ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เคี่ยว, -เคี่ยว- |
เคี่ยว | (v) simmer, See also: boil, cook, Syn. ต้ม, Example: แม่ค้าก๋วยเตี๋ยวเคี่ยวเนื้อจนเปื่อย, Thai Definition: ต้มให้เดือดนานๆ เพื่อให้งวดให้เปื่อย | ขับเคี่ยว | (v) fight, See also: deal with, contend with, Syn. แข่งขัน, ต่อสู้, Example: ทั้งคู่ต้องมาขับเคี่ยวกันในงานซีไรท์ปีนี้อย่างไม่เต็มใจเท่าไหร่, Thai Definition: ต่อสู้หรือแข่งขันกันไปจนถึงที่สุด หรือจนแพ้ชนะไปข้างหนึ่ง | เคี่ยวเข็ญ | (v) drive, See also: compel, force, urge, encourage, Syn. บังคับ, ผลักดัน, Ant. ละเลย, ไม่สนใจ, Example: แม่เคี่ยวเข็ญน้องให้ทำการบ้าน, Thai Definition: บีบบังคับ, บีบคั้นให้ได้ความลำบาก |
|
| ขบเขี้ยวเคี้ยวฟัน | ก. แสดงอาการโกรธเมื่อยังทำอะไรเขาไม่ได้. | ของขบเคี้ยว | น. ของกินเล่นที่ไม่เจตนากินให้อิ่ม. | ขับเคี่ยว | ก. เร่งรัด, ต่อสู้หรือแข่งขันกันไปจนถึงที่สุด หรือจนแพ้ชนะไปข้างหนึ่ง. | คดเคี้ยว | ว. คดไปคดมา, ลดเลี้ยว, วกไปวกมา. | เคี่ยว | ก. ต้มให้เดือดนาน ๆ เพื่อให้งวด ข้น หรือเปื่อยเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า รํ่าไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น อันซึ่งพระรามฤทธิรงค์ มาเคี่ยวฆ่าวงศ์ยักษี (รามเกียรติ์ ร. ๑). | เคี่ยวขัน | ก. พยายามต่อสู้หรือแข่งขันด้วยความลำบาก. | เคี่ยวขับ | ก. เร่งรัด, พยายามให้ถึงที่สุด. | เคี่ยวเข็ญ | ก. บีบบังคับ, บีบคั้นให้ได้รับความลำบาก เช่น เคี่ยวเข็ญเย็นค่ำกรำไป ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนาย (พระราชนิพนธ์ ร. ๖) | เคี่ยวเข็ญ | บังคับให้ทำงานให้มากขึ้น เช่น เคี่ยวเข็ญให้ขยันหมั่นเพียรในการเล่าเรียน. | เคี้ยว ๑ | ก. บดให้แหลกด้วยฟัน. | เคี้ยวฟัน | ก. แสดงอาการโกรธเมื่อยังทำอะไรเขาไม่ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ เข่นเขี้ยว เป็น เข่นเขี้ยวเคี้ยวฟัน. | เคี้ยวเอื้อง | ก. อาการที่สัตว์บางจำพวกเช่นวัวควายสำรอกอาหารออกมาเคี้ยวอีกให้ละเอียด, โดยปริยายหมายความว่า ทำอะไรช้า ๆ, บดเอื้อง ก็ว่า. | เคี้ยว ๒ | ว. คด เช่น นํ้าเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม (โลกนิติ), โดยมากใช้เข้าคู่กับคำ คด เป็น คดเคี้ยว. | ชั่วเคี้ยวหมากจืด | น. เวลาประมาณ ๒๐-๓๐ นาที (มาจากระยะเวลาในการเคี้ยวหมาก ๑ คำ ตั้งแต่เริ่มเคี้ยวจนหมากจืดหมดคำ จึงคายชานหมากทิ้ง), พูดเพี้ยนเป็น ชั่วเคี้ยวหมากแหลก ก็มี. | ชั่วเคี้ยวหมากแหลก | ดู ชั่วเคี้ยวหมากจืด. | ยาเคี้ยว | น. ส่วนใดส่วนหนึ่งของใบยาแห้ง นอกจากใบยาแห้งพันธุ์ยาสูบพื้นเมือง ซึ่งได้ปรุงหรือปนด้วยวัตถุอื่นนอกจากน้ำเพื่ออมหรือเคี้ยว. | กรวบ, กร๊วบ | (กฺรวบ, กฺร๊วบ) ว. เสียงดังอย่างเคี้ยวถูกของแข็งหรือของกรอบ. | กร้วม | ว. เสียงดังอย่างเคี้ยวสิ่งของที่เปราะให้แตก หรือเสียงของแข็งกระทบกันอย่างแรง | กรอบเค็ม | น. ชื่อขนมทำด้วยแป้งหมี่นวดกับน้ำมัน ตัดเป็นแผ่นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ริมเป็นจัก ๆ ทอดให้กรอบ เคล้ากับน้ำตาลเคี่ยว ใส่เกลือ และรากผักชี กระเทียมพริกไทยโขลก มีรสหวานเค็ม. | กร๊อบ | (กฺร๊อบ) ว. เสียงดังอย่างเคี้ยวของแข็งหรือของกรอบ. | กระจง | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Tragulidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องที่เล็กที่สุด กระเพาะมี ๓ ส่วน รูปร่างคล้ายกวาง แต่ไม่มีเขา ตัวผู้มีเขี้ยวบนที่แหลมคมงอกออกมาซึ่งมีผู้นิยมใช้เป็นเครื่องราง มี ๒ ชนิด คือ กระจงควาย [ Tragulus napu (Cuvier) ] สูงประมาณ ๓๕ เซนติเมตร และกระจงเล็ก [ T. javanicus (Osbeck) ] สูงประมาณ ๒๐ เซนติเมตร, พายัพเรียก ไก้. | กระดาก ๒ | ก. กระเดาะ, กระดก, เช่น สิ้นทั้งพันปากกระดากลิ้น, สิบปากกระดากลิ้นเคี้ยวฟัน (รามเกียรติ์ ร. ๑). | กระบูนเลือด | น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง หัวและต้นดั่งขมิ้นอ้อย ต้นและใบเขียว หัวขนาดหัวเผือก กลมเกลี้ยงเป็นมัน มีปล้องห่าง ๆ เนื้อขาว ฉุนร้อน ถ้าเคี้ยวจะทำให้ฟันโยก เชื่อกันว่าใช้ฝนกับนํ้าปูนใสหรือต้มเสียก่อนก็ได้ กินแก้ดานเลือด ดานลม และกระชับมดลูกให้แห้งสนิท. | กราม | (กฺราม) น. ฟันที่ใช้บดเคี้ยวอาหาร. | กรำ | (กฺรำ) ว. ตรำ, ฝ่า, สู้ทนลำบาก, เช่น กรำแดด กรำฝน, เคี่ยวเข็ญเย็นคํ่ากรำไป ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนาย (พระราชนิพนธ์ ร. ๖). | กรุบ | (กฺรุบ) ว. เสียงดังเช่นนั้นเมื่อเคี้ยวของแข็งที่พอเคี้ยวได้เช่นกระดูกอ่อน ข้อไก่. | กล้อมแกล้ม | (กฺล้อมแกฺล้ม) ก. เคี้ยวไม่ทันแหลกแล้วรีบกลืน, เคี้ยวไม่ถนัด | กลีบมะเฟือง | น. ชื่อเรียกกระเพาะอาหารกระเพาะที่ ๔ ของสัตว์เคี้ยวเอื้องเช่นวัวควาย เยื่อบุภายในมีลักษณะเป็นกลีบห่าง ๆ คล้ายกลีบมะเฟือง. | กวน ๒ | ก. คนให้ทั่วกันหรือให้วนไปโดยรอบ เช่น กวนนํ้า, คนให้เข้ากัน, เคี่ยวและคนให้เข้ากันจนข้น, เช่น กวนขนม กวนกาละแม. | กวน ๒ | น. เรียกของกินที่ทำด้วยผลไม้เป็นต้น เคี่ยวกับนํ้าตาลแล้วคนให้เข้ากันจนข้น เช่น ขนมกวน ทุเรียนกวน สับปะรดกวน. | กวยจี๊ | น. เมล็ดแตงโมต้มแล้วตากให้แห้ง ใช้ขบเคี้ยว. | กวาง ๑ | (กฺวาง) น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Cervidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องกีบคู่ มีหลายชนิด รูปร่างลำตัวเพรียว คอยาว ขายาว หางสั้น ตัวเมียเล็กกว่าตัวผู้ ผลัดเขาปีละครั้ง ชนิดที่พบทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเขา ได้แก่ กวางเรนเดียร์ [ Rangifer tarandus (Linn.) ] ชนิดที่ตัวเมียไม่มีเขา ได้แก่ กวางป่าหรือกวางม้า ( Cervus unicolor Kerr) ส่วนพวกที่ตัวผู้และตัวเมียไม่มีเขา ได้แก่ กวางชะมด (Moschus spp.) และกวางวอเตอร์เดียร์ ( Hydropotes inermis Swinhoe). | กะล่อมกะแล่ม | ก. เคี้ยวไม่ทันแหลกแล้วรีบกลืน, เคี้ยวไม่ถนัด | กาว ๑ | น. ของเหนียวที่เคี่ยวมาจากเอ็น หนัง กีบสัตว์ เป็นต้น สำหรับใช้ติดหรือผนึกสิ่งของ. | กิน | ก. เคี้ยว เช่น กินหมาก, เคี้ยวกลืน เช่น กินข้าว, ดื่ม เช่น กินนํ้า, ทำให้ล่วงลำคอลงไปสู่กระเพาะ | กุย ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Saiga tatarica (Linn.) ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง หัวใหญ่ ตัวอ้วน มีเขาเฉพาะตัวผู้ รูปร่างคล้ายพิณฝรั่ง สีขาวนวลโปร่งแสง มีวงเป็นข้อนูนต่อเนื่องกันจากโคนถึงปลาย จมูกลักษณะคล้ายกระเปาะ พองมีสันตามยาว หางสั้นมาก มีถิ่นกำเนิดในแถบไซบีเรียตอนใต้ มองโกเลียตะวันตก และจีนตะวันตกเฉียงเหนือ ไม่พบในประเทศไทย เขามีราคาแพง ใช้ทำยาได้. | เกรียด | (เกฺรียด) ว. เสียงเขียดร้อง เช่น เสียงกรอดเกรียดเขียดกบเข้าขบเคี้ยว (นิ. เพชร). | แกะ ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในสกุล Ovis วงศ์ Bovidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องรูปร่างคล้ายแพะ แต่ไม่มีเครา มีเขา ๑ คู่ ไม่ผลัดเขา มีขนาดใหญ่โค้งงอ ปลายบิดไปข้างหน้า โคนเขาถึงประมาณกลางเขามีวงนูนลักษณะคล้ายพาลี ขนบนลำตัวยาวและอ่อนนุ่ม ใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม ชนิดที่นำเลี้ยง ได้แก่ ชนิดย่อย Ovis amon aries Linn. | ขบฉัน | ก. เคี้ยวกิน (ใช้แก่นักบวช). | ขอบกระด้ง | น. ชื่อเรียกกระเพาะอาหารกระเพาะแรกของสัตว์เคี้ยวเอื้อง เช่นวัวควาย มีขนาดใหญ่ที่สุดในจำนวน ๔ กระเพาะ เยื่อบุภายในมีสันคล้ายขอบกระด้ง. | ขัช, ขัชกะ | (ขัด, ขัดชะกะ) น. อาหารควรเคี้ยว เช่น ตั้งขัชกโภชนาหาร (ม. ร่ายยาว ชูชก). | ขาทนียะ | (ขาทะ-) น. อาหารควรเคี้ยว, มักใช้เข้าคู่กับคำ โภชนียะ เป็น ขาทนียโภชนียะ หมายความว่า อาหารที่ควรเคี้ยวและอาหารที่ควรบริโภค. | ข้าวยาคู | น. ชื่อขนมอย่างหนึ่ง ทำด้วยเมล็ดข้าวอ่อนตำแล้วคั้นเอานํ้าตั้งไฟจนสุก ใส่น้ำตาล เรียกว่า ข้าวยาคูน้ำ, ถ้าเคี่ยวให้แห้ง เรียกว่า ข้าวยาคูแห้ง. | ขี้โล้ | กะทิที่เคี่ยวจนเป็นน้ำมันใช้ทำอาหารบางอย่าง. | ขี้อ้าย | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Terminalia tripteraStapf ในวงศ์ Combretaceae เปลือกชั้นในสีแสด รสฝาด ใช้เคี้ยวกับหมาก, กำจาย ก็เรียก, จันทบุรีเรียก หอมกราย. | เข่นเขี้ยว | ก. กัดฟันด้วยความโกรธ, มักใช้เข้าคู่กับคำ เคี้ยวฟัน เป็น เข่นเขี้ยวเคี้ยวฟัน. | ไข่จิ้งหรีด | น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งทำด้วยข้าวตากคั่วจนพองเหลืองกวนกับนํ้าตาลปีบที่เคี่ยวเหนียว บางทีโรยมะพร้าวขูดด้วย. | ไข่ลูกเขย | น. อาหารของคาวทำด้วยไข่ต้มทั้งลูก ปอกเปลือกแล้วทอดนํ้ามัน เคล้ากับนํ้าตาลนํ้าปลาที่เคี่ยวจนงวด, (โบ) ไข่ญี่ปุ่น. | ครองแครง | (คฺรองแคฺรง) น. ชื่อขนมทำด้วยแป้งกดบนพิมพ์ที่เป็นรอยริ้ว ๆ คล้ายฝาหอยแครง ต้มกับกะทิ, ถ้าทอดกรอบเคล้านํ้าตาลเคี่ยว เรียกว่า ครองแครงกรอบ. | ควาย | (คฺวาย) น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Bubalus bubalis Linn. ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดใหญ่กีบคู่ ลำตัวสีดำหรือเทา เขาโค้งยาว ไม่ผลัดเขา ที่ใต้คางและหน้าอกมีขนขาวเป็นรูปง่าม ครึ่งล่างของขาทั้งสี่มีขนสีขาวหรือขาวอมเทา |
| exhortation | การบีบบังคับ, การเคี่ยวเข็ญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Caramel | น้ำตาลไหม้, น้ำตาลเคี่ยวไหม้, สีที่ได้จากการนำน้ำตาลมาเผาเป็นน้ำตาลเคี่ยวไหม้ [การแพทย์] |
| ขนมขบเคี้ยว | [khanom khop khīo] (n, exp) EN: ? FR: ? | เคี่ยว | [khīo] (v) EN: simmer ; boil ; cook FR: mijoter ; mitonner | เคี้ยว | [khīo] (v) EN: chew ; grind ; masticate ; crush ; manducate FR: mastiquer ; mâcher ; chiquer | เคี้ยวเอื้อง | [khīo-eūang] (v) EN: ruminate ; chew the cud FR: ruminer | เคี้ยวฟัน | [khīo fan] (v, exp) EN: grind one's teeth ; grate FR: grincer des dents | เคี่ยวเข็ญ | [khīokhen] EN: drive ; compel ; force ; urge ; encourage | คดเคี้ยว | [khotkhīo] (v) EN: crook ; wind ; twist ; curve | คดเคี้ยว | [khotkhīo] (adj) FR: sinueux ; tortueux | ทันตกรรมบดเคี้ยว | [thantakam bot khīo] (n, exp) EN: occlusion |
| casserole | (n) ชามก้นลึกหรือหม้อสำหรับอบหรือปิ้ง, อาหารอบหรือปิ้งจากภาชนะดังกล่าว, ชามเล็กๆ ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ, หม้อที่มีฝาปิดสำหรับต้มหรือเคี่ยว เช่น In the casserole dish, heat the water with the salt and pepper. |
| braise | (vt) เคี่ยว | grind into | (phrv) ยัดเยียด, See also: เคี่ยวเข็ญ, Syn. hammer into | macerate | (vt) ทำให้เปื่อย, See also: ทำให้ยุ่ย, เคี่ยวจนเปื่อย, Syn. steep | poach | (vt) เคี่ยวอาหาร, See also: ต้ม, เคี่ยว, Syn. boil, steam, coddle | press | (vt) กดดันผู้อื่นให้ทำบางสิ่งบางอย่าง, See also: เคี่ยวเข็ญ, กระตุ้น, Syn. depress, deject, discourage, Ant. elate, hearten | reduce | (vt) เคี่ยวจนข้น, See also: ทำให้เข้มข้นขึ้น, Syn. thicken | simmer | (vi) ตุ๋น, See also: เคี่ยว, Syn. stew, seethe, steam | simmer | (vt) ตุ๋น, See also: เคี่ยว, Syn. stew, seethe, steam | simmer | (n) การเคี่ยว | stew | (vt) เคี่ยว, See also: ตุ๋น | stewed | (adj) ซึ่งเคี่ยวแล้ว | simmer down | (phrv) เคี่ยวให้ค่อยๆ เดือด, See also: ต้มให้ค่อยๆ เดือด | stew in | (phrv) ต้มด้วยไฟอ่อนๆ, See also: เคี่ยวด้วยไฟอ่อนๆ |
| casserol | n. ชามหรือหม้ออบหรือปิ้ง, หม้อมีฝาปิดสำหรับต้มและเคี่ยว | decoct | (ดิคอคทฺ') vt.ต้มยา, เคี่ยวยา, ผสม, ประดิษฐ์ | decoction | (ดิคอค'เชิน) n. การต้มยา, การเคี่ยวยา, ยาต้ม., See also: decoctive adj. ดูdecoction, Syn. condensation | exhort | (เอคซอร์ทฺ') v. เคี่ยวเข็ญ, แนะนำ, ตักเตือน, สนับสนุน., See also: exhortation n. exhorter n. | extort | (อิคซฺทอร์ทฺ') vt. ขู่เข็ญ, บีบบังคับ, กรรโชก, เคี่ยวเข็ญ., See also: extorter n. extortive adj. | extortion | (อิคซฺทอร์'เชิน) n. การขู่เข็ญ, การบีบบังคับ, การกรรโชก, การเคี่ยวเข็ญ., See also: extortionary adj., Syn. blackmail | gelatin | (เจล'ละทิน) n. โปรตีนวุ้นที่ได้จากการเคี่ยวหนังหรือกระดูกสัตว์., Syn. gelatine | grind | (ไกรดฺ) { ground, grinding, grinds } vt., vi., n. (การ) ฝน, บด, โม่, ถูอย่างแรง, บรรเลงเพลงดังลั่น, กดขี่, เคี่ยวเข็ญ, รบกวน, เสียงฝน, งานหนัก, นักเรียนที่ขยันมากผิดปกติ, ระบำส่ายตะโพก., See also: grindable adj. grindingly adv., Syn. cr | simmer | (ซิม'เมอะ) vt., vi., n. (การ) เคี่ยว, ตุ๋น, ต้ม, เดือดกรุ่น ๆ , ต้มอาหารให้ร้อนต่ำกว่าจุดเดือดหน่อย, simmer down สงบใจ, สงบจิต., See also: simmeringly adv., Syn. seethe | stew | (สทิว) vt. ตุ๋น, เคี่ยว, ต้มอาหารโดยใช้ไฟอ่อน ๆ vi. ตุ๋น, เคี่ยวต้มโดยใช้ไฟอ่อน ๆ , กังวลใจ, ร้อนใจ, กลัดกลุ้ม, -Phr. (stew in one's own juice ได้ผลจากการกระทำของตัวเอง) n. อาหารตุ๋น, อาหารเคี่ยว, เนื้อเปื่อย, การกังวลใจ, ความร้อนใจ, stews สภาพที่อยู่แวดล้อมที่ยัดเยีย |
| compel | (vt) บังคับ, ผลักดัน, ขู่เข็ญ, เคี่ยวเข็ญ, เกณฑ์ | decoct | (vt) ผสมขึ้น, ต้มยา, เคี่ยวยา, สกัดยา | exhort | (vt) คะยั้นคะยอ, เคี่ยวเข็ญ, แนะนำ, สนับสนุน | exhortation | (n) การคะยั้นคะยอ, การแนะนำ, การเคี่ยวเข็ญ | extort | (vt) บีบคั้น, รีดไถ, ขู่เข็ญ, บีบบังคับ, ขู่กรรโชก, เคี่ยวเข็ญ | force | (vt) บังคับ, ขับเคี่ยว, คาดคั้น, ฝืนใจ, ดัน, รุน | forced | (adj) ฝืน, ยัดเยียด, ถูกบังคับ, หักโหม, ขับเคี่ยว | simmer | (vi, vt) กรุ่นๆ, เคี่ยวให้เดือด, หัวเราะคิกๆ | stew | (n) อาหารที่เคี่ยวนาน | stew | (vt) ตุ๋น, เคี่ยว, ทำให้เปื่อย |
| | 駆る | [かる, karu] TH: เคี่ยวเข็ญ EN: to spur on |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |