มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ intellectual | (adj) เกี่ยวกับปัญญา, See also: ทางสติปัญญา, เกี่ยวกับความคิดและการใช้เหตุผล, Syn. intelligent | intellectual | (adj) ซึ่งมีสติปัญญา, See also: ซึ่งรอบรู้ | intellectual | (n) ผู้มีสติปัญญาสูง, See also: ผู้รอบรู้, ผู้มีความรู้, ปัญญาชน, Syn. guru, sage, pundit, Ant. idiot | intellectually | (adv) ทางสติปัญญา, Syn. cerebrally, mentally | intellectualism | (n) ความเชื่อที่ว่าความรู้มาจากการคิดอย่างมีเหตุผล (ทางปรัชญา) | intellectual property | (n) ทรัพย์สินทางปัญญา |
|
| anti-intellectual | (แอนทีอินเทลเลค' ซวล) adj. , n. ซึ่งต่อต้านหรือไม่ชอบปัญญาชน, ผู้ที่ต่อต้านหรือไม่ชอบปัญญาชน | intellectual | (อินทะเลค'ชวล) adj. เกี่ยวกับปัญญา, ซึ่งมีปัญญาสูง, ใช้สติปัญญา n. ผู้มีปัญญาสูง, ผู้ที่มีเหตุผลสูง, ผู้ที่ใช้สติปัญญา (แทนการใช้อารมณ์) , intellectuals อำนาจในการเข้าใจเหตุผล, สิ่งที่เกี่ยวกับปัญญา., See also: intellectuality n. คำที่มีความหมายเหมือ |
| | | Intellectual property | ทรัพย์สินทางปัญญา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Intellectual property | ทรัพย์สินทางปัญญา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Intellectual Capital | ทุนทางปัญญา [การจัดการความรู้] | Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา, Example: ที่โดยทั่วไปหมายถึงทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ เกิดขึ้นจากความพากเพียรในสติปัญญา/การรอบรู้ ส่วนใหญ่หมายถึง สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า การออกแบบ และลิขสิทธิ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | PR, Intellectual Property Rights | การมีสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา [ทรัพย์สินทางปัญญา] | World Intellectual Property Organization Performances and Phonograms Treaty (1996) | สนธิสัญญาว่าด้วยการแสดงและสิ่งบันทึกเสียงขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (ค.ศ. 1996) [TU Subject Heading] | Intellectual capital | ทุนทางปัญญา [TU Subject Heading] | Intellectual life | ภูมิปัญญา [TU Subject Heading] | Intellectual property | ทรัพย์สินทางปัญญา [TU Subject Heading] | Intellectual property (International law) | ทรัพย์สินทางปัญญา (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] | Intellectual property infringement | การละเมิดลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา [TU Subject Heading] | Intellectuals | ปัญญาชน [TU Subject Heading] | Intellectuals in literature | ปัญญาชนในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Intellectual Property Right (IPRs) | สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา, Example: สิทธิของเจ้าของงานที่เกิดจกการประดิษฐ์ คิดค้น ซึ่งสามารถแบ่งตามลักษณะได้ดังนี้ 1) ลิขสิทธิ์ข้างเคียง ได้แก่ งานวรรณกรรม ศิลปกรรม ซึ่งรวมถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และงานฐานข้อมูล ส่วนสิทธิข้างเคียง ได้แก่ สิทธิของนักแสดง การบันทึกเสียง และการแพร่เสียงแพร่ภาพ 2) สิทธิบัตร ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นที่เป็นของใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ 3) เครื่องหมายการค้า ได้แก่ เครื่องหมายที่แสดงถึงความแตกต่างของสินค้าหรือบริการของแต่ละบริษัท หรือกลุ่มอุตสาหกรรม [สิ่งแวดล้อม] | Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] | Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights | หมายถึง สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า เช่น เครื่องหมายการค้า (trademark) ลิขสิทธิ์ (copyrights) และสิทธิบัตร (patent) เป็นต้น [การทูต] | World Intellectual Property Organization | องค์การเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ เกี่ยวกับการค้า ถือกำเนิดจากอนุสัญญากรุงปารีส ปี ค.ศ. 1883 และอนุสัญญากรุงเบอร์นส์ ปี ค.ศ. 1886 ว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรมอนุสัญญาจัดตั้งองค์การเกี่ยวกับ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับการค้านี้ ได้มีการลงนามกันเมื่อปี ค.ศ. 1967 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 เป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งของสหประชาชาติ และมีประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การแล้วรวม 155 ประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการให้ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ทั่วโลกได้รับการธำรงรักษาและเพิ่ม ขึ้น ทั้งนี้ เพื่อจะกระตุ้นให้มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและวัฒนธรรม และเอื้ออำนวยต่อการถ่ายทอดวิทยาการเทคโนโลยี รวมทั้งให้เผยแพร่งานวรรณกรรม และศิลปกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม และทรัพย์สินทางลิขสิทธิ์กับสิทธิที่ใกล้เคียงองค์การมีสำนักเลขาธิการตั้ง อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตำแหน่งหัวหน้าขององค์การนี้ เรียกว่า ผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งขณะนี้ได้แก่ Dr.Arpad Bogsch [การทูต] | Working Group on Intellectual Property Cooperation | คณะทำงานด้านความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญาของอาเซียน [การทูต] | World Intellectual Property Organization | องค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก [การทูต] | Emotional, Social and Intellectual Development | พัฒนาการทางด้านอารมณ์สังคมและสติปัญญา [การแพทย์] | Intellectual Abilities | ความสามารถทางเชาว์ [การแพทย์] | Intellectual Development | พัฒนาการทางสติปัญญา [การแพทย์] | Intellectual Function | ความเฉลียวฉลาด, หน้าที่ความฉลาด, ความสามารถทางสติปัญญา, การทดสอบความฉลาด [การแพทย์] | Intellectual Powers | สติปัญญา [การแพทย์] | Intellectual Process | กระบวนการทางสติปัญญา [การแพทย์] | Intellectual Process Level Problem Solving | ความรู้ความสามารถในแง่การแก้ปัญหา [การแพทย์] | Intellectual Status | ระดับสติปัญญา, ระดับเชาว์ปัญญา [การแพทย์] | Intellectually Challenging | การท้าทายทางสติปัญญา [การแพทย์] |
| | | นักปรัชญา | (n) philosopher, See also: intellectual, Example: นักปรัชญาหลายคนเชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เป็นสิ่งยากที่คอมพิวเตอร์จะเลียนแบบได้, Thai Definition: ผู้รู้, ผู้มีปัญญา | ผู้รอบรู้ | (n) scholar, See also: learned man, savant, intellectual, Syn. ผู้รู้, นักปราชญ์, Example: แพทย์ประจำตัวของเขาเป็นผู้รอบรู้เรื่องโรคทุกชนิด, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่มีความรู้หลายอย่าง, บุคคลที่รู้กว้างขวางในเรื่องต่างๆ | ปัญญาชน | (n) scholar, See also: graduate, intellectual, knowledgeable person, Syn. นักปราชญ์, บัณฑิต, Example: ภายหลังการปฏิบัติโดยฝ่ายเขมรแดงเป็นผลให้คนระดับปัญญาชนจำนวนมากมายต้องเสียชีวิตหรือถูกขับไล่โดยลักลอบกันออกนอกประเทศ, Thai Definition: คนที่มีความรู้หรือความฉลาดอันเกิดแต่การเรียนมามาก | มุนิ | (n) ascetic, See also: sage, saint, priest, monk, hermit, holy man, wise man, intellectual, Syn. มุนี, นักปราชญ์, ฤษี, พระสงฆ์, Example: เขาถือว่าข้อความต่างๆ ในอุปนิษัทเป็นอุทานของมุนีที่เปล่งออกมาเป็นครั้งคราว, Thai Definition: ผู้บำเพ็ญตบะที่นุ่งห่มสีเหลือง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทรัพย์สินทางปัญญา | (n) intellectual property, Example: สินค้าที่ใช้ไฮเทค ล้วนเป็นสินค้าที่จัดเป็นทรัพย์สินทางปัญญา | ปฏิภาณ | (n) wit, See also: wisdom, resourcefulness, sagacity, astuteness, acumen, intellectual, Syn. เชาวน์, เชาวน์ปัญญา, ไหวพริบ, ความเฉลียวฉลาด, Ant. ทื่อ, บัญญาทึบ, จนปัญญา, Example: เขามีปฏิภาณในการตอบคำถาม, Thai Definition: เชาวน์ไวในการกล่าวแก้หรือโต้ตอบเป็นต้นได้ฉับพลันทันทีและแยบคาย, Notes: (บาลี) | มนัสวี | (n) sage, See also: wise person, scholar, intellectual, astute person, learned person, Syn. นักปราชญ์, คนฉลาด, Thai Definition: ผู้เป็นปราชญ์, ผู้มีความคิดสูง, ผู้มีใจเด็ดเดี่ยว, Notes: (สันสกฤต) | กรมทรัพย์สินทางปัญญา | (n) Department of Intellectual Property, Count Unit: กรม | กลุ่มปัญญาชน | (n) intelligentsia, See also: intellectual, Example: กลุ่มปัญญาชนรวมตัวกันมาเรียกร้องประชาธิปไตยที่หน้าทำเนียบรัฐบาล, Count Unit: กลุ่ม, Thai Definition: กลุ่มของคนที่มีความรู้หรือความฉลาดอันเกิดแต่การเรียนมามาก |
| | | | anti-intellectual | (adj) smug and ignorant and indifferent or hostile to artistic and cultural values, Syn. philistine | intellectual | (n) a person who uses the mind creatively, Syn. intellect | intellectual | (adj) of or associated with or requiring the use of the mind, Syn. noetic, rational | intellectual | (adj) appealing to or using the intellect, Ant. nonintellectual | intellectualization | (n) (psychiatry) a defense mechanism that uses reasoning to block out emotional stress and conflict, Syn. intellectualisation | intellectually | (adv) in an intellectual manner | intellectual property | (n) intangible property that is the result of creativity (such as patents or trademarks or copyrights) | nonintellectual | (adj) not intellectual, Ant. intellectual | cerebral | (adj) involving intelligence rather than emotions or instinct, Syn. intellectual, Ant. emotional | food | (n) anything that provides mental stimulus for thinking, Syn. food for thought, intellectual nourishment | philistine | (n) a person who is uninterested in intellectual pursuits, Syn. lowbrow, anti-intellectual |
| Intellectual | n. 1. The intellect or understanding; mental powers or faculties. [ 1913 Webster ] Her husband, for I view far round, not nigh, Whose higher intellectual more I shun. Milton. [ 1913 Webster ] I kept her intellectuals in a state of exercise. De Quincey. [ 1913 Webster ] 2. A learned person or one of high intelligence; especially, one who places greatest value on activities requiring exercise of the intelligence, such as study, complex forms of knowledge, literature and aesthetic matters, reflection and philosophical speculation; a member of the intelligentsia; as, intellectuals are often apalled at the inanities that pass for entertainment on television. [ PJC ] | Intellectual | a. [ L. intellectualis: cf. F. intellectuel. ] [ 1913 Webster ] 1. Belonging to, or performed by, the intellect; mental; as, intellectual powers, activities, etc. [ 1913 Webster ] Logic is to teach us the right use of our reason or intellectual powers. I. Watts. [ 1913 Webster ] 2. Endowed with intellect; having the power of understanding; having capacity for the higher forms of knowledge or thought; characterized by intelligence or mental capacity; as, an intellectual person. [ 1913 Webster ] Who would lose, Though full of pain, this intellectual being, Those thoughts that wander through eternity? Milton. [ 1913 Webster ] 3. Suitable for exercising the intellect; formed by, and existing for, the intellect alone; perceived by the intellect; as, intellectual employments. [ 1913 Webster ] 4. Relating to the understanding; treating of the mind; as, intellectual philosophy, sometimes called “mental” philosophy. [ 1913 Webster ] | Intellectualism | n. 1. Intellectual power; intellectuality. [ 1913 Webster ] 2. The doctrine that knowledge is derived from pure reason. [ 1913 Webster ] 3. Preference for activities involving exercise of the intellect; sometimes, an excessive emphasis on abstract or intellectual matters with deprecation of the value of feelings. [ PJC ] | Intellectualist | n. 1. One who overrates the importance of the understanding. [ R. ] Bacon. [ 1913 Webster ] 2. One who accepts the doctrine of intellectualism. [ 1913 Webster ] | Intellectuality | n. [ L. intellectualitas: cf. F. intellectualité. ] Intellectual powers; possession of intellect; quality of being intellectual. [ 1913 Webster ] | Intellectualize | v. t. 1. To treat in an intellectual manner; to discuss intellectually; to reduce to intellectual form; to express intellectually; to idealize. [ 1913 Webster ] Sentiment is intellectualized emotion. Lowell. [ 1913 Webster ] 2. To endow with intellect; to bestow intellectual qualities upon; to cause to become intellectual. [ 1913 Webster ] | Intellectually | adv. In an intellectual manner. [ 1913 Webster ] | nonintellectual | adj. not intellectual. Opposite of intellectual. [ Narrower terms: anti-intellectual, philistine; lowbrow, uncultivated ] Also See unscholarly. [ WordNet 1.5 ] | Superintellectual | a. Being above intellect. [ 1913 Webster ] |
| 知识 | [zhī shi, ㄓ ㄕ˙, 知 识 / 知 識] intellectual; knowledge-related; knowledge #914 [Add to Longdo] | 分子 | [fèn zǐ, ㄈㄣˋ ㄗˇ, 分 子 / 份 子] members of a class or group; political elements (such as intellectuals or extremists); part #2,206 [Add to Longdo] | 知识产权 | [zhī shi chǎn quán, ㄓ ㄕ˙ ㄔㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 知 识 产 权 / 知 識 產 權] intellectual property rights #3,990 [Add to Longdo] | 知识分子 | [zhī shi fèn zǐ, ㄓ ㄕ˙ ㄈㄣˋ ㄗˇ, 知 识 分 子 / 知 識 份 子] intellectual; intelligentsia #6,715 [Add to Longdo] | 本体 | [běn tǐ, ㄅㄣˇ ㄊㄧˇ, 本 体 / 本 體] main part; torso; the thing in itself; noumenon (object of purely intellectual perception according to Kant) #16,649 [Add to Longdo] | 斯文 | [sī wén, ㄙ ㄨㄣˊ, 斯 文] refined; educate; cultured; intellectual; polite; gentle #19,228 [Add to Longdo] | 郭沫若 | [Guō Mò ruò, ㄍㄨㄛ ㄇㄛˋ ㄖㄨㄛˋ, 郭 沫 若] Guo Moruo (1892~1978), writer, communist party intellectual and cultural apparatchik #21,332 [Add to Longdo] | 读书人 | [dú shū rén, ㄉㄨˊ ㄕㄨ ㄖㄣˊ, 读 书 人 / 讀 書 人] a scholar; an intellectual #26,326 [Add to Longdo] | 上山下乡 | [shàng shān xià xiāng, ㄕㄤˋ ㄕㄢ ㄒㄧㄚˋ ㄒㄧㄤ, 上 山 下 乡 / 上 山 下 鄉] to work in the fields (esp. young school-leavers); forced agricultural experience for city intellectuals #30,967 [Add to Longdo] | 西学 | [Xī xué, ㄒㄧ ㄒㄩㄝˊ, 西 学 / 西 學] Western learning (intellectual movement in the late Qing); also called 洋務運動|洋务运动 #40,650 [Add to Longdo] | 智育 | [zhì yù, ㄓˋ ㄩˋ, 智 育] intellectual development #49,990 [Add to Longdo] | 章太炎 | [Zhāng Tài yán, ㄓㄤ ㄊㄞˋ ㄧㄢˊ, 章 太 炎] Zhang Taiyan (1869-1936), scholar, journalist, revolutionary and leading intellectual around the time of the Xinhai revolution #53,442 [Add to Longdo] | 章炳麟 | [Zhāng Bǐng lín, ㄓㄤ ㄅㄧㄥˇ ㄌㄧㄣˊ, 章 炳 麟] Zhang Taiyan 章太炎 (1869-1936), scholar, journalist, revolutionary and leading intellectual around the time of the Xinhai revolution #141,824 [Add to Longdo] | 世界知识产权组织 | [Shì jiè Zhī shí Chǎn quán Zǔ zhī, ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄓ ㄕˊ ㄔㄢˇ ㄑㄩㄢˊ ㄗㄨˇ ㄓ, 世 界 知 识 产 权 组 织 / 世 界 知 識 產 權 組 織] World Intellectual Property Organization [Add to Longdo] | 反知识 | [fǎn zhī shi, ㄈㄢˇ ㄓ ㄕ˙, 反 知 识 / 反 知 識] anti-intellectual [Add to Longdo] | 思想史 | [sī xiǎng shǐ, ㄙ ㄒㄧㄤˇ ㄕˇ, 思 想 史] intellectual history [Add to Longdo] | 智慧产权 | [zhì huì chǎn quán, ㄓˋ ㄏㄨㄟˋ ㄔㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 智 慧 产 权 / 智 慧 產 權] intellectual property [Add to Longdo] | 知识份子 | [zhī shí fèn zǐ, ㄓ ㄕˊ ㄈㄣˋ ㄗˇ, 知 识 份 子 / 知 識 份 子] intellectual; learned person [Add to Longdo] | 知识越多越反动 | [zhī shi yuè duō yuè fǎn dòng, ㄓ ㄕ˙ ㄩㄝˋ ㄉㄨㄛ ㄩㄝˋ ㄈㄢˇ ㄉㄨㄥˋ, 知 识 越 多 越 反 动 / 知 識 越 多 越 反 動] the more knowledgeable, the more reactionary (absurd anti-intellectual slogan attributed after the event to the Gang of Four 四人幫|四人帮) [Add to Longdo] | 脑力劳动 | [nǎo lì láo dòng, ㄋㄠˇ ㄌㄧˋ ㄌㄠˊ ㄉㄨㄥˋ, 脑 力 劳 动 / 腦 力 勞 動] mental labor; intellectual work [Add to Longdo] | 臭老九 | [chòu lǎo jiǔ, ㄔㄡˋ ㄌㄠˇ ㄐㄧㄡˇ, 臭 老 九] stinking intellectual (contemptuous term for educated people during the Cultural Revolution) [Add to Longdo] |
| | 知的 | [ちてき, chiteki] (adj-na, n) intellectual; (P) #6,394 [Add to Longdo] | インテリやくざ | [interi yakuza] (n) intellectual-type gangster [Add to Longdo] | インテリ層 | [インテリそう, interi sou] (n) intellectuals; intelligentsia; educated class [Add to Longdo] | インテルクチュアル | [interukuchuaru] (n) intellectual [Add to Longdo] | インテレクチュアル | [interekuchuaru] (n) intellectual [Add to Longdo] | 似非インテリ | [えせインテリ, ese interi] (n, adj-no) pseudointellectual [Add to Longdo] | 主知主義 | [しゅちしゅぎ, shuchishugi] (n) intellectualism [Add to Longdo] | 主知主義者 | [しゅちしゅぎしゃ, shuchishugisha] (n) an intellectual [Add to Longdo] | 主知的 | [しゅちてき, shuchiteki] (adj-na) intellectual [Add to Longdo] | 世界知的所有権機関 | [せかいちてきしょゆうけんきかん, sekaichitekishoyuukenkikan] (n) World Intellectual Property Organization (Organisation); WIPO [Add to Longdo] | 成長小説 | [せいちょうしょうせつ, seichoushousetsu] (n) novel of formation (education); novel of character development; novel which traces the intellectual, moral, spiritual or social development of a young person; Bildungsroman (German) [Add to Longdo] | 晴耕雨読 | [せいこううどく, seikouudoku] (n, vs) working in the field in fine weather and reading at home in rainy weather; living in quiet retirement dividing time between work and intellectual pursuits [Add to Longdo] | 青白きインテリ | [あおじろきインテリ, aojiroki interi] (n) armchair intellectual [Add to Longdo] | 全人 | [ぜんじん, zenjin] (n) saint; person well-balanced morally and intellectually; (P) [Add to Longdo] | 多士済々;多士済済 | [たしせいせい(uK);たしさいさい, tashiseisei (uK); tashisaisai] (n, adj-na, adj-no, adj-t, adv-to) galaxy of able persons; collection of intellectuals [Add to Longdo] | 知育 | [ちいく, chiiku] (n) intellectual training [Add to Longdo] | 知育偏重 | [ちいくへんちょう, chiikuhenchou] (n) too much intellectual training; overemphasis on intellectual education [Add to Longdo] | 知恵熱 | [ちえねつ;ちえぼとり, chienetsu ; chiebotori] (n) (1) teething fever; (2) developmental fever; fever that brings with it an intellectual or psycho-developmental growth spurt [Add to Longdo] | 知財 | [ちざい, chizai] (n) (abbr) (See 知的財産) intellectual property; IP [Add to Longdo] | 知識人 | [ちしきじん, chishikijin] (n) an intellectual; (P) [Add to Longdo] | 知識層 | [ちしきそう, chishikisou] (n) the intellectual class [Add to Longdo] | 知識欲 | [ちしきよく, chishikiyoku] (n) thirst for knowledge; intellectual thirst [Add to Longdo] | 知性的 | [ちせいてき, chiseiteki] (adj-na) intellectual [Add to Longdo] | 知的好奇心 | [ちてきこうきしん, chitekikoukishin] (n) intellectual curiosity; out of curiosity; inquisitiveness [Add to Longdo] | 知的財産 | [ちてきざいさん, chitekizaisan] (n) intellectual property [Add to Longdo] | 知的財産権 | [ちてきざいさんけん, chitekizaisanken] (n) intellectual property right [Add to Longdo] | 知的所有権 | [ちてきしょゆうけん, chitekishoyuuken] (n) intellectual property rights (in patent law) [Add to Longdo] | 知的所有権の貿易関連の側面に関する協定 | [ちてきしょゆうけんのぼうえきかんれんのそくめんにかんするきょうてい, chitekishoyuukennobouekikanrennosokumennikansurukyoutei] (n) Agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights; TRIPS [Add to Longdo] | 知的所有権侵害 | [ちてきしょゆうけんしんがい, chitekishoyuukenshingai] (exp) infringement of intellectual property rights [Add to Longdo] | 知的能力 | [ちてきのうりょく, chitekinouryoku] (n) one's intellectual powers; one's mental faculties [Add to Longdo] | 知能犯 | [ちのうはん, chinouhan] (n) (1) intellectual crime; (2) intellectual criminal [Add to Longdo] | 知力 | [ちりょく, chiryoku] (n, adj-no) wisdom; intellectual power; mental capacity; brains [Add to Longdo] | 明察 | [めいさつ, meisatsu] (n, vs) discernment; penetration; insight; intellectual acumen [Add to Longdo] | 理知的 | [りちてき, richiteki] (adj-na, n) intellectual [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |