
加利利 | [加 利 利] Galilee (in biblical Palestine) #206,674 [Add to Longdo] |
传赞 | [传 赞 / 傳 贊] postscript to bibliography #208,416 [Add to Longdo] |
路得 | [路 得] Ruth (name); mother of Obed in the Bible #240,598 [Add to Longdo] |
传记性 | [传 记 性 / 傳 記 性] bibliographic #276,482 [Add to Longdo] |
彼拉多 | [彼 拉 多] Pilate (Pontius Pilate in the Biblical passion story) #281,217 [Add to Longdo] |
灾变论 | [灾 变 论 / 災 變 論] catastrophism; the theory that geological change is caused by catastrophic events such as the Biblical flood #452,859 [Add to Longdo] |
灾变说 | [灾 变 说 / 災 變 說] catastrophism (theory that geological changes are brought about by catastrophes such as the biblical flood #855,097 [Add to Longdo] |
三位博士 | [三 位 博 士] the Magi; the Three Wise Kings from the East in the biblical nativity story [Add to Longdo] |
传道书 | [传 道 书 / 傳 道 書] book of sermons; the biblical book of Ecclesiastes [Add to Longdo] |
则步隆 | [则 步 隆 / 則 步 隆] Zabulon or Zebulun, biblical land between Jordan and Galilee (Matthew 4:15) [Add to Longdo] |
加利肋亚 | [加 利 肋 亚 / 加 利 肋 亞] Galilee (in biblical Palestine) [Add to Longdo] |
参孙 | [参 孙 / 參 孫] Samson (name); biblical hero around 1100 BC [Add to Longdo] |
围兜 | [围 兜 / 圍 兜] bib [Add to Longdo] |
大先知书 | [大 先 知 书 / 大 先 知 書] the biblical books of the prophets [Add to Longdo] |
巴拉巴斯 | [巴 拉 巴 斯] Barabbas (in the Biblical passion story) [Add to Longdo] |
希律王 | [希 律 王] King Herod (in the biblical nativity story) [Add to Longdo] |
希罗底 | [希 罗 底 / 希 羅 底] Herodium (town in biblical Judea) [Add to Longdo] |
希西家 | [希 西 家] Hezekiah (son of Ahaz), biblical king of Judah c. 700 BC [Add to Longdo] |
拿撒勒 | [拿 撒 勒] Nazareth (in Biblical Palestine) [Add to Longdo] |
扫罗 | [扫 罗 / 掃 羅] Saul (name); biblical king around 1000 BC [Add to Longdo] |
最后晚餐 | [最 后 晚 餐 / 最 後 晚 餐] the Last Supper (in the biblical Passion story) [Add to Longdo] |
会幕 | [会 幕 / 會 幕] tabernacle (biblical word for a meeting hall or tent) [Add to Longdo] |
东方三博士 | [东 方 三 博 士 / 東 方 三 博 士] the Magi; the Three Wise Kings from the East in the biblical nativity story [Add to Longdo] |
约书亚 | [约 书 亚 / 約 書 亞] Joshua (name, biblical prophet) [Add to Longdo] |
圣婴 | [圣 婴 / 聖 嬰] Holy Infant (cf. biblical nativity story) [Add to Longdo] |
圣经典故 | [圣 经 典 故 / 聖 經 典 故] biblical classic [Add to Longdo] |
圣经段落 | [圣 经 段 落 / 聖 經 段 落] Bible passage [Add to Longdo] |
般雀比拉多 | [般 雀 比 拉 多] Pontius Pilate (in the Biblical passion story) [Add to Longdo] |
葛法翁 | [葛 法 翁] Capernaum (biblical town on the Sea of Galilee) [Add to Longdo] |
马大 | [马 大 / 馬 大] Martha (biblical name) [Add to Longdo] |
黑落德 | [黑 落 德] Herod (biblical King) [Add to Longdo] |
Bibel | (n) |die, nur Sg.| คัมภีร์ไบเบิ้ล |
bibliothèque | (n) |f| ห้องสมุด เช่น La bibliothèque de l’école dispose d’une collection d’environ 350, 000 volumes. |
参照 | [さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo] |
聖書 | [せいしょ, seisho] (n, adj-no) Bible; scriptures; (P) #3,583 [Add to Longdo] |
書誌 | [しょし, shoshi] (n, adj-no) bibliography #3,825 [Add to Longdo] |
総覧;綜覧;總覽(oK) | [そうらん, souran] (n, vs, adj-no) guide; general survey; conspectus; comprehensive bibliography #7,159 [Add to Longdo] |
微分 | [びぶん, bibun] (n, vs) differential (e.g. calculus) #8,387 [Add to Longdo] |
旅人(P);たび人 | [たびびと(P);りょじん(旅人), tabibito (P); ryojin ( tabibito )] (n) traveller; traveler; wayfarer; tourist; (P) #8,842 [Add to Longdo] |
黙示録 | [もくしろく, mokushiroku] (n) Revelation (book of the Bible); the Apocalypse #13,922 [Add to Longdo] |
経典 | [きょうてん;けいてん, kyouten ; keiten] (n) sacred books; sutras; scriptures; Bible #16,493 [Add to Longdo] |
一節 | [いっせつ(P);ひとふし, issetsu (P); hitofushi] (n) a verse (e.g. in the Bible); stanza; paragraph; passage; a joint; section; a tune; note; strain; measure; (P) #18,039 [Add to Longdo] |
美貌 | [びぼう, bibou] (n, adj-no) beautiful face; good looks; beauty #19,387 [Add to Longdo] |
びびる | [bibiru] (v5r, vi) (1) to feel nervous; to feel self-conscious; to feel surprise; (2) (col) to get cold feet; to get the jitters; to feel frightened [Add to Longdo] |
アモス書 | [アモスしょ, amosu sho] (n) Amos (book of the Bible) [Add to Longdo] |
アンビバレンス;アンビヴァレンス | [anbibarensu ; anbivarensu] (n, adj-no) ambivalence [Add to Longdo] |
イザヤ書 | [イザヤしょ, izaya sho] (n) Isaiah (book of the Bible) [Add to Longdo] |
インビボ | [inbibo] (exp) in vivo (lat [Add to Longdo] |
ウルガタ;ヴルガータ | [urugata ; vuruga-ta] (n) Vulgate (Catholic Latin bible) (lat [Add to Longdo] |
エステル記 | [エステルき, esuteru ki] (n) Esther (book of the Bible) [Add to Longdo] |
エズラ記 | [エズラき, ezura ki] (n) Ezra (book of the Bible) [Add to Longdo] |
エゼキエル書 | [エゼキエルしょ, ezekieru sho] (n) Ezekiel (book of the Bible) [Add to Longdo] |
エフェソの信徒への手紙 | [エフェソのしんとへのてがみ, efeso noshintohenotegami] (n) Epistle to the Ephesians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
エレミヤ書 | [エレミヤしょ, eremiya sho] (n) Jeremiah (book of the Bible) [Add to Longdo] |
オバデヤ書;オバデア書 | [オバデヤしょ(オバデヤ書);オバデアしょ(オバデア書), obadeya sho ( obadeya kaki ); obadea sho ( obadea kaki )] (n) Obadiah (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ガラテヤの信徒への手紙 | [ガラテヤのしんとへのてがみ, garateya noshintohenotegami] (n) Epistle to the Galatians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ガラテヤ書 | [ガラテヤしょ, garateya sho] (n) (obsc) (See ガラテヤ人への手紙) Epistle to the Galatians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ガラテヤ人への手紙 | [ガラテヤじんへのてがみ, garateya jinhenotegami] (n) Epistle to the Galatians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
コヘレトの言葉 | [コヘレトのことば, kohereto nokotoba] (n) Ecclesiastes (book of the Bible) (lit [Add to Longdo] |
コリントの信徒への手紙一 | [コリントのしんとへのてがみいち, korinto noshintohenotegamiichi] (n) First Epistle to the Corinthians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
コリントの信徒への手紙二 | [コリントのしんとへのてがみに, korinto noshintohenotegamini] (n) Second Epistle to the Corinthians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
コリント書 | [コリントしょ, korinto sho] (n) (obsc) (See コリント人への手紙) Epistle to the Corinthians (comprising two books of the Bible) [Add to Longdo] |
コリント人への手紙 | [コリントじんへのてがみ, korinto jinhenotegami] (n) Epistle to the Corinthians (comprising two books of the Bible) [Add to Longdo] |
コロサイの信徒への手紙 | [コロサイのしんとへのてがみ, korosai noshintohenotegami] (n) Epistle to the Colossians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
サムエル記下 | [サムエルきか, samueru kika] (n) Samuel II (book of the Bible) [Add to Longdo] |
サムエル記上 | [サムエルきじょう, samueru kijou] (n) Samuel I (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ゼカリヤ書 | [ゼカリヤしょ, zekariya sho] (n) Zechariah (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ゼッケン | [zekken] (n) cloth bib with number or logo worn by athletes, etc. (e.g. over their shirts) (ger [Add to Longdo] |
ゼファニヤ書;ゼパニヤ書 | [ゼファニヤしょ(ゼファニヤ書);ゼパニヤしょ(ゼパニヤ書), zefaniya sho ( zefaniya kaki ); zepaniya sho ( zepaniya kaki )] (n) Zephaniah (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ダニエル書 | [ダニエルしょ, danieru sho] (n) Daniel (book of the Bible) [Add to Longdo] |
テサロニケの信徒への手紙一 | [テサロニケのしんとへのてがみいち, tesaronike noshintohenotegamiichi] (n) First Epistle to the Thessalonians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
テサロニケの信徒への手紙二 | [テサロニケのしんとへのてがみに, tesaronike noshintohenotegamini] (n) Second Epistle to the Thessalonians (book of the Bible) [Add to Longdo] |
テトスへの手紙 | [テトスへのてがみ, tetosu henotegami] (n) Epistle to Titus (book of the Bible) [Add to Longdo] |
テモテへの手紙一 | [テモテへのてがみいち, temote henotegamiichi] (n) First Epistle to Timothy (book of the Bible) [Add to Longdo] |
テモテへの手紙二 | [テモテへのてがみに, temote henotegamini] (n) Second Epistle to Timothy (book of the Bible) [Add to Longdo] |
テルアビブ | [teruabibu] (n) Tel Aviv; (P) [Add to Longdo] |
トマス福音書 | [トマスふくいんしょ, tomasu fukuinsho] (n) Gospel of Thomas (apocryphal) (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ナホム書 | [ナホムしょ, nahomu sho] (n) Nahum (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ネヘミヤ記 | [ネヘミヤき, nehemiya ki] (n) Nehemiah (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ハガイ書 | [ハガイしょ, hagai sho] (n) Haggai (book of the Bible) [Add to Longdo] |
ハバクク書 | [ハバククしょ, habakuku sho] (n) Habakkuk (book of the Bible) [Add to Longdo] |
バイブル | [baiburu] (n) Bible; (P) [Add to Longdo] |
ビーバー(P);ビバ(P);ビーバ | [bi-ba-(P); biba (P); bi-ba] (n) (1) (usu. ビーバー or ビーバ) beaver; (2) (usu. ビバ or ビーバ) viva (ita [Add to Longdo] |
ビブリッド | [びぶりっど, biburiddo] biblid [Add to Longdo] |
国際書誌 | [こくさいしょし, kokusaishoshi] international bibliography [Add to Longdo] |
参照 | [さんしょう, sanshou] bibliographical reference [Add to Longdo] |
書誌 | [しょし, shoshi] bibliography [Add to Longdo] |
書誌学 | [しょしがく, shoshigaku] bibliology, bibliography [Add to Longdo] |
書誌作成技術 | [しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu] bibliography [Add to Longdo] |
書誌参照 | [しょしさんしょう, shoshisanshou] bibliographic reference [Add to Longdo] |
書誌標示 | [しょしひょうじ, shoshihyouji] biblid [Add to Longdo] |
書誌要素 | [しょしようそ, shoshiyouso] bibliographic element [Add to Longdo] |
新刊書誌 | [しんかんしょし, shinkanshoshi] current bibliography [Add to Longdo] |
全国書誌 | [ぜんこくしょし, zenkokushoshi] national bibliography [Add to Longdo] |
遡及書誌 | [そきゅうしょし, sokyuushoshi] retrospective bibliography [Add to Longdo] |
微分方程式 | [びぶんほうていしき, bibunhouteishiki] differential equation [Add to Longdo] |
司書 | [ししょ, shisho] Bibliothekar [Add to Longdo] |
図書館 | [としょかん, toshokan] Bibliothek [Add to Longdo] |
旅人 | [たびびと, tabibito] Reisender, Wanderer [Add to Longdo] |
書誌学 | [しょしがく, shoshigaku] Bibliographie, Buecherkunde [Add to Longdo] |
聖書 | [せいしょ, seisho] Heilige_Schrift, Bibel [Add to Longdo] |
蔵書 | [ぞうしょ, zousho] Buechersammlung, Bibliothek [Add to Longdo] |
Time: 0.0659 seconds, cache age: 5.149 (clear)