ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: จด้, -จด้- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ PET Scan | (n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้ |
| กั้ง ๑ | น. ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Stomatopoda มีหลายวงศ์ ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Squillidae หายใจด้วยเหงือก ลำตัวแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ ๕ แต่ไม่ถึงปล้องที่ ๘ กรีมีลักษณะแบนราบ มี ๖ ขา, กั้งตั๊กแตน ก็เรียก. | กุ้ง ๑ | น. ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีหลายวงศ์ หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ ๘ ส่วนใหญ่กรีมีลักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี ๑๐ ขา พบในนํ้าจืดและนํ้าเค็ม มีหลายชนิด เช่น กุ้งก้ามกราม กุ้งก้ามเกลี้ยง กุ้งกุลาดำ กุ้งตะกาด กุ้งตะเข็บ กุ้งหัวแข็ง กุ้งแชบ๊วย. | ค้อน ๒ | ก. แสดงความไม่พอใจด้วยการตวัดสายตา. | คะยั้นคะยอ | ก. ชักชวนให้ตกลงใจด้วยการรบเร้า. | คุกคาม | ก. แสดงอำนาจด้วยกิริยาหรือวาจาให้หวาดกลัว, ทำให้หวาดกลัว เช่น ภัยคุกคาม, ในบทกลอนใช้ว่า คุก ก็มี เช่น ไป่ขู่ไป่คุก ไป่รุกรุมตี (สมุทรโฆษ). | จิตบำบัด | (จิดตะ-, จิด-) น. วิธีรักษาผู้ป่วยหรือผู้มีปัญหาทางด้านจิตใจด้วยวิธีที่จิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาสนทนากับผู้ที่มารับการรักษา เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของโรคหรือปัญหาแล้วหาทางแก้ไข. | จินดามัย | ว. ที่สำเร็จด้วยความคิด. | ชื่นกลิ่น | ก. ชื่นใจด้วยกลิ่น. | เชียร์ | ก. ให้กำลังใจด้วยการตะโกนโห่ร้องเป็นต้น มักใช้ในการแข่งขันกีฬา | ด้าม | ต้น, ทาง, เช่น รยกคันธมาทน์ โดยด้ามอาทิสวคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน), อันว่าพระสรรเพชญ์ ผู้เผด็จด้ามตัณหา ลุปรมาภิสมพุทธ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), บพิตร ข้าอยู่ศุขเสวอยราช โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ดูกรเจ้าอำเภอใด แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม ทำโทษน้นน (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | เดียดฉันท์ | ก. ไม่พอใจด้วย, รังเกียจ, ลำเอียง. | ทานมัย | (ทานนะไม) ว. สำเร็จด้วยทาน, แล้วไปด้วยทาน, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ. | โทรคมนาคม | (-คะมะ-, -คมมะ-) น. การส่ง การกระจาย หรือการรับภาพ เครื่องหมาย สัญญาณ ข้อเขียน เสียง หรือการทำให้เข้าใจด้วยวิธีใด ๆ โดยอาศัยระบบสาย วิทยุสื่อสาร หรือระบบแม่เหล็กไฟฟ้าอื่น ๆ. | ธัมมเทสนามัย | (ทำมะเทสะนาไม) ว. สำเร็จด้วยการสั่งสอนธรรมให้ความรู้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. | ธัมมัสสวนมัย | (ทำมัดสะวะนะไม) ว. สำเร็จด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. | ธารณามัย | ว. ซึ่งสำเร็จด้วยความทรงจำ. | น้ำพักน้ำแรง | น. การทุ่มเททำงานอย่างอุตสาหะจนบรรลุผลสำเร็จด้วยตนเอง เช่น บ้านหลังนี้สร้างด้วยน้ำพักน้ำแรงของเขาแท้ ๆ. | บุญฤทธิ์ | (บุนยะ-) น. ความสำเร็จด้วยบุญ. | ปลา ๑ | (ปฺลา) น. ชื่อสัตว์น้ำเลือดเย็นมีกระดูกสันหลัง ร่างกายแบ่งเป็นส่วนหัว ลำตัว และหาง หายใจด้วยเหงือกยกเว้นปลาปอด มีครีบใช้ช่วยในการเคลื่อนไหวและทรงตัว บางชนิดมีเกล็ด บางชนิดไม่มี รูปร่างลักษณะ ขนาด และพฤติกรรมแตกต่างกันมากมาย กินทั้งพืชและสัตว์ พบในแหล่งนํ้าทั่วไป. | ปัตตานุโมทนามัย | ว. สำเร็จด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. | ปัตติทานมัย | (-ทานนะไม) ว. สำเร็จด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้แก่ผู้อื่น, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. | ปู ๑ | น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีหลายวงศ์ หายใจด้วยเหงือก หัวและอกรวมกันเป็นลำตัว ท้องแบนพับอยู่ใต้อก เรียก จับปิ้งหรือตะปิ้ง มีรยางค์ขา ๕ คู่ คู่แรกเป็นขาก้าม พบอาศัยอยู่บนบกในน้ำจืด และทะเล เช่น ปูดำหรือปูทะเล ปูม้า ปูแสม | ผิวบาง | ว. แบบบาง, อ่อนแอ, ผู้ดี, ใช้โดยปริยายไปถึงจิตใจด้วย. | ภาวนามัย | ว. สำเร็จด้วยภาวนา, แล้วไปด้วยภาวนา, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ. | มโนมัย | ว. สำเร็จด้วยใจ, ใช้ประกอบกับ ม้า หมายความว่า ม้าที่ใช้ขับขี่รวดเร็วได้ดังใจ. | มัย ๒ | ว. สำเร็จด้วย, แล้วด้วย, ประกอบด้วย, (ใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น มโนมัย ว่า สำเร็จด้วยใจ, กุศลมัย ว่า แล้วด้วยกุศล, ตฤณมัย ว่า ประกอบด้วยหญ้า). | มือสั้นตีนสั้น | ก. ขาดกำลังที่จะช่วยให้กิจการสำเร็จด้วยดี. | รัญจวน | ก. ปั่นป่วนใจ เช่น กลิ่นหอมรัญจวนใจ, สะเทือนใจด้วยความกระสันถึง. | รู้เห็นเป็นใจ | ก. รู้เห็นเหตุการณ์และให้ความร่วมมือร่วมใจด้วย เช่น เขารู้เห็นเป็นใจกับโจร. | แรงงาน | น. คนงาน, ผู้ใช้แรงในการทำงาน, เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งานก่อสร้างต้องการแรงงานเพิ่ม, ประชากรในวัยทำงาน ไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แม่บ้าน นักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากำไร เช่น วันแรงงาน, แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น ถนนนี้สร้างสำเร็จด้วยแรงงานของชาวบ้าน | ลิ้นทูต | ว. มีศิลปะในการเจรจาให้สำเร็จประโยชน์และเป็นที่พอใจด้วยกันทุกฝ่าย. | ลูกอ๊อด | น. ตัวอ่อนของกบ คางคก เป็นต้น ที่เพิ่งออกจากไข่ ตัวกลม ๆ มีหางแหลม ส่วนใหญ่จะมีสีดำหรือสีน้ำตาล หายใจด้วยเหงือก. | เลื้อยคลาน | น. สัตว์เลือดเย็นจำพวกที่ผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม หายใจด้วยปอดอย่างจิ้งจก จิ้งเหลน จระเข้ เต่า งู ส่วนมากวางไข่ หลายชนิดออกลูกเป็นตัว ลูกอ่อนมีลักษณะอย่างพ่อแม่ เรียกว่า สัตว์เลื้อยคลาน, เดิมเรียกว่า สัตว์เสือกคลาน. | แล้วด้วย, แล้วไปด้วย | สำเร็จด้วย เช่น แล้วด้วยใจ. | โลมา ๒ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Cetacea อันดับย่อย Odontoceti มีหลายชนิด หลายวงศ์ ลำตัวใหญ่ บางชนิดปลายจะงอยปากยื่นแหลม บางชนิดหัวกลมมน มีฟัน หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ มักมีครีบหลัง ๑ ครีบ หายใจด้วยปอด อาศัยอยู่ในทะเล เช่น โลมาขาวเทา [ Sotalia plumbea (Cuvier) ] ในวงศ์ Stenidae โลมาหัวขวด (Delphinus delphis Linn.) โลมาอิระวดี [ Orcaella brevirostris (Gray) ] อาศัยอยู่ได้ในน้ำจืด เช่น ทะเลสาบในจังหวัดพัทลุง และแม่น้ำโขง ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Delphinidae โลมาหัวบาตร [ Neophocaena phocaenoides (Cuvier) ] ในวงศ์ Phocaenidae, ปลาโลมา ก็เรียก. | วับ ๆ หวำ ๆ | ว. รู้สึกวาบ ๆ ในใจด้วยความหวาดหวั่น เช่น ใจวับ ๆ หวำ ๆ เวลาจะเข้ารับการผ่าตัด. | เวยยาวัจจมัย | ว. สำเร็จด้วยการขวนขวายรับใช้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. | ไวยาวัจมัย | (-วัดจะไม) ว. ที่สำเร็จด้วยการขวนขวายช่วยเหลือ (ใช้แก่บุญ). | สีลมัย | (สีละไม) ว. สำเร็จด้วยศีล, แล้วไปด้วยศีล, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ. | เสียดแทง | ว. อาการที่กล่าวให้เจ็บใจด้วยความริษยาเป็นต้น เช่น วาจาเสียดแทงย่อมทำลายมิตร. | เสียว | ก. รู้สึกแปลบเพราะเจ็บ เช่น รู้สึกเสียวที่ข้อเท้าเพราะเท้าแพลง, เกิดอาการที่ทำให้ขนลุกหรือกลัว เช่น เดินเข้าไปในป่าช้าเวลาค่ำ ๆ ได้ยินเสียงแกรกกรากก็รู้สึกเสียว พอเห็นเข็มฉีดยาก็เสียวเสียแล้ว, รู้สึกวาบในหัวใจด้วยความกำหนัด | เสียวซ่าน | ก. รู้สึกวาบวับเข้าไปในหัวใจด้วยความกำหนัดยินดี. | หวาดวิตก | ก. มีความกังวลใจด้วยความหวาดกลัว. | หวาดเสียว | ก. รู้สึกวาบในหัวใจด้วยความกลัว, หวาดกลัวจนขนลุกขนชัน. | เหิมหาญ | ว. ลำพองใจด้วยความกล้าหาญ. | เหิมห้าว | ว. ลำพองใจด้วยความมุทะลุดุดัน, ลำพองใจด้วยความแข็งกร้าว. | เหิมฮึก | ว. ลำพองใจด้วยความคะนอง, ฮึกเหิม ก็ว่า. | อปจายนมัย | ว. ที่สำเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตัวต่อผู้ใหญ่ (ใช้แก่บุญ), เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. | ฮึกเหิม | ก. ลำพองใจด้วยความคึกคะนอง, เหิมฮึก ก็ว่า. |
| percussion, instrumental | การเคาะตรวจด้วยเครื่องมือ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | respiration, abdominal | การหายใจด้วยหน้าท้อง [ มีความหมายเหมือนกับ respiration, diaphragmatic ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | respiration, costal; respiration, thoracic | การหายใจด้วยอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | respiration, diaphragmatic | การหายใจด้วยกะบังลม [ มีความหมายเหมือนกับ respiration, abdominal ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | respiration, thoracic; respiration, costal | การหายใจด้วยอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sample survey | การสำรวจด้วยตัวอย่าง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | oesophagography; examination, barium swallowing | การตรวจด้วยการกลืนแบเรียม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | optical scanner | เครื่องกราดตรวจด้วยแสง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | abdominal respiration | การหายใจด้วยหน้าท้อง [ มีความหมายเหมือนกับ respiration, diaphragmatic ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | barium swallowing examination; esophagography; oesophagography | การตรวจด้วยการกลืนแบเรียม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | microtome | เครื่องตัดชิ้นเนื้อ (สำหรับตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | microscopic | ๑. เล็กมาก๒. -เห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์๓. -ส่องตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | costal respiration; respiration, thoracic | การหายใจด้วยอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diaphragmatic respiration | การหายใจด้วยกะบังลม [ มีความหมายเหมือนกับ respiration, abdominal ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | electromagnetic prospecting | การสำรวจด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | esophagography; examination, barium swallowing; oesophagography | การตรวจด้วยการกลืนแบเรียม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | examination, barium swallowing; esophagography; oesophagography | การตรวจด้วยการกลืนแบเรียม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | echocardiography | การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | instrumental percussion | การเคาะตรวจด้วยเครื่องมือ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | thoracic respiration; respiration, costal | การหายใจด้วยอก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Seismic exploration | การสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Independent Living | การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน [Assistive Technology] | Biopsy, Needle | การตัดเนื้อตรวจด้วยเข็ม [TU Subject Heading] | Coronary angiography | การบันทึกภาพหลอดเลือดหัวใจด้วยรังสี [TU Subject Heading] | Electric countershock | การช็อคหัวใจด้วยไฟฟ้า [TU Subject Heading] | Electron microscopy | การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน [TU Subject Heading] | Banker | ธนาคาร (ที่ทำธุรกิจด้วย) [เศรษฐศาสตร์] | Microscopy | การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ [TU Subject Heading] | Scanning electron microscopy | การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดตรวจ [TU Subject Heading] | Transmission electron microcopy | การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบทรานสมิสชัน [TU Subject Heading] | International Finance Corporation | คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] | United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] | Biopsy, Needle | การตัดชิ้นเนื้อตรวจโดยวิธีใช้เข็มเจาะ, ใช้เข็มฉีดยาดูดเอาชิ้นเนื้อออกมาตรวจโดยตรง, วิธีเจาะแล้วดูดออกด้วยเข็ม, การใช้เข็มแทง, การเจาะตัดด้วยเข็ม, การตัดเนื้อตรวจด้วยเข็ม, การทำไบออพซีด้วยเข็ม, เจาะตรวจด้วยเข็ม [การแพทย์] | Bronchoscopy | หลอดลม, การส่องตรวจด้วยกล้อง;หลอดลม, การใช้กล้องส่องตรวจ;การส่องตรวจหลอดลม;กล้องส่อง;ส่องตรวจในหลอดลม;การตรวจโดยใช้กล้องตรวจหลอดลม;ส่องตรวจหลอดลมการส่องตรวจหลอดลม;การตรวจส่องดูหลอดลม [การแพทย์] | Cardioversion | ช็อคหัวใจด้วยไฟฟ้า [การแพทย์] | Colposcopy | คอลโปสโคปีย์;ช่องคลอด, การใช้กล้องส่องตรวจ;การตรวจโดยใช้กล้องตรวจช่องคลอด;การส่องตรวจทางช่องคลอด, ตรวจด้วยกล้องส่องช่องคลอด [การแพทย์] | Control, Time-Cycled | เครื่องชนิดกำหนดรอบการหายใจด้วยเวลา [การแพทย์] | Duodenoscopy | ลำไส้เล็กดุโอดีนัม, การส่องตรวจด้วยกล้อง [การแพทย์] | Echocardiography | การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง, หัวใจ, การบันทึกคลื่นเสียงสะท้อน, การตรวจหัวใจด้วยเครื่องสะท้อนเสียง, การตรวจโดยเสียงสะท้อน, คลื่นเสียงสะท้อนของหัวใจ, การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ, คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ [การแพทย์] | Electrocardiograph | เครื่องบันทึกภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, เครื่องตรวจหัวใจด้วยไฟฟ้า [การแพทย์] | Electrodiagnosis | การวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า, การตรวจด้วยไฟฟ้า, วิธีตรวจกล้ามเนื้อด้วยไฟฟ้า, เครื่องที่ใช้เพื่อการวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า, การตรวจระบบประสาทกล้ามเนื้อด้วยไฟฟ้า [การแพทย์] | Electrokymography | อิเล็กทรอคัยโมกราฟีย์, อิเล็กโตรไคโมกราฟี, การบันทึกภาพรังสี, การบันทึกการเคลื่อนไหวของหัวใจด้วยไฟฟ้า [การแพทย์] | Electroretinogram | การตรวจด้วยคลื่นไฟฟ้า [การแพทย์] | Enema, Barium, Regular | การสวนตรวจด้วยแบเรียมธรรมดา [การแพทย์] | Enema, Base Line Barium | การสวนตรวจด้วยแบเรี่ยมที่ทำไว้เทียบ [การแพทย์] | Enema, Controlled Barium | การสวนตรวจด้วยแบเรี่ยมที่ทำไว้เทียบ [การแพทย์] | Enzymatic Method | วิธีตรวจด้วยเอนไซม์, วิธีทดสอบที่ใช้เอ็นซัยม์, วิธีใช้หลักการทางด้านเอ็นไซม์ [การแพทย์] | Enzyme Technique, Two Stage | การตรวจด้วยเอ็นซัมย์ [การแพทย์] | Financial Incentives | การจัดสิ่งชวนใจด้านการเงิน [การแพทย์] | Fluoroscopy | ฟลูออโรสโคปีย์, ฟลูออโรสโคปี, การตรวจ, การตรวจด้วยจอรังสีแสงเรือง, การดูภาพทึบรังสีโดยตรง [การแพทย์] | superior vena cava | ซุพีเรียเวนาคาวา, หลอดเลือดใหญ่ที่นำเลือดจากส่วนหัว คอ และแขนทั้งสองข้างเข้าสู่หัวใจทางห้องบนของหัวใจด้านขวา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pulmonary vein | พัลโมนารีเวน, หลอดเลือดที่นำเลือดซึ่งมีออกซิเจนมาจากปอดเข้าสู่ห้องบนหัวใจด้านซ้าย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pulmonary artery | พัลโมนารีอาร์เตอรี, หลอดเลือดที่นำเลือดซึ่งขาดออกซิเจนมาจากห้องล่างของหัวใจด้านขวาไปยังปอด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | tricuspid valve | ลิ้นไตรคัสปิด, ลิ้นที่อยู่ระหว่างห้องบนของหัวใจด้านขวาและห้องล่างของหัวใจด้านขวาของหัวใจสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | aorta | เอออร์ตา, หลอดเลือดใหญ่ที่มาจากห้องล่างของหัวใจด้านซ้าย มีแขนงแยกออกไปเพื่อนำเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | data | ข้อมูล, สิ่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจากการสังเกต การทดลอง หรือการสำรวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึกไว้เป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Identification, Gross | การตรวจด้วยตาเปล่า [การแพทย์] | Infundibular Spasm | การบีบเกร็งของทางออกของหัวใจด้านขวา [การแพทย์] | Laryngoscopy | กล่องเสียง, การใช้กล้องส่องตรวจ; กล่องเสียง, การส่องตรวจด้วยกล้อง [การแพทย์] | Macroscopic Examination | ตรวจด้วยตาเปล่า, การตรวจด้วยตาเปล่า [การแพทย์] | Masturbation | มาสเตอร์เบชัน, บำบัดความใคร่ด้วยตนเอง, การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง, อัตกามปฎิบัติ, การสำเร็จความใคร่, สำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง, การช่วยตนเองทางเพศ, ปฎิบัติกามกิจด้วยตนเอง [การแพทย์] | Microscopic Examination | ตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์, ลักษณะจากกล้องจุลทรรศน์, การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ [การแพทย์] | Microscopic Identification | การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ [การแพทย์] | Microscopy, Electron | อีเล็คตรอนไมโครสโคปีย์, กล้องจุลทรรศน์อีเลคตรอน, กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน, การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน, วิธีการจุลทัศน์อีเล็กตรอน, กล้องจุลทัศน์ชนิดอิเลคตรอน, กล้องจุลทรรศน์อีเล็กตรอน, กล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอน [การแพทย์] |
| And you should be glad too. | และคุณก็ควรจะดีใจด้วยเหมือนกัน Basic Instinct (1992) | I'm sorry, Frank. | เสียใจด้วย แฟรงค์ The Bodyguard (1992) | I'm sorry. | เสียใจด้วย The Bodyguard (1992) | The children are expecting me So please, come to your senses | เด็กๆเค้าคาดหวังในตัวฉัน ดังนั้นได้โปรดเข้าใจด้วย The Nightmare Before Christmas (1993) | - l need that too. Here. | - ขอตรวจด้วยนะ Junior (1994) | Bravo, Doctor. | ในประวัติศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัย ดีใจด้วย ด็อกเตอร์ Junior (1994) | Mathilda, I'm glad you don't have a stomachache anymore. | มาธิวดา ฉันดีใจด้วย ที่เธอไม่ปวดท้องอีกแล้ว Léon: The Professional (1994) | I'm sorry. | ฉันเสียใจด้วย Léon: The Professional (1994) | It's really pretty. Unfortunately, I don't see suds! | มันสวยจังนะ แต่เสียใจด้วย ฉันไม่เห็นเธอวาง The One with the East German Laundry Detergent (1994) | Oh, my. I'm so sorry. How terribly awful. | โอ้ เสียใจด้วยนะ แย่จังเลย Jumanji (1995) | What's this ? Uh, the Judenrat has its own police now. | "จูเด็นราท"มีกองตำรวจด้วย Schindler's List (1993) | I'm very happy for you both. - When and where is the wedding to be? | ฉันดีใจด้วย แล้วงานแต่งจะจัดที่ไหน เมื่อไหร่คะ Rebecca (1940) | My condolences. This is going to take hours. | - ผมขอเเสดงความเสียใจด้วย-- Rebecca (1940) | I'm awfully sorry. I'm afraid I can't help you. I should have remembered the name de Winter. | ผมเสียใจด้วยครับ เเต่เกรงว่าผมคงจะช่วยไม่ได้ ผมน่าจะจําชื่อเดอ วินเทอร์ได้ Rebecca (1940) | Yeah. What about that business with the knife? | ใช่ สิ่งที่เกี่ยวกับธุรกิจด้วยมีดที่? 12 Angry Men (1957) | I'm very sorry but the store is closing. | เสียใจด้วยร้านปิดแล้ว The Good, the Bad and the Ugly (1966) | I'm sorry. | เสียใจด้วยนะ The Little Prince (1974) | Sorry, we're obeying orders | เสียใจด้วยพวกเราต้องทำตามคำสั่ง Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | I just wanted to tell you I heard about your folks. I'm really sorry. | ฉันก็เพิ่งจะรู้ข่าว เสียใจด้วยนะ Phantasm (1979) | - Yes, I know. I'm sorry. | - ใช่, ฉันรู้. ฉันเสียใจด้วย Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Understand he does not have to stand at the door. | เข้าใจด้วยว่า เขาไม่ต้องคอยที่ประตู Gandhi (1982) | I'm sorry, you're under arrest. | เสียใจด้วย คุณถูกจับแล้ว Gandhi (1982) | He must be allowed to decide for himself. | เขาจะต้องได้รับอนุญาตให้ตัดสินใจด้วยตัวเอง Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Frankly, Scarlet, I don't give a damn. | จริงๆ แล้วคุณสการ์เล็ต ผมไม่ได้ใส่ใจด้วยซ้ำ Clue (1985) | Ran to the library, hit the cop on the head with the lead pipe. | วิ่งไปที่ห้องสมุด ตีหัวตำรวจด้วยท่อน้ำ Clue (1985) | Too bad! | เสียใจด้วย! Vampire Hunter D (1985) | Sorry. Don't know them yet. | เสียใจด้วยนะ ฉันยังไม่รู้จักพวกเขา An American Tail (1986) | I'll have it taken down immediately and make sure that lunatic never works in this town again. | ผมจำต้องรีบยุติเรื่องนี้โดยทันที... ...และจะทำให้แน่ใจด้วยว่า เจ้าคนบ้าระห่ำอย่างนี้ จะไม่มีวันได้เหยียบเข้ามาที่ห้างของเราอีกเด็ดขาด Mannequin (1987) | I'm sorry, but you know us special people are destined for heartache. | ฉันเสียใจด้วย, ตัวเองก็รู้นะว่ายอดศิลปินอย่างเรา... ...ไวต่ออารมณ์สะเทือนใจมากแค่ไหน Mannequin (1987) | Yes. Power, too. Promise me that. | อำนาจด้วย สัญญาว่าจะให้ข้า The Princess Bride (1987) | Sorry. | - เสียใจด้วย Punchline (1988) | Billy, I'm terribly sorry. | บิลลี่ ผมเสียใจด้วยนะ Punchline (1988) | I'm sorry. But it's gotta end for me sometime. | ผมเสียใจด้วย แต่ว่าสักวันมันต้องจบลง Rambo III (1988) | I'm sorry. | เสียใจด้วย Rambo III (1988) | I'm sorry. | เสียใจด้วยนะ Casualties of War (1989) | I'm sorry, Ray. We got no choice. | เสียใจด้วย เรย์ เราไม่มีทางเลือก Field of Dreams (1989) | I'm sorry. | - ผมเสียใจด้วย Field of Dreams (1989) | I'm sorry you think so. | ผมเสียใจด้วย คุณคิดอย่างนั้นหรือ. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | I'm sorry, the insurance won't cover it. If he fell-- | เสียใจด้วย, ประกันภัยไม่สามารถดูแลเรื่องนี้ได้ ถ้าเกิดเขาล้ม.. Gattaca (1997) | I'm sorry. He's ill. A little nausea. | เสียใจด้วยค่ะ เขาป่วย เวียนหัวนิดหน่อย มันเป็นเรื่องปรกติก่อนภาระกิจเริ่ม Gattaca (1997) | Well, good for you. Congratulations. | ดีแล้วแหละ ดีใจด้วยนะ Good Will Hunting (1997) | Well, that's not gonna happen. | นั่นไม่มีทางหรอกนะ เสียใจด้วย The Jackal (1997) | I'm sorry, Declan. | เสียใจด้วยนะ เดย์แคน The Jackal (1997) | - I'm sorry. | - เสียใจด้วยนะคะ As Good as It Gets (1997) | I'm sorry you have been imprisoned in India... and hope this dreadful war will soon be over for everyone's sake. | เสียใจด้วยที่ถูกจองจำ อยู่ที่อินเดีย และหวังแทนทุกคนด้วยว่า สงครามที่โหดร้ายนี้จะจบลงในไม่ช้า Seven Years in Tibet (1997) | - Sorry to hear that. | - เสียใจด้วยนะ Seven Years in Tibet (1997) | - Congratulations. | - ดีใจด้วยนะ Seven Years in Tibet (1997) | You must understand. | ขอให้คุณเข้าใจด้วย Seven Years in Tibet (1997) | I'm sorry, Fabrizio. | เสียใจด้วยฟาบริซีโอ Titanic (1997) | Make sure, everybody, you've got your lifebelts on. | ให้แน่ใจด้วยการสวมชูชีพเอาไว้ Titanic (1997) |
| | aorta | (n) เส้นเลือดใหญ่ที่นำเลือดออกจากหัวใจด้านซ้าย | content with | (phrv) ทำให้พอใจด้วย | feed with | (phrv) ป้อนให้ด้วย, See also: ทำให้พึงพอใจด้วย | finish with | (phrv) ทำให้...จบลงด้วย, See also: สิ้นสุดด้วย, ทำให้เสร็จด้วย, Syn. end with | flavour with | (phrv) ทำให้น่าสนใจด้วยการเพิ่ม, See also: เพิ่มรสชาติด้วย | get through with | (phrv) ทำเสร็จด้วย, See also: เสร็จด้วย, Syn. go through, take through | inspire with | (phrv) ทำให้เร้าใจด้วย, See also: กระตุ้นด้วย, เร่งเร้าด้วย, Syn. infuse with | lure on | (phrv) กระตุ้น (สัตวหรือคน), See also: ดึงดูดใจ, ล่อใจด้วย | mean by | (phrv) เจตนา, See also: มุ่งหมาย, ตั้งใจด้วย, ทำให้เกิดด้วย | meritocracy | (n) ระบบสังคมที่เชื่อการสำเร็จด้วยตนเองไม่ใช้สิทธิพิเศษทางชนชั้น, Syn. squirearchy, aristocrcy | meritocrat | (n) ผู้ประสบสำเร็จด้วยตนเอง | meritocratic | (adj) ซึ่งประสบสำเร็จด้วยตนเอง | palpate | (vt) ตรวจด้วยการคลำหรือสัมผัส, See also: สัมผัสดู, คลำดู, Syn. touch, contact, finger | percuss | (vt) เคาะ, See also: ตรวจด้วยการเคาะ | pump in | (phrv) กระตุ้นด้วย, See also: เร้าใจด้วย, Syn. hammer in | pump into | (phrv) กระตุ้นด้วย, See also: เร้าใจด้วย, Syn. hammer into | show biz | (sl) ธุรกิจด้านบันเทิง (เช่น โทรทัศน์ วิทยุ ภาพยนตร์) | sorry' bout that | (sl) เสียใจด้วย, Syn. sorry about that | scanner | (n) เครื่องตรวจด้วยเสียงหรือรังสี, See also: อุปกรณ์รับและส่งสัญญาณ, เครื่องแสกนเนอร์ | self-determination | (n) อำนาจในการตัดสินใจอย่างอิสระ, See also: การกำหนดใจตนเอง, การตัดสินใจด้วยตัวเอง, Syn. free will, independence, freedom, liberty | self-made | (adj) สร้างตัวเอง, See also: ทำด้วยตัวเอง, สำเร็จด้วยตัวเอง, สร้างเนื้อสร้างตัวเอง, Syn. competent, self-reliance, self-taught | snorkeler | (n) คนหายใจด้วยสน็อร์กเกิล, See also: คนหายใจด้วยท่อช่วยหายใจ | thrill with | (phrv) ทำให้เร้าใจด้วย, See also: ทำให้ตื่นเต้นดีใจด้วย | vision | (n) ทัศนวิสัย, See also: ความสามารถในการรับรู้หรือเข้าใจด้วยการคาดการณ์ | volition | (n) การตัดสินใจด้วยตัวเอง, See also: การเลือกด้วยตัวเอง, Syn. choice, election, decision |
| bosom | (บูซ'เซิม) n. หน้าอก, อก, อกเสื้อ, เต้านมสตรี, สันอก, สถานที่อบอุ่นใจและน่าอยู่, น้ำใจ, ส่วนภายใน adj. เกี่ยวกับหน้าอก, (เพื่อน) สนิท, ลับ vt. สงวนไว้ในหัวใจด้วยความรัก, ถนอมรัก | cherish | (เชอ'ริช) { cherished, cherishing, cherishes } vt. ทะนุถนอม, รัก, ยึดมั่น, สงวนในดวงใจด้วยความรัก., See also: cherishingly adv., Syn. sustain, Ant. neglect | computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ | computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส | condole | (คันโดล') { condoled, condoling, condoles } vi. ปลอบโยน vt. แสดงความเสียใจด้วยกับ, See also: condolatory adj. ดูcondole condoler n. ดูcondole condolingly adv. ดูcondole, Syn. sympathize | condolence | (คันโดล'เลินซฺ) n. การปลอบโยน, การปลอบขวัญ, การแสดงความเสียใจด้วย., Syn. condolement, commiseration | harden | vt. ทำให้แข็ง, ทำให้จิตใจด้าน, เสริมกำลัง, ทำให้แข็งแกร่งขึ้น vt. แข็งขึ้น, (จิตใจ) ด้านหรือเหี้ยมขึ้น, มั่งคงขึ้น, Syn. fortify, solidity | optical scanner | เครื่องกราดตรวจด้วยแสงหมายถึง เครื่องมือซึ่งใช้แสงกราดตรวจไปทั่วบริเวณที่ต้องการ แล้วนำไปเก็บในหน่วยความจำ มีทั้งแบบระนาบ (flatbed) และแบบมือถือ (handheld) อย่างไรก็ตาม แม้จะสามารถเก็บข้อ ความ (text) ได้ แต่ก็เก็บในลักษณะที่เป็นภาพ ดู scanner ประกอบ | programmer | นักเขียนโปรแกรมนักเขียนชุดคำสั่งหมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ | self-determination | n. การตัดสินใจ, การตกลงใจด้วย ตนเอง, ลัทธิของประชาชนในการตัดสินใจเองว่าจะให้มีการปกครอง ในรูปใด., See also: self-determined adj. self-determining adj. | skein | (สเคน) n. กลุ่มด้าย, กลุ่มใยไหม, ไจด้าย, ไจไหม, เข็ดด้าย, เข็ดไหม, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน, กลุ่มด้ายที่ยุ่งเหยิง, Syn. hank, coil | toil | (ทอยลฺ) n. งานหนัก, งานตรากตรำ, การตรากตรำ, ความเหน็ดเหนื่อย, สงคราม, การต่อสู้, การดิ้นรน. vi. ทำงานหนัก, ตรากตรำ, ทำงานอาบเหงื่อต่างน้ำ, เดินทางด้ายความลำ-บากหรือเหน็ดเหนื่อย, ไปด้วยความลำบากหรือเจ็บปวด. vt. ประสบความสำเร็จด้วยการตรากตรำทำงาน. | volition | (โวลิช'เชิน) n. ความตั้งใจ, ความปรารถนา, การเลือกหรือการตัดสินใจด้วยตัวเอง, กำลังใจ, ความเห็นใจ., See also: volitional adj. volitionary adj., Syn. will, willpower | wheeze | (วีซ) vi., n. (การ) หายใจด้วยความลำบาก, หายใจหอบ, หายใจเสียงดังฮืด ๆ , เสียงดังกล่าว, คำตลกเก่า ๆ , คติพจน์เก่า ๆ, See also: wheezer n. wheezingly adv., Syn. pant, gasp, puff | worry | (เวอ'รี) vi., vt., n. (ทำให้) (ความ) เป็นห่วง, กังวล, หนักใจ, เป็นทุกข์, รบกวน, กัด, ฉีก, ทำให้เปลี่ยนตำแหน่ง, ลาก, ดึง, สาเหตุที่ทำให้ลำบากใจหรือกังวล -Phr. (worry along, worry through ก้าวหน้าหรือประสบความสำเร็จด้วยความพยายามแม้จะลำบาก), See also: worrier n. |
| | 自力 | [じりき, jiriki] (adj) ทำด้วยตนเอง, สำเร็จด้วยตัวเอง | 心配 | [しんぱい, shinpai] (n) (เวอ'รี) vi., vt., n. (ทำให้) (ความ) เป็นห่วง, กังวล, หนักใจ, เป็นทุกข์, รบกวน, กัด, ฉีก, ทำให้เปลี่ยนตำแหน่ง, ลาก, ดึง, สาเหตุที่ทำให้ลำบากใจหรือกังวล -Phr. (worry along, worry through ก้าวหน้าหรือประสบความสำเร็จด้วยความพยายามแม้จะลำบาก), S. . worrier n. |
| 残念 | [ざんねん, zannen] TH: เสียใจด้วย EN: regret |
| Tut mir leid! | (phrase) ฉันเสียใจ, เสียใจด้วย เช่น Haben Sie noch ein Zimmer frei? - Nein. Tut mir leid. | an etw.(Dat.) sterben | (vi) เสียชีวิตด้วยสาเหตุหนึ่งใด เช่น Er ist an einem Herzinfarkt gestorben. เขาสิ้นใจด้วยโรคหัวใจล้มเหลว |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |