(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา diplopy มีน้อย ระบบจึงเลือกคำใหม่ให้โดยอัตโนมัติ: diploma) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ Diplopy | { ‖ } n. [ NL. diplopia, from Gr. &unr_; double + the root of &unr_; sight: cf. F. diplopie. ] (Med.) The act or state of seeing double. [ 1913 Webster ] ☞ In crossed or heteronymous diplopia the image seen by the right eye is upon the left hand, and that seen by the left eye is upon the right hand. In homonymous diplopia the image seen by the right eye is on the right side, that by the left eye on the left side. In vertical diplopia one image stands above the other. [ 1913 Webster ] Variants: Diplopia | Diploma | n.; pl. Diplomas [ L., fr. Gr. &unr_;, fr. &unr_; to double, fr. diplo`os twofold. See Double. ] A letter or writing, usually under seal, conferring some privilege, honor, or power; a document bearing record of a degree conferred by a literary society or educational institution. [ 1913 Webster ] | Diplomacy | n. [ F. diplomatie. This word, like supremacy, retains the accent of its original. See Diploma. ] 1. The art and practice of conducting negotiations between nations (particularly in securing treaties), including the methods and forms usually employed. [ 1913 Webster ] 2. Dexterity or skill in securing advantages; tact. [ 1913 Webster ] 3. The body of ministers or envoys resident at a court; the diplomatic body. [ R. ] Burke. | Diplomate | v. t. To invest with a title or privilege by diploma. [ R. ] Wood. [ 1913 Webster ] | Diplomate | { , n. [ F. diplomate. ] A diplomatist. [ 1913 Webster ] Variants: Diplomat | Diplomatial | a. Diplomatic. [ R. ] | Diplomatic | n. A minister, official agent, or envoy to a foreign court; a diplomatist. [ 1913 Webster ] | Diplomatical | { } a. [ Cf. diplomatique. ] 1. Pertaining to diplomacy; relating to the foreign ministers at a court, who are called the diplomatic body. [ 1913 Webster ] 2. Characterized by tact and shrewdness; dexterous; artful; as, diplomatic management. [ 1913 Webster ] 3. Pertaining to diplomatics; paleographic. Astle. [ 1913 Webster ] Variants: Diplomatic | Diplomatically | adv. According to the rules of diplomacy; in the manner of a diplomatist; artfully. [ 1913 Webster ] | Diplomatics | n. The science of diplomas, or the art of deciphering ancient writings, and determining their age, authenticity, etc.; paleography. [ 1913 Webster ] | Diplomatism | n. Diplomacy. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
| diploma | (n) อนุปริญญา, See also: ประกาศนียบัตร, ใบประกาศนียบัตร, Syn. graduation certificate, parchment, honor | diplomat | (n) นักการทูต, See also: เอกอัครราชทูต, ทูต, ผู้ที่ต่อรองอย่างมีชั้นเชิง, ผู้ชำนาญในการคบค้าสมาคม, Syn. diplomatist, envoy representative | diplomacy | (n) การทูต, See also: การต่างประเทศ, ศิลปะการทูต, Syn. tact, address, savoir, faire, Ant. tactlessness, crudeness | diplomacy | (n) ความเชี่ยวชาญในการคบค้าสมาคม, See also: ทักษะในการเจรจาต่อรอง, Syn. tact, artfulness statesmanship, Ant. tactlessness, crudeness | diplomate | (n) ผู้ได้รับประกาศนียบัตร, Syn. graduate | diplomatic | (adj) เกี่ยวกับการทูต, See also: เกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง, Syn. polite, statesmanlike, wise, Ant. direct, blunt | diplomatist | (n) ทูต | diplomatically | (adv) อย่างมีชั้นเชิง |
| |
| diploma | (n) ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, อนุปริญญา, หนังสือสำคัญ | diplomacy | (n) การทูต, ศิลปะการทูต | diplomat | (n) ทูต, นักการทูต, ทูตานุทูต | diplomatic | (adj) เกี่ยวกับการทูต, ซึ่งเชี่ยวชาญด้านการทูต |
| | Diplomacy | การฑูต [เศรษฐศาสตร์] | Diplomacy | การทูต [TU Subject Heading] | Diplomacy | การทูต, Example: คำว่าการทูต มีหลายท่านได้ให้คำอธิบายความหมายแตกต่างกัน บางท่านเห็นว่าการทูตเป็นศิลปะหรือศาสตร์ หรือวิธีปฏิบัติขั้นการเจรจากันระหว่างรัฐ บ้างว่า เป็นการจัดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยวิธีการเจรจา ซึ่งจะกระทำโดยเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนการทูตเป็นส่วนใหญ่หนังสือ ?Satow?s A Guide to Diplomatic Practice? ซึ่งเรียบเรียงแก้ไขใหม่เป็นครั้งที่ 4 โดย Sir Neville Bland ได้กล่าวว่า การทูต (Diplomacy) คือการนำเอาสติปัญญา (Intelligence) และปฏิภาณ (Tact) ออกใช้ในการเจรจาเป็นทางการระหว่างรัฐบาลของรัฐเอกราชด้วยกัน หรือหากจะกล่าวโดยสรุปก็หมายถึงการที่รัฐต่อรัฐยกเอาเรื่องต่าง ๆ ขึ้นเจรจากันอย่างเอาจริงเอาจังโดยสันติวิธีนั่นเองวิธีการที่รัฐหันมาใช้ การเจรจากันเพื่อทำความตกลงในเรื่องต่าง ๆ นั้นได้เริ่มกระทำกันมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยอาณาจักรโรมันในระยะหลัง ๆ ก่อนที่อาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรไบซานเตอุม (Byzanteum) ในสมัยนั้นมีชื่อโด่งดังว่าเป็นบรมครูหรือปรมาจารย์ในการเจรจาทีเดียว แต่การทูตได้กลายเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ก็ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ในตอนที่รัฐต่างๆ ของอิตาลีได้เริ่มแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำเป็นการถาวร แต่ในสมัยนั้นก็ยังไม่มีการกำหนดสถานภาพและระเบียบข้อบังคับของอาชีพการทูต แต่อย่างใด จนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 19 คือใน ค.ศ. 1815 จึงได้มีการทำความตกลงกันระหว่างประเทศกำหนดสถานภาพและกฎข้อบังคับขึ้นเป็น กิจลักษณะ คือหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน รัฐต่าง ๆ ที่เข้าร่มประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา หรือเรียกว่าคองเกรสแห่งเวียนนา ได้ตกลงจัดจำแนกผู้แทนทางการทูตรวมทั้งจัดลำดับอาวุโสขึ้น เพื่อให้รัฐทั้งหลายได้ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติ จะเห็นได้ว่าในทุกวันนี้ การทูตได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง หรือสาขาหนึ่งของระบบการปกครองประเทศในทุกประเทศ ซึ่งทวีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในโลกปัจจุบัน ดังจะเห็นได้จากการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างสงครามเย็น (Cold War) ต่างเพียรพยายามใช้การทูตทุกวิถีทางเพื่อระงับปัญหาหรือข้อพิพาท โดยมิให้เกิดสงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) ซึ่งเป็นหนทางสุดท้ายขึ้น เป็นต้นมีข้อน่าสังเกตว่า แต่เดิมรัฐต่าง ๆ จะใช้วิธีการเจรจาระหว่างรัฐบาลตามปกติ โดยผ่านทางผู้แทนทางการทูตถาวรหรือเอกอัครราชทูต ต่อมาหลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกเกิดความนิยมใช้วิธีระงับปัญหาระหว่าง ประเทศโดยการประชุมโต๊ะกลมมากขึ้น (Round table conferences) ในการประชุมระหว่างประเทศเช่นนี้ รัฐบาลของประเทศที่ร่วมการประชุมจะส่งคนของตนไปร่วมประชุมในฐานะผู้แทนผู้ ได้รับมอบอำนาจเต็มและให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนในการเจรจา แทนที่จะเป็นเอกอัครราชทูตดังแต่ก่อน อย่างไรก็ดี วิธีการประชุมเช่นนี้ยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่สองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควรจะใช้วิธีการประชุมแก้ปัญหาระหว่างประเทศโดยวิถีทางการ ทูตตามปกติ โดยให้เอกอัครราชทูตเป็นหัวหน้าคณะผู้แทน เพราะถือว่าเอกอัครราชทูตเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพการทูตอยู่แล้ว ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งสนับสนุนการประชุมโต๊ะกลม หรือที่เรียกว่า Diplomacy by Conferenceในสมัยปัจจุบัน วิธีเจรจาทางการทูตที่ใช้ปฏิบัติกันมีอยู่หลายวิธี วิธีแรกคือ การเจรจาทางการทูตตามปกติ ซึ่งปฏิบัติกันตลอดมาจนเป็นธรรมเนียม (Normal หรือ Traditional Diplomacy) ในกรณีนี้ เอกอัครราชทูตจะเป็นตัวแทนของประเทศของตนเจรจากับกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับประการที่สอง คือ การทูตด้วยวิธีการประชุม (Conference Diplomacy) ซึ่งคณะผู้แทนเจรจาจะมีบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเต็มเป็นหัวหน้าคณะ และส่งไปจากประเทศที่ร่วมการประชุมประการที่สาม ได้แก่ วิธีที่เรียกว่า การทูตส่วนบุคคล (Personal Diplomacy) ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐสองแห่งหรือมากกว่านั้น จะทำการเจรจากันโดยตรง เพื่อระงับหรือทำความตกลงในเรื่องบางเรื่องที่มีผลประโยชน์ร่วมกันประการที่ สี่ คือ การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) โดยประมุขของรัฐบาลหรือของรัฐจะไปร่วมประชุมกันเพื่อหาทางระงับปัญหาของตน ประการสุดท้าย ได้แก่ การทูตโดยทางองค์กรนิติบัญญัติหรือรัฐสภา (Parliamentary Diplomacy) คือให้นำปัญหาไปพิจารณากันในการประชุมปรึกษา เช่น การประชุมขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งนักเขียนเกี่ยวกับวิชาการทูตบางท่านเรียกว่า การทูตโดยคะแนนเสียง (Diplomacy by ballot)อย่างไรก็ตาม มีผู้ทรงคุณความรู้ด้านการทูตบางท่านเห็นว่า ยังมีวิธีการเจรจาทางการทูตอีกแบบหนึ่ง เรียกว่า การทูตสื่อมวลชน (Diplomacy by News Conference) ในกรณีนี้ ประมุขของรัฐหรือของรัฐบาลประเทศหนึ่งจะแถลงนโยบายของประเทศตนต่อที่ประชุม สื่อมวลชน เกี่ยวกับปัญหาที่กำลังจะเกิดขึ้นกับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งโดยปกติย่อมจะแถลงโดยวิถีทางการทูตตามปกติให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบได้ แต่กลับหันไปใช้วิธีแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบโดยการแถลงต่อที่ประชุมสื่อมวล ชนเท่ากับแจ้งให้ทราบโดยทางอ้อม [การทูต] | Diplomacy for the Peoples | การทูตเพื่อประชาชน หมายถึง การดำเนินนโยบายต่างประเทศหรือกิจกรรมทางการทูต ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประชาชน เช่น โครงการส่งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปช่วยรักษาพยาบาลชาวกัมพูชา [การทูต] | diplomatic agent | ตัวแทนทางทูต คือ หัวหน้าของคณะผู้แทน หรือบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทน [การทูต] | Diplomatic and consular service | สถานทูตและสถานกงสุล [TU Subject Heading] | Diplomatic and consular service, American | สถานทูตและสถานกงสุลอเมริกัน [TU Subject Heading] | Diplomatic and consular service, Thai | สถานทูตและสถานกงสุลไทย [TU Subject Heading] | diplomatic clearance number | หมายเลขการอนุญาตให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งของประเทศหนึ่ง ๆ ผ่านเข้าไปในอาณาเขตของอีกประเทศหนึ่งได้โดยเหตุผลทางการทูต อาทิ อากาศยานเฉพาะกิจ เรือที่ใช้ในการสงคราม ฯลฯ [การทูต] | diplomatic corps | คณะทูตานุทูต หมายถึง กลุ่มเอกอัครราชทูต กงสุล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศ รวมทั้งภริยาและเจ้าหน้าที่ทางการทูตที่อยู่ในประเทศนั้น ๆ [การทูต] |
| | | วงการทูต | (n) diplomatic circles, Syn. แวดวงทูต, Example: แขกที่มาอวยพรคู่บ่าวสาวมีแต่ผู้ที่อยู่ในวงการทูตทั้งนั้น, Count Unit: วงการ, Thai Definition: หน่วยงานและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการทูต | ประกาศนียบัตรชั้นสูง | (n) diploma, Example: มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดรับสมัครนักศึกษารอบเพิ่มเติมประจำปีการศึกษา 2541 ในระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง, Count Unit: ใบ, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ในระดับอุดมศึกษา | พระราชไมตรี | (n) friendly relations, See also: diplomatic relations, Example: เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์มีพระราชไมตรีตอบรับคำเชิญของกระทรวงการต่างประเทศของไทย, Thai Definition: ความเป็นเพื่อน, ความหวังดีต่อกัน, Notes: (ราชา) | อักษรสาสน์ | (n) diplomatic letter, Syn. อักษรสาสน, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศ ซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ | ประกาศนียบัตร | (n) certificate, See also: diploma, testimonial, Syn. ใบสุทธิ, วุฒิบัตร, ใบรับรอง, Example: เขาเรียนจบระดับปวส. โดยมีประกาศนียบัตรรับรองความรู้, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปกติต่ำกว่าระดับอุดมศึกษา | การทูต | (n) diplomacy, See also: statecraft, statesmanship, foreign affairs, external affairs, Example: เขาชอบใช้วิธีการทูตในการเจรจาหว่านล้อมและสร้างพันธมิตรทางการค้า | ทูต | (n) ambassador, See also: diplomat, envoy, representative, minister, Syn. นักการทูต, ราชทูต, ทูตา, Example: ประเทศไทยส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสันถวไมตรีเป็นทางราชการ, Notes: (บาลี) | ทูตานุทูต | (n) diplomat, See also: envoy, representative, minister, ambassador, diplomatic body, diplomatic corps, Syn. ตัวแทน, Count Unit: ท่าน, คน , กลุ่ม, คณะ, Thai Definition: ทูตใหญ่น้อย, คณะทูต, Notes: (บาลี) | นักการทูต | (n) diplomat, See also: ambassador, emissary, envoy, consul, minister, statesman, Example: พ่อของฉวีวรรณเป็นนักการทูตที่มีความสามารถมานานมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชำนาญการทูต | วุฒิบัตร | (n) diploma, Example: รางวัลที่หนึ่งจะได้รับทุนการศึกษาและวุฒิบัตร, Thai Definition: เอกสารแสดงความรู้, เอกสารแสดงวุฒิ |
| อนุปริญญา | [anuparinyā] (n) EN: diploma FR: diplôme [ m ] ; certificat [ m ] | ใบสุทธิ | [baisutthi] (n) EN: graduation certificate ; school-leaving certificate ; diploma ; testimonial ; certificate of honourable dismissal FR: attestation [ f ] ; certificat [ m ] | ชั้นเชิง | [chanchoēng] (n) EN: artifice ; tactics ; means ; stratagem ; trick ; tact ; strategy ; trickery ; finesse ; craftiness ; diplomatic skill FR: stratagème [ m ] ; moyen [ m ] ; artifice [ m ] ; finesse [ f ] | โดยวิถีทางการทูต | [dōi withīthāng kānthūt] (xp) EN: through the diplomatic channel FR: par voie diplomatique | การปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต | [kān patibat nāthī thāng kānthūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts | การปฏิบัติหน้าที่ทางทูต | [kān patibat nāthī thāng thūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts | การประชุมทางการทูต | [kān prachum thāng kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic conference FR: conférence diplomatique [ f ] | การทูต | [kānthūt] (n) EN: diplomacy ; statecraft ; statesmanship ; foreign affairs ; external affairs FR: diplomatie [ f ] | ไข้การเมือง | [khai kān meūang] (n, exp) EN: diplomatic illness ; political illness FR: maladie diplomatique [ f ] | คณะผู้แทนทางทูต | [khana phūthaēn thāng thūt] (n, exp) EN: diplomatic mission FR: mission diplomatique [ f ] |
| | | | Diploma | n.; pl. Diplomas [ L., fr. Gr. &unr_;, fr. &unr_; to double, fr. diplo`os twofold. See Double. ] A letter or writing, usually under seal, conferring some privilege, honor, or power; a document bearing record of a degree conferred by a literary society or educational institution. [ 1913 Webster ] | Diplomacy | n. [ F. diplomatie. This word, like supremacy, retains the accent of its original. See Diploma. ] 1. The art and practice of conducting negotiations between nations (particularly in securing treaties), including the methods and forms usually employed. [ 1913 Webster ] 2. Dexterity or skill in securing advantages; tact. [ 1913 Webster ] 3. The body of ministers or envoys resident at a court; the diplomatic body. [ R. ] Burke. | Diplomate | v. t. To invest with a title or privilege by diploma. [ R. ] Wood. [ 1913 Webster ] | Diplomate | { , n. [ F. diplomate. ] A diplomatist. [ 1913 Webster ] Variants: Diplomat | Diplomatial | a. Diplomatic. [ R. ] | Diplomatic | n. A minister, official agent, or envoy to a foreign court; a diplomatist. [ 1913 Webster ] | Diplomatical | { } a. [ Cf. diplomatique. ] 1. Pertaining to diplomacy; relating to the foreign ministers at a court, who are called the diplomatic body. [ 1913 Webster ] 2. Characterized by tact and shrewdness; dexterous; artful; as, diplomatic management. [ 1913 Webster ] 3. Pertaining to diplomatics; paleographic. Astle. [ 1913 Webster ] Variants: Diplomatic | Diplomatically | adv. According to the rules of diplomacy; in the manner of a diplomatist; artfully. [ 1913 Webster ] | Diplomatics | n. The science of diplomas, or the art of deciphering ancient writings, and determining their age, authenticity, etc.; paleography. [ 1913 Webster ] | Diplomatism | n. Diplomacy. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
| 外交 | [wài jiāo, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ, 外 交] diplomacy; diplomatic; foreign affairs #3,500 [Add to Longdo] | 文凭 | [wén píng, ㄨㄣˊ ㄆㄧㄥˊ, 文 凭 / 文 憑] diploma #12,981 [Add to Longdo] | 外交官 | [wài jiāo guān, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ ㄍㄨㄢ, 外 交 官] diplomat #15,177 [Add to Longdo] | 参赞 | [cān zàn, ㄘㄢ ㄗㄢˋ, 参 赞 / 參 贊] diplomatic officer; attache #28,558 [Add to Longdo] | 使团 | [shǐ tuán, ㄕˇ ㄊㄨㄢˊ, 使 团 / 使 團] diplomatic mission #45,500 [Add to Longdo] | 通牒 | [tōng dié, ㄊㄨㄥ ㄉㄧㄝˊ, 通 牒] diplomatic note #75,506 [Add to Longdo] | 治外法权 | [zhì wài fǎ quán, ㄓˋ ㄨㄞˋ ㄈㄚˇ ㄑㄩㄢˊ, 治 外 法 权 / 治 外 法 權] diplomatic immunity; (hist.) extraterritoriality, the rights (under unequal treaties) of a foreigner to live in China outside Chinese jurisdiction #106,703 [Add to Longdo] | 外交手腕 | [wài jiāo shǒu wàn, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ ㄕㄡˇ ㄨㄢˋ, 外 交 手 腕] diplomatic [Add to Longdo] | 外交风波 | [wài jiāo fēng bō, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ ㄈㄥ ㄅㄛ, 外 交 风 波 / 外 交 風 波] diplomatic crisis [Add to Longdo] | 豁免权 | [huò miǎn quán, ㄏㄨㄛˋ ㄇㄧㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 豁 免 权 / 豁 免 權] diplomatic immunity; immunity from prosecution [Add to Longdo] |
| | 外交 | [がいこう, gaikou] (n) diplomacy; (P) #2,737 [Add to Longdo] | 国交 | [こっこう, kokkou] (n) diplomatic relations; (P) #11,592 [Add to Longdo] | シャトル外交 | [シャトルがいこう, shatoru gaikou] (n) shuttle diplomacy [Add to Longdo] | ディプロマ | [deipuroma] (n) diploma [Add to Longdo] | ディプロマット | [deipuromatto] (n) diplomat [Add to Longdo] | ドル外交 | [ドルがいこう, doru gaikou] (n) dollar diplomacy [Add to Longdo] | 位記 | [いき, iki] (n) court rank diploma [Add to Longdo] | 奥許し | [おくゆるし, okuyurushi] (n) secret; initiation; diploma [Add to Longdo] | 外交の才 | [がいこうのさい, gaikounosai] (n) diplomatic talent [Add to Longdo] | 外交チャンネル | [がいこうチャンネル, gaikou channeru] (n) diplomatic channel [Add to Longdo] |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |