ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

biblio

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -biblio-, *biblio*
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
biblio(prf) หนังสือ
bibliophile(n) คนรักหรือสะสมหนังสือ
bibliography(n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog.

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
bibliographer(บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม
bibliography(บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม
bibliophile(บิบ'ลีอะฟิล, -ไฟล์) n. ผู้ชอบหนังสือ, ผู้ชอบสะสมหนังสือ, See also: bibliophilist, bibliophilism n. bibliophilistic adj. ชอบหนังสือ bibliophilic adj. ชอบหนังสือ, Syn. book lover

English-Thai: Nontri Dictionary
bibliographer(n) บรรณารักษ์
bibliography(n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง
bibliophile(n) ผู้สะสมหนังสือ
bibliopole(n) คนขายหนังสือ
bibliotheca(n) ห้องสมุด, รายชื่อหนังสือ

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Bibliographerผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographerผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographic citationการอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic controlการควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic formatรูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic instructionการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม, Example: <b>การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม (Bibliographic instruction)</b> เป็นบริการที่บรรณารักษ์ต้องเป็นผู้ให้ บริการแก่ผู้ใช้โดยการสอนหรือสร้างทักษะการรู้สารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประกอบด้วยโปรแกรมการเรียนการสอนที่ออกแบบมาเพื่อสอนผู้ใช้ห้องสมุดเกี่ยวกับวิธีการค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเป็นการช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ด้วยตนเอง ในการสอนมักจะครอบคลุมถึงระบบของห้องสมุด โครงสร้างของวรรณกรรมในสาขา วิธีการวิจัยที่เหมาะสมในสาขาวิชา ทรัพยากรโดยเฉพาะ และเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหา (บัตรรายการห้องสมุด ดัชนีและบริการสาระสังเขป ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฯลฯ ) โดยการสอนแนวคิดและตรรกะในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินผล และโดยสนับสนุนความเป็นอิสระของสารสนเทศและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนการใช้ห้องสมุดเกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในชั้นเรียนแบบเป็นทางการ ในกลุ่มขนาดเล็ก การพบกันแบบตัวต่อตัว การนำเสนอด้วยวีดิทัศน์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน<br> <br>ในห้องสมุดมหาวิทยาลัย การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมอาจเป็นการสอนโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาหรือเป็นการสอนแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ห้องสมุดที่มีห้องปฏิบัติการการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ที่มีอุปกรณ์ครบครันสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสอนเกี่ยวกับการใช้บัตรรายการออนไลน์ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และทรัพยากรอินเทอร์เน็ต ซึ่งหน้าที่สอนการเข้าถึงรายการบรรณานุกรมเป็นหน้าที่หลักสำคัญของบรรณารักษ์ผู้ให้บริการที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นพิเศษและมีประสบการณ์ในด้านวิธีการสอน อย่างไรก็ตามการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เรียนในหลักสูตรนั้น คณาจารย์อาจต้องร่วมมือกับบรรณารักษ์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีค้นสารสนเทศด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป นอกจากนั้นห้องสมุดมหาวิทยาลัยบางแห่งอาจจัดช่วงเวลาให้กับผู้ใช้ที่ทำวิจัย โดยบรรณารักษ์จะทำงานกับผู้ใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่งเพื่อช่วยให้คำปรึกษาการทำวิจัยแก่ผู้ใช้ที่ทำวิจัยโดยเฉพาะ [Assistive Technology]
Bibliographic serviceบริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical citationsการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading]

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bibliographic(n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
เอกสารอ้างอิง(n) bibliography, Example: ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่ม, Thai Definition: เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
บรรณานุกรม[bannānukrom] (n) EN: bibliography  FR: bibliographie [ f ]
บรรณารักษ์[bannārak] (n) EN: librarian  FR: bibliothécaire [ m, f ]
ชั้นหนังสือ[chan nangseū] (n) EN: bookcase  FR: bibliothèque [ f ] (meuble) ; tablette [ f ]
ดรรชนีชื่อหนังสือ[datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index  FR: bibliographie [ f ]
เอกสารอ้างอิง[ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography
ห้องหนังสือ[hǿng nangseū] (n) EN: study room  FR: bureau [ m ] ; bibliothèque [ f ]
ห้องสมุด[hǿngsamut] (n) EN: library ; study  FR: bibliothèque [ f ]
ห้องสมุดเคลื่อนที่[hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library  FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ]
ห้องสมุดเสมือนจริง[hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library  FR: bibliothèque virtuelle [ f ]
หอพระสมุด แห่งชาติ[Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok)  FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ]

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
bibliography
bibliographic
bibliographies
bibliographical

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
bibliophile
bibliography
bibliophiles
bibliographer
bibliographers
bibliographies

WordNet (3.0)
bibliographer(n) someone trained in compiling bibliographies
bibliographic(adj) relating to or dealing with bibliography, Syn. bibliographical
bibliography(n) a list of writings with time and place of publication (such as the writings of a single author or the works referred to in preparing a document etc.)
bibliolatrous(adj) given to Bible-worship
bibliolatry(n) the worship of the Bible, Syn. Bible-worship
bibliomania(n) preoccupation with the acquisition and possession of books
bibliomaniacal(adj) characteristic of or characterized by or noted for bibliomania
bibliophile(n) someone who loves (and usually collects) books, Syn. book lover, booklover
bibliophilic(adj) of or relating to bibliophiles
bibliopole(n) a dealer in secondhand books (especially rare or curious books), Syn. bibliopolist

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Bibliograph

n. Bibliographer. [ 1913 Webster ]

Bibliographer

n. [ Gr. &unr_;, fr. &unr_; book + &unr_; to write : cf. F. bibliographe. ] One who writes, or is versed in, bibliography. [ 1913 Webster ]

Bibliographical

{ } a. [ Cf. F. bibliographique. ] Pertaining to bibliography, or the history of books. -- Bib`li*o*graph"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

Variants: Bibliographic
Bibliography

pos>n.; pl. Bibliographies [ Gr. bibliografi`a: cf. F. bibliographie. ] 1. a history or description of books and manuscripts, with notices of the different editions, the times when they were printed, etc. [ 1913 Webster ]

2. a list of books or other printed works having some common theme, such as topic, period, author, or publisher. [ PJC ]

3. a list of the published (and sometimes unpublished) sources of information referred to in a scholarly discourse or other text, or used as reference materials for its preparation. [ PJC ]

4. the branch of library science dealing with the history and classification of books and other published materials. [ PJC ]

Bibliolatrist

{ } n. [ See. Bibliolatry. ] A worshiper of books; especially, a worshiper of the Bible; a believer in its verbal inspiration. De Quincey. [ 1913 Webster ]

Variants: Bibliolater
Bibliolatry

n. [ Gr. bibli`on book + latrei`a service, worship, latrey`ein to serve. ] Book worship, esp. of the Bible; -- applied by Roman Catholic divines to the exaltation of the authority of the Bible over that of the pope or the church, and by Protestants to an excessive regard to the letter of the Scriptures. Coleridge. F. W. Newman. [ 1913 Webster ]

Bibliological

a. Relating to bibliology. [ 1913 Webster ]

Bibliology

n. [ Gr. &unr_; book + -logy. ] [ 1913 Webster ]

1. An account of books; book lore; bibliography. [ 1913 Webster ]

2. The literature or doctrine of the Bible. [ 1913 Webster ]

Bibliomancy

n. [ Gr. &unr_; book + -mancy: cf. F. bibliomancie. ] A kind of divination, performed by selecting passages of Scripture at hazard, and drawing from them indications concerning future events. [ 1913 Webster ]

Bibliomania

n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; madness: cf. F. bibliomanie. ] A mania for acquiring books. [ 1913 Webster ]

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
传略[zhuànlu:è, ㄓㄨㄢˋlu:ㄜˋ,   /  ] bibliographic sketch #92,885 [Add to Longdo]
目录学[mù lù xué, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ ㄒㄩㄝˊ,    /   ] bibliography #97,300 [Add to Longdo]
传记性[zhuàn jì xìng, ㄓㄨㄢˋ ㄐㄧˋ ㄒㄧㄥˋ,    /   ] bibliographic #276,482 [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Bibliografie { f }; Bibliographie { f } | Bibliografien { pl }; Bibliographien { pl } | abgeschlossene Bibliographiebibliography | bibliographies | closed bibliography [Add to Longdo]
Bibliograph { m }bibliographer [Add to Longdo]
Bibliophilie { f }bibliophily [Add to Longdo]
Bibliothek { f } | Bibliotheken { pl } | öffentliche Bibliothek { f } | wissenschaftliche Bibliothek { f }library | libraries | public library | academic library; research library; scientific library [Add to Longdo]
Bibliothekar { m }; Bibliothekarin { f } | Bibliothekare { pl }librarian | librarians [Add to Longdo]
Bibliotheksausbildung { f }library education [Add to Longdo]
Bibliotheksexperten { pl }peers [Add to Longdo]
Bibliotheksführung { f }library tour [Add to Longdo]
Bibliotheksgebäude { n }library building [Add to Longdo]
Bibliotheksgrundriss { m }library's outline [Add to Longdo]
Bibliothekspersonal { n }library personnel; library staff [Add to Longdo]
Bibliotheksschule { f }library school [Add to Longdo]
Bibliotheksschulen-Ausbildung { f }library school education [Add to Longdo]
Bibliothekstechniker { m }library technician [Add to Longdo]
Bibliotheksverwaltung { f }library maintenance [Add to Longdo]

French-Thai: Longdo Dictionary
bibliothèque(n) |f| ห้องสมุด เช่น La bibliothèque de l’école dispose d’une collection d’environ 350, 000 volumes.

Japanese-English: EDICT Dictionary
参照[さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo]
書誌[しょし, shoshi] (n, adj-no) bibliography #3,825 [Add to Longdo]
総覧;綜覧;總覽(oK)[そうらん, souran] (n, vs, adj-no) guide; general survey; conspectus; comprehensive bibliography #7,159 [Add to Longdo]
ビブリオグラフィー[biburiogurafi-] (n) bibliography [Add to Longdo]
ビブリオマニア[biburiomania] (n) bibliomania [Add to Longdo]
愛書家[あいしょか, aishoka] (n) bibliophile [Add to Longdo]
国際書誌[こくさいしょし, kokusaishoshi] (n) international bibliography [Add to Longdo]
参考書目[さんこうしょもく, sankoushomoku] (n) bibliography [Add to Longdo]
参考文献一覧[さんこうぶんけんいちらん, sankoubunken'ichiran] (n) bibliography [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] (n) (1) bibliography (i.e. the study of books); (2) bibliology (i.e. the study of books, booklore and bibliography); (P) [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
国際書誌[こくさいしょし, kokusaishoshi] international bibliography [Add to Longdo]
参照[さんしょう, sanshou] bibliographical reference [Add to Longdo]
書誌[しょし, shoshi] bibliography [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] bibliology, bibliography [Add to Longdo]
書誌作成技術[しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu] bibliography [Add to Longdo]
書誌参照[しょしさんしょう, shoshisanshou] bibliographic reference [Add to Longdo]
書誌要素[しょしようそ, shoshiyouso] bibliographic element [Add to Longdo]
新刊書誌[しんかんしょし, shinkanshoshi] current bibliography [Add to Longdo]
全国書誌[ぜんこくしょし, zenkokushoshi] national bibliography [Add to Longdo]
遡及書誌[そきゅうしょし, sokyuushoshi] retrospective bibliography [Add to Longdo]

Japanese-German: JDDICT Dictionary
司書[ししょ, shisho] Bibliothekar [Add to Longdo]
図書館[としょかん, toshokan] Bibliothek [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] Bibliographie, Buecherkunde [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top