ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ย้ำ, -ย้ำ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ocd | (n) โรคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive Compulsive Disorder) |
|
| ย้ำ | (v) clinch, Example: การตอกตะปูในจุดนี้จะต้องตอกซ้ำๆ ย้ำลงไปหลายๆ ครั้ง, Thai Definition: ทำซ้ำๆ เพื่อให้กระชับ หรือมั่นคง เป็นต้น | ย้ำ | (v) repeat, See also: reiterate, restate, retell, reaffirm, reassert, Example: จากข้อเท็จจริงที่กล่าวมาข้างบนนี้ ก็เพื่อจะย้ำถึงความสำคัญของงานจิตเวชชุมชน, Thai Definition: พูดซ้ำๆ เพื่อเน้น หรือเน้นให้เห็นความสำคัญ | การย้ำ | (n) repetition, See also: reiteration, recapitulation, Syn. การทำซ้ำๆ, การเน้น, Example: การย้ำถึงอดีตเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ, Thai Definition: การพูดหรือการทำซ้ำๆ เพื่อเน้นให้แน่น ให้กระชับ ให้มั่นคง | ตอกย้ำ | (v) emphasize, See also: stress, Syn. เน้น, ย้ำ, Example: การกระทำของเขาตอกย้ำความรู้สึกรังเกียจของสายสมร, Thai Definition: การกระทำซ้ำๆ เน้นย้ำให้มั่นคง | พรายย้ำ | (n) bruise, See also: black bruise, Example: ลักษณะของเลือดออกที่เกิดขึ้นตามผิวหนังอาจเป็นจุดแดงหรือพรายย้ำ ขนาด 1-10 มิลลิเมตร หรือเท่าปลายนิ้ว เรียกว่า เอกไคโมซิส, Count Unit: รอย, Thai Definition: รอยดำๆ ที่คนโบราณถือว่าถูกผีพรายกัดย้ำเอา | สั่งย้ำ | (v) repeat, See also: reiterate, restate, retell, Example: ก่อนออกจากห้องเรียน ครูสั่งย้ำเรื่องการบ้าน | เน้นย้ำ | (v) repeat, See also: emphasize, reiterate, Syn. ย้ำ, เน้น, Example: ผู้ทำค่ายต้องเน้นย้ำความเข้าใจกับเยาวชนเสียใหม่, Thai Definition: บอกซ้ำให้แน่ใจ | กล่าวย้ำ | (v) restate, See also: emphasize, Syn. ย้ำ, Example: จิตแพทย์และนักจิตวิทยาต่างก็กล่าวย้ำว่าสาเหตุการกระทำผิดของผู้ป่วยโรคจิตที่สำคัญได้แก่ความขัดแย้งทางจิตที่อยู่ในจิตใจของผู้ป่วย, Thai Definition: กล่าวซ้ำเพื่อต้องการเน้น | การตอกย้ำ | (n) emphasis, See also: repeat, stress, Example: การตอกย้ำในสิ่งที่ผ่านไปแล้วทำให้ผู้ถูกกระทำรู้สึกหมดกำลังใจ | ย้ำคิดย้ำทำ | (v) think or do repeatedly, See also: think or do something again and again, Example: อาการมีอารมณ์หงุดหงิดง่ายมาก ขี้น้อยใจ ย้ำคิดย้ำทำ ความจำหายไปบางช่วง เป็นอาการของคนชรา | ย้ำคิดย้ำทำ | (v) think or do repeatedly, See also: think or do something again and again, Example: อาการมีอารมณ์หงุดหงิดง่ายมาก ขี้น้อยใจ ย้ำคิดย้ำทำ ความจำหายไปบางช่วง เป็นอาการของคนชรา |
| ขย้ำ | (ขะยํ่า) ก. เอาปากงับกัดอย่างแรง, โดยปริยายหมายถึงการทำร้ายด้วยวาจาหรือการกระทำอย่างรุนแรง. | ใบเหยียบย่ำ | น. ใบอนุญาตให้จับจองที่ดินที่ทางราชการออกให้แก่ผู้จับจองที่ดินโดยกำหนดให้ผู้รับอนุญาตต้องทำประโยชน์ในที่ดินให้แล้วภายใน ๒ ปี. | ผย่ำเผยอ | (ผะหฺยํ่าผะเหฺยอ) ก. ปํ้า ๆ เป๋อ ๆ เช่น ทำหาวเรอพูดผยํ่าเผยอ (พงศ. เลขา). | พรายย้ำ | น. รอยดำ ๆ คล้ายถูกอะไรกัดเป็นรอยชํ้า ปรากฏตามร่างกายเป็นแห่ง ๆ แต่ไม่มีอาการเจ็บปวดอย่างไร โบราณถือว่าถูกผีพรายกัดยํ้าเอา แต่ไม่ถึงกับเข้าเป็นแผล. | ย่ำ | ก. เหยียบหนัก ๆ ซํ้า ๆ เช่น ย่ำโคลน ย่ำเลน, เดินในลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. | ย่ำกลอง | ก. ตีกลองถี่ ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลา. | ย่ำขี้เทือก | ก. ย่ำดินโคลนพื้นนาที่จะตกกล้าให้อ่อนเหลว, ย่ำเทือก ก็เรียก. | ย่ำเขี้ยว | ก. จมเขี้ยว เช่น เด็กถูกสุนัขกัดย่ำเขี้ยว. | ย่ำค่ำ | ก. ตีกลอง ฆ้อง หรือระฆังถี่ ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลาในเวลาค่ำ (ราว ๑๘ นาฬิกา). | ย่ำค่ำ | น. เวลาค่ำราว ๑๘ นาฬิกา. | ย่ำฆ้อง | ก. ตีฆ้องถี่ ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลา. | ย่ำต๊อก | ก. เดินไปเรื่อย ๆ เพราะไม่มีรถหรือค่ารถเป็นต้น เช่น เงินหมดกระเป๋าเลยต้องเดินย่ำต๊อกกลับบ้าน. | ย่ำเท้า | ก. เหยียบหนัก ๆ ซ้ำ ๆ อยู่กับที่. | ย่ำเท้าอยู่กับที่, ย่ำอยู่กับท่ี่ | ก. ไม่ก้าวหน้า, ไม่รุดหน้า, เช่น ทำงานมาหลายปีแล้ว ยังย่ำเท้าอยู่กับที่ ไม่ได้เลื่อนตำแหน่งเสียที. | ย่ำเทือก | ก. ยํ่าดินโคลนพื้นนาที่จะตกกล้าให้อ่อนเหลว, ย่ำขี้เทือก ก็เรียก. | ย่ำเป็นเทือก | ก. ย่ำกันไปมาจนเปื้อนเปรอะเลอะเทอะเหมือนเปรอะด้วยขี้เทือก. | ย่ำยาม | ก. ตีกลอง ฆ้อง หรือระฆังถี่ ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลาสำหรับเปลี่ยนยาม, ถ้ากระทำในเวลาเช้า เรียกว่า ย่ำรุ่ง (ราว ๖ นาฬิกา), ถ้ากระทำในเวลาค่ำ เรียกว่า ย่ำค่ำ (ราว ๑๘ นาฬิกา). | ย่ำยี | ก. เบียดเบียน เช่น ย่ำยีศาสนา, บีบคั้น, ข่มเหง, เช่น ย่ำยีจิตใจ, บดขยี้ เช่น ยกกองทัพไปย่ำยีประเทศอื่น. | ย่ำแย่ | ก. เหน็ดเหนื่อยมาก, ลำบากมาก, เช่น ทำงานย่ำแย่ ถูกใช้เสียย่ำแย่. | ย่ำรุ่ง | ก. ตีกลอง ฆ้อง หรือระฆังถี่ ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลาในเวลาเช้า (ราว ๖ นาฬิกา). | ย่ำรุ่ง | น. เวลารุ่งเช้าราว ๖ นาฬิกา. | ย่ำสนธยา | น. เวลาโพล้เพล้พลบค่ำ, สนธยา ก็ว่า. | ย้ำ, ย้ำ ๆ | ก. พูดหรือทำซํ้า ๆ (เพื่อเน้นให้แน่น ให้กระชับ ให้มั่นคง) เช่น พูดยํ้า ยํ้าหัวตะปู. | ย้ำ, ย้ำ ๆ | ว. อาการที่กัดเบา ๆ เพียงให้บุบหรือเป็นรอยช้ำ เช่น หมากัดย้ำ แต่ไม่เข้า เคี้ยวพอย้ำ ๆ. | ย้ำหัวเห็ด | ก. สอดนอตที่ปลายข้างหนึ่งบานลงในรูแผ่นโลหะ ๒ แผ่นที่ซ้อนให้รูตรงกัน ทำให้นอตร้อนจัดแล้วตอกย้ำให้ปลายบานอย่างดอกเห็ด ซึ่งเมื่อปล่อยให้เย็น นอตจะหดตัวรัดโลหะ ๒ แผ่นนี้ให้แนบกันสนิท. | ย่ำแย่ | ว. เหลือทน. | ย้ำเหยอ | (-เหฺยอ) ว. เลอะเทอะ, หลงลืม. | เหยียบย่ำ | ก. ละเมิดให้เสียหาย, ย่ำยีด้วยความดูถูก เช่น อย่าเหยียบย่ำคนจน. | เหยียบย่ำ | น. เอกสารซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อนุญาตให้จับจองที่ดินว่างเปล่า มีเงื่อนไขให้ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น เรียกว่า ใบเหยียบยํ่า. | เกียด ๑ | น. เรียกไม้ที่ปักขึ้นกลางลานสำหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ ว่า เสาเกียด. | คระ ๑ | (คฺระ) คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี คร- เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำคำหรือเป็นพหูพจน์ เช่น คระคราง (หมายความว่า ครางคราง) คระครึ้ม (หมายความว่า ครึ้มครึ้ม) คระโครม (หมายความว่า โครมโครม). | คะ ๑ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ. | จะ ๑ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี จ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น แจ้งแจ้ง กร่อนเป็น จะแจ้ง แจ่มแจ่ม กร่อนเป็น จะแจ่ม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้น. | ฉะ ๒ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ฉ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ฉาดฉาด กร่อนเป็น ฉะฉาด ฉ่ำฉ่ำ กร่อนเป็น ฉะฉ่ำ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ. | ซอยเท้า | ก. ย่ำถี่ ๆ เช่น ทหารซอยเท้าอยู่กับที่ เด็กซอยเท้าแสดงความไม่พอใจเมื่อไม่ได้ของเล่น | ซอยเท้า | กิริยาที่ผู้รำละครใช้ส่วนหน้าของฝ่าเท้าย่ำซ้ำ ๆ โดยส้นเท้าไม่แตะพื้น ขณะอยู่ในท่าย่อเข่า. | น้ำคัน | น. นํ้าสกปรกที่เจิ่งนอง เมื่อย่ำหรือแช่เท้าอยู่นาน ๆ จะทำให้เป็นโรคคันที่ง่ามเท้า. | บาท ๔ | น. ช่วงเวลาเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่วโมง เท่ากับ ๖ นาที, โบราณเขียนเป็น บาตร ก็มี เช่น ย่ำรุ่งสองนาลิกา เสษสังขยาห้าบาตร (ตะเลงพ่าย). | ปฐมยาม | (ปะถมมะ-) น. ยามต้น, ในบาลีแบ่งคืนออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปฐมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ย่ำค่ำ หรือ ๑๘ นาฬิกา ถึง ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา. | ปัจฉิมยาม | (ปัดฉิมมะ-) น. ยามหลัง, ยามสุดท้าย, ในบาลีแบ่งคืนออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปัจฉิมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ตี ๒ หรือ ๒ นาฬิกา ถึงย่ำรุ่ง หรือ ๖ นาฬิกา. | พลบค่ำ | น. เวลาย่ำค่ำ, เวลาโพล้เพล้, เวลาเข้าไต้เข้าไฟ, พลบ ก็ว่า. | ฟองฟอด | ว. ลักษณะที่มีฟองมาก เช่น แกงบูดเป็นฟองฟอด ย่ำน้ำโคลนเป็นฟองฟอด. | ฟอดแฟด | ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น เสียงย่ำโคลนดังฟอดแฟด | เยาะ | ก. พูดหรือแสดงกิริยาให้เจ็บใจชํ้าใจ โดยย้ำถึงความเสียเปรียบ ความด้อยกว่า หรือความผิดพลาด เช่น เยาะว่า ไหนว่าเก่งนัก ทำไมสอบตก. | ละครพูดสลับลำ | น. ละครที่มีบทสำหรับร้องแทรก ส่วนที่ร้องเป็นการย้ำเนื้อหาที่พูดด้วยบทไว้แล้ว ถ้าตัดการร้องเหลือแต่การพูดก็ยังเป็นละครพูดได้. | เลอะ | ว. เปื้อน เช่น เสื้อเลอะเขม่า หน้าเลอะหมึก, เปรอะไปด้วยสิ่งเปียก ๆ แฉะ ๆ มีลักษณะเละอย่างโคลนเลน เช่น ย่ำโคลนขึ้นบ้านเลอะหมด, เรี่ยรายกระจัดกระจายไปทั่วอย่างไม่มีระเบียบ เช่น วางข้าวของไว้เลอะเต็มห้อง, โดยปริยายหมายความว่า วุ่นวายสับสน เช่น เรื่องนี้ชักเลอะกันใหญ่ ผ้าดอกเลอะ | วะ ๒ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ว เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ว่อนว่อน กร่อนเป็น วะว่อน วาบวาบ กร่อนเป็น วะวาบ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ. | วัน ๑ | น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน | เสาเกียด | น. ไม้ที่ปักขึ้นเป็นหลักกลางลาน สำหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ, เกียด ก็ว่า. | หัวเห็ด | ดื้อรั้นไม่ยอมเปลี่ยนความคิดง่าย ๆ, หัวเห็ดย้ำ ก็ว่า เช่น มหาชนโดยมากเขาทำกันอย่างไร เราก็ต้องทำอย่างนั้น ที่จะไปหัวเห็ดย้ำให้ผิดกาลเทศะอย่างจีน ๆ ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วย (ลักวิทยา). |
| | Obsessive-compulsive disorder | โรคย้ำคิดย้ำทำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Riveted joints | ข้อต่อหมุดย้ำ [TU Subject Heading] | aide-mémoire | บันทึกช่วยจำ " 1. เป็นเอกสารที่สร้างข้อผูกพัน ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของสัญญา 2. ในทางการเมืองระหว่างประเทศ เป็นเอกสารที่ช่วยย้ำประเด็นที่ได้มาพบและพูดไว้ " [การทูต] | Child, Compulsive | เด็กย้ำคิดย้ำทำ [การแพทย์] | Compulsion | การย้ำทำ, ความต้องการที่จะกระทำพฤติกรรมอย่างบังคับใจไม่ได้, ลักษณะย้ำทำ [การแพทย์] | Ecchymosis | ช้ำเลือด, กาฬ, จ้ำเขียว, จ้ำเขียวตามตัว, จ้ำเลือดตามตัว, จ้ำเลือดสีคล้ำ, เลือดออกตามผิวหนังเป็นจ้ำๆ, พรายย้ำ, เลือดออกเป็นพรายย้ำ, จ้ำสีเขียวๆ, การบวมที่มีสีเขียวคล้ำหรือม่วง, จุดจ้ำเลือดตามตัว, จ้ำเลือด, รอยเลือดออกใต้ผิวหนังขนาดใหญ่, ห้อเลือด, ผื่นเลือดออก [การแพทย์] |
| การพูดย้ำ | [kān phūt yam] (n, exp) FR: anaphore [ f ] | การย่ำ | [kān yam] (n) EN: tread FR: piétinement [ m ] ; foulement [ m ] (vx) | การย่ำเท้า | [kān yam thāo] (n) EN: tread FR: piétinement [ m ] ; foulement [ m ] (vx) | การย่ำยี | [kān yamyī] (n) EN: oppression | หมุดย้ำ | [mut yam] (n, exp) FR: rivet [ m ] | เวลาย่ำค่ำ | [wēlā yamkham] (n, exp) EN: dusk ; nightfall ; twilight ; dark ; evening ; gloaming ; 6 o'clock in the evening FR: crépuscule [ m ] ; tombée du soir [ f ] ; 6 heures du soir | เวลาย่ำรุ่ง | [wēlā yamrung] (n, exp) FR: aube [ f ] ; lever du jour [ m ] ; au chant du coq ; 6 heures du matin | ย่ำ | [yam] (v) EN: tread ; tramp ; trample ; crush ; squash ; walk over FR: piétiner ; fouler | ย่ำ | [yam] (v) EN: beat ; strike ; knock FR: battre | ย้ำ | [yam] (v) EN: insist ; repeat ; reiterate ; restate ; retell ; reaffirm ; reassert FR: insister ; persister ; réitérer ; réaffirmer | ย้ำจุดยืน | [yam jutyeūn] (v, exp) EN: reaffirm one's stand ; reiterate one's stand FR: réaffirmer sa position | ย่ำค่ำ | [yamkham] (n) EN: dusk ; six o'clock in the evening ; nightfall ; toward evening FR: crépuscule [ m ] ; tombée du soir [ f ] ; six heures du soir ; dix-huit heures | ย้ำคิดย้ำทำ | [yam khit yam tham] (v, exp) EN: think or do repeatedly ; think or do something again and again | ย่ำรุ่ง | [yamrung] (n) EN: dawn ; daybreak ; sunrise ; daylight ; sun-up ; morn ; 6 o'clock in the morning FR: aube [ f ] ; lever du soleil [ m ] ; six heures du matin | ย้ำทรรศนะ | [yam thatsana] (v, exp) EN: reassert one's views |
| belabor | (vt) พูดมากหรือตอกย้ำเกิน | belabour | (vt) พูดมากหรือตอกย้ำเกิน | cast up | (phrv) เตือนให้ระลึกถึง (สิ่งที่ไม่น่านึกถึง), See also: ย้ำเตือน, Syn. fling up, sling up, throw up | din in | (phrv) ตอกย้ำ, See also: พร่ำสอนสั่ง, สั่งสอนซ้ำซากเพื่อให้ทำ | drill in | (phrv) พูดตอกย้ำ, See also: พร่ำสอน, Syn. hammer in | drill into | (phrv) ตอกย้ำ, See also: พร่ำสอน, Syn. hammer into | drive in | (phrv) ตอกย้ำ, See also: พร่ำสอน, สอนซ้ำๆ, Syn. hammer in | drive into | (phrv) พร่ำสอนสั่ง, See also: ตอกย้ำ, Syn. hammer into | drum in | (phrv) ตอกย้ำ, See also: พร่ำสอน, Syn. hammer in, hammer into | drum into | (phrv) ตอกย้ำ, See also: พร่ำสอน, Syn. hammer in, hammer into | emphasis | (n) การเน้นย้ำ, Syn. accent, stress, weight | emphasize | (vt) ให้ความสำคัญ, See also: ตอกย้ำ, เน้น, เน้นหนัก, ย้ำ, เน้นย้ำ, Syn. accentuate, highlight, stress | go on at | (phrv) ดุด่า, See also: ว่ากล่าว, บอกย้ำ, บอกซ้ำซาก, Syn. be after, be at, be on at | go round | (phrv) ตอกย้ำ | go round | (phrv) ตอกย้ำ, See also: คิดซ้ำซาก, คิดวนเวียนอยู่ในสมอง | hammer away at | (phrv) ตอกย้ำ | hammer home | (phrv) เน้นย้ำ, See also: ตอกย้ำ | hammer in | (phrv) ตอกย้ำ, See also: พร่ำสอน, พร่ำสั่งสอน, Syn. beat in, din in, drill in, drive in, pump in | hammer into | (phrv) ตอกย้ำ, See also: พร่ำสอนสั่ง, Syn. beat into, din in, drill into, drive into | harp on | (vt) พูดซ้ำซาก, See also: ย้ำ, Syn. nag, repeat | one and only | (idm) บุคคลที่มีชื่อเสียงและความสามารถ (ใช้แนะนำหรือเพื่อเน้นย้ำ), See also: หนึ่งเดียวคนนี้ | impress | (vt) เน้นย้ำ, See also: ทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง | inculcate | (vt) พร่ำสอน, See also: ตอกย้ำ, Syn. instill | ingeminate | (vt) ทำซ้ำ, See also: พูดย้ำ, พูดทบทวน, Syn. repeat, reiterate | insist | (vi) ยืนยัน, See also: ยืนกราน, กำชับ, ย้ำ | iterance | (n) การซ้ำ, See also: การย้ำ, Syn. repeat, iteration | iterate | (vt) กล่าวซ้ำ, See also: พูดซ้ำ, ย้ำ, Syn. reiterate, repeat, rehearse | iterative | (adj) ซ้ำ, See also: ย้ำ, Syn. repetitious | knock in | (phrv) บีบบังคับ, See also: ตอกย้ำ, พร่ำสอน, Syn. hammer in | keynote | (n) จุดสำคัญ, See also: ส่วนสำคัญ, สิ่งที่ย้ำเน้น, Syn. main theme | la | (int) คำอุทานแสดงความประหลาดใจหรือเน้นย้ำ | make certain | (phrv) ทำให้มั่นใจ, See also: แน่นอน, ย้ำให้แน่, Syn. make sure | maul | (vt) (สัตว์) กัดฉีก, See also: ขย้ำ, ตะครุบ, ทำให้บาดเจ็บ, ทำลาย, Syn. batter, bruise, harm, hurt, wound, Ant. heal | nay | (adv) ใช้พูดเน้นย้ำสิ่งที่พูด | overemphasize | (vt) เน้นย้ำ, Syn. stress, exaggerate, emphasize | press | (vt) เน้นย้ำให้เห็นความสำคัญ | pound in | (phrv) สอนแบบบังคับ, See also: ตอกย้ำ, Syn. hammer in | pound into | (phrv) (สอน) ตอกย้ำ, Syn. hammer into | remembrance | (n) สิ่งรำลึกถึง, See also: สิ่งย้ำเตือนให้รำลึกถึง, เครื่องเตือนความทรงจำ, Syn. commemoration, reminder, souvenir | rivet | (n) หมุดโลหะสำหรับตอกยึด, See also: หมุดย้ำ, Syn. bolt, screw | rub in | (phrv) สอนซ้ำ, See also: สอนตอกย้ำ, Syn. hammer in | say over | (phrv) พูดซ้ำ, See also: กล่าวซ้ำ, พูดย้ำ | sum up | (phrv) สรุปสาระ, See also: เน้นย้ำจุดสำคัญ | underline | (vt) เน้นความสำคัญ, See also: ย้ำ, เน้น, Syn. emphasize, stress | underscore | (vt) เน้นย้ำ, Syn. underline |
| accentuate | (แอคเซน' ชูเอท) vt. อ่านเน้น, ทำให้เด่น, อ่านซ้ำ, ใส่เครื่องหมายเสียงเน้นหนัก, เน้น, ย้ำ-accentuation n., Syn. emphasize | cancel | (แคน'เซิล) { cancelled, cancelling, cancels } vt., n. (การ) ยกเลิก, ขีดฆ่า, ทำให้เป็นโมฆะ, หักกลบลบหนี้. vi.ชดเชย., See also: canceler n. ดูcancel canceller n. ดูcancel หมายถึง การยกเลิกคำสั่งที่สั่งไปแล้ว อาจจะเนื่องมาจากได้สั่งการผิดลงไปด้วยความพลั้งเผลอ หรือมีการเปลี่ยนใจ ในระบบวินโดว์ คำสั่งบางคำสั่งจะมีการถามเพื่อให้มีการย้ำเตือน corfir mation เช่นเมื่อสั่งลบ ย้าย ฯ ในกรณีเช่นนี้ จะมีปุ่มคำสั่งนี้ไว้ให้เลือกทุกครั้ง มีคู่กับปุ่ม OK เพื่อให้มีโอกาสแก้ไขหรือเปลี่ยนใจได้ ถ้าไม่ต้องการยกเลิก ให้กดที่ปุ่ม OK | expletory | (เอคซฺ'พลีทอรี่) adj. เป็นการเสริม, เป็นการย้ำ. | gee | (จี) interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ-ความกระตือรือร้นหรือการย้ำเช่นโอ้โฮ interj. เสียงตวาดม้า. vt., vi. (ทำให้) เลี่ยงไปทางขวา | iterance | (อิท'เทเรินซฺ) n. การซ้ำ, การย้ำ | iterancy | (อิท'เทอเรินซี) n. การซ้ำ, การย้ำ | iterant | (อิท'เทอเรินทฺ) adj. ซึ่งเป็นการย้ำ, ซ้ำ, ย้ำ, Syn. repeating | iterate | (อิท'ทะเรท) vt. กล่าวซ้ำ, กล่าวย้ำ, ทำซ้ำ, ย้ำ., See also: iteration n., Syn. reiterate | iterative | (อิท'ทะเรทิฟว) adj. ซ้ำ, ย้ำ, กล่าวซ้ำ., See also: iterativeness n. | jingo | (จิง'โก) n., adj. (เกี่ยวกับ) ผู้แสดงความรักชาติอย่างรุนแรงและรุกราน -Phr. (byjingo! คำอุทานเพื่อแสดงการย้ำ) -, Syn. chauvinist, Ant. pacifist | overwrite | บันทึกทับหมายถึง การบันทึกแฟ้มข้อมูลลงเก็บในหน่วยบันทึก โดยใช้ชื่อซ้ำกับชื่อแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่เดิม หรือบันทึกข้อมูลทับลงไปในที่อยู่ (address) เดิม การทำดังกล่าวจะมีผลให้ข้อมูลในแฟ้มข้อมูลเดิมหายไป (มีความหมายเหมือน replace) ส่วนมาก คอมพิวเตอร์มักจะมีคำเตือนย้ำให้ก่อนเสมอ โดยเฉพาะเมื่อใช้คำสั่ง "save as" เพื่อสั่งเก็บข้อมูลลงในหน่วยบันทึก | recapitulate | (รีคะพิช'ชะเลท) vt., vi. สรุปความ, สรุปรวบยอด, สรุป, บรรยายสรุป, วิวัฒนการซ้ำ, กล่าวซ้ำ, กล่าวย้ำ., See also: recapitulation n. recapitulative, recapitulatory adj. | reiterant | (รีอิท'เทอเรินทฺ) adj. ย้ำ, กล่าวซ้ำ | repeat | (รีพีท') vt., vi., n. (การ) พูดซ้ำ, ทำซ้ำ, ย้ำ, ทำใหม่, ท่อง, ว่าตาม, ทบทวน, ทำซ้ำรอย, สิ่งที่กระทำซ้ำ, See also: repeatability n. repeatable adj., Syn. iterate, recite, rehearse | rivet | (ริฟ'วิท) n. หมุดย้ำ, หมุดเหล็ก, หมุดโลหะ, หัวหมุดย้ำ vt. ตีให้เป็นหัวหมุดย้ำ, ย้ำด้วยหมุดโลหะ, ยึด, ตรึง, จ้อง, เพ่ง, See also: riveter, rivetter n., Syn. asten, engage, fix | scrabble | (สแครบ'เบิล) vi., n. (การ) คุ้ยเขี่ย, ตะกุยหา, คลำหา, ขย้ำจับ, เขียนหวัด, เขียนขยุกขยิก, ดิ้นรน, See also: scrabbler n., Syn. search | spotlight | (สพอท'ไลทฺ) n. ไฟฉายสว่างจ้า, แสงสว่างจ้าจากไฟฉายแรงสูง, จุดสนใจของประชาชน. vt. ฉายส่องด้วยไฟฉายแรงสูง, ทำให้เห็นชัด, ทำให้เด่นชัด, เรียกร้องความสนใจ, ย้ำ, เน้น, Syn. highlijght, accent, feature | thyself | (ไธ'เซลฟฺ) pron. ตัวของคุณเอง, ตัวของท่านเอง, เป็นสรรพนามย้ำที่ใช้แทนthouหรือthee |
| clench | (vt) กำแน่น, บีบแน่น, ย้ำ, กอดรัด | emphasis | (n) การย้ำ, การเน้น, การให้น้ำหนัก, ความสำคัญ, ความหนักแน่น | emphasize | (vt) ย้ำ, เน้น, ให้น้ำหนัก, ให้ความสำคัญ | emphatic | (adj) ซึ่งย้ำ, ซึ่งเน้น, สำคัญ, หนักแน่น, เด่นชัด | inculcate | (vt) อบรม, พร่ำสอน, จ้ำจี้จ้ำไช, ย้ำ | iterate | (vt) ย้ำ, กล่าวซ้ำ | iteration | (n) การทวน, การย้ำ, การกล่าวซ้ำ | maul | (vt) ทุบตี, ขย้ำ, ทำลาย, ตะครุบ, ทำให้เสียโฉม | recapitulation | (n) การสรุปความ, การบรรยาสรุป, เรื่องย่อ, การกล่าวซ้ำ, การย้ำ | reiterate | (vt) กล่าวซ้ำ, ย้ำ, ทำซ้ำ | reiteration | (n) การกล่าวซ้ำ, การย้ำ, การทำซ้ำ | repeat | (vt) กลับมาอีก, ทำซ้ำ, ทบทวน, ย้ำ, ท่อง, ว่าตาม | rivet | (n) หมุดโลหะ, ตะปู, หมุดย้ำ, หมุดเหล็ก | stress | (vt) ย้ำ, ลงน้ำหนัก, เน้น, ออกเสียงหนัก | underline | (vt) ขีดเส้นใต้, เน้น, ย้ำ |
| 気を回す | [きをまわす, kiwomawasu] (exp) การคิดวกวน, การย้ำคิด, การคิดอะไรเกินจำเป็น |
| betonen | ย้ำ, เน้น | oder | ใช่มั้ย? ใช้ในกรณีถามย้ำความแน่ใจ Oder? | Verbindungselement | (n) |das, pl. Verbindungselemente| ชิ้นส่วนที่ใช้ในการต่อเชื่อมวัตถุสองสิ่งเข้าด้วยกัน เช่น น๊อตกับสกรู ที่ใช้ในการยึดชิ้นส่วนสองชิ้นเข้าด้วยกัน อาจเป็นวัสดุอื่นก็ได้ เช่น กาว เชือก หมุดย้ำ เข็มกลัด อะไรที่สามารถยึดของสองสิ่งเข้าด้วยกัน |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |