ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ยิ่ง, -ยิ่ง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ มนุษย์ป้า | คำที่ใช้เรียกผู้ที่มีพฤติกรรมที่มีลักษณะที่เห็นแก่ตัว ทำสิ่งต่างๆ โดยไม่สนใจว่าจะทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น การแย่งที่นั่งว่างในรถโดยสาธารณะ, การแซงคิวไม่ยอมต่อแถวคอยเวลาขึ้นรถไฟฟ้า, โดยส่วนมากจะเป็นสุภาพสตรีในวัยกลางคนจนถึงสูงอายุ จึงเป็นที่มาถึงคำว่า "ป้า" เริ่มเป็นที่ใช้กันแพร่หลายในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในช่วงปี 2557 โดยล่าสุดมีลือกันถึงกรณีมีผู้เปิดประตูรถแท็กซี่มีผู้โดยสารอยู่ขณะที่กำลังจอดติดไฟแดง ขอขึ้นไปนั่งด้วยหน้าตาเฉยโดยอ้างว่าขอติดรถไปด้วยตามเส้นทางที่ผ่าน |
|
| กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
| บวก | (vt) จู่โจม ปะทะ โจมตี มักใช้กันในกลุ่มผู้เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ บ้างก็ว่ามาจากวงการมวย คือ จังหวะบวกสวน เอาแรงชกของคู่ต่อสู้ที่ชกมาแล้วพลาด สะท้อนสวนกลับไปให้แรงยิ่งขึ้น | ภูวดิษฐ์ | [พู-วะ-ดิด] (name) คงไว้ซึ่งความยิ่งใหญ่ | อภิเชษฐ์ | [อะ-พิ-เชด] (n, vt) ความซาบซึ้ง, รู้สึกซาบซึ้ง, รู้สึกขอบคุณเป้นอย่างยิ่ง, See also: S. appreciate | อย่าหาทำ | (slang) อย่าได้คิดจะทำ อย่าได้ทำ, แสดงถึงความไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งในการที่ผู้พูดจะทำสิ่งนั้น | อัครเศรษฐ์ | [อัก-คะ-ระ-เสด] (name) ชายผู้เป็นเศรษฐีผู้ยิ่งใหญ่ |
| รกอก | [えんどつーえんど] (vi, vt, slang) ยุ่งยิ่ง |
| เสรีภาพแห่งการพอเพียง | [พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม |
| ยิ่ง | (adv) extremely, See also: the asmostmost, the greatest, the most extremely, Syn. เป็นยอด, ที่สุด, Example: การถ่ายทอดอารมณ์ให้กับภาพนั้นเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง | ยิ่ง | (adv) the more, Syn. เกิน, ล้ำ, เพิ่มขึ้น, Example: ดูเหมือนว่าหากเขายิ่งวิ่งมากเท่าไหร่ เขาก็ยิ่งเจ็บตัวมากเท่านั้น | ยิ่ง | (adv) more, Syn. นัก, แท้, มาก, Example: ผมรักคุณยิ่งกว่าสิ่งใดในโลกนี้, Thai Definition: อย่างมากมาย, อย่างแท้จริง | ยิ่ง | (aux) much, Example: นับวันเธอยิ่งอ้วนมากขึ้นรู้ตัวหรือเปล่า, Thai Definition: เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม | หยิ่ง | (v) be conceit, See also: be egotistical, be overly proud, be arrogant, be haughty, Syn. จองหอง, อวดดี, ลำพอง, ถือตัว, เย่อหยิ่ง, โอหัง, ทะนงตัว, Ant. ถ่อมตัว, Example: เขาหยิ่งจนไม่ยอมพูดกับใคร, Thai Definition: ถือดีในตัวของตัว, สำคัญว่ามีดีในตัวของตน | ยวดยิ่ง | (adv) excellently, See also: very well, perfectly, exquisitely, splendidly, wonderfully, Syn. เยี่ยมที่สุด, ยิ่งยวด, Example: สุขภาพจิตเป็นเรื่องที่มีความสำคัญยวดยิ่งต่อชีวิต | ยิ่งนัก | (adv) exceedingly, See also: extremely, increasingly, more and more, supremely, Example: คำพูดนี้เป็นประโยคที่ทิ่มตำความรู้สึกของคนชราให้ปวดร้าวยิ่งนัก | ยิ่งกว่า | (adv) more…than, See also: even more…than, Syn. มากกว่า, Example: ในอนาคตนั้นภาพเขียนของศิลปินดังจะมีมูลค่ามหาศาลยิ่งกว่าหลักทรัพย์ใดๆ | ยิ่งขึ้น | (adv) more, See also: still more, even more, increasingly, further, Syn. เพิ่มขึ้น, Example: เมื่อเทคโนโลยีพัฒนายิ่งขึ้น ความเจริญก็เพิ่มมากขึ้นด้วย | ยิ่งใหญ่ | (adj) great, See also: superior, mighty, powerful, important, Example: แม้ว่าไคฟูจะไม่ใช่ผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุด แต่เขาก็ทำหน้าที่ได้ดีพอควร | ยิ่งใหญ่ | (v) be great, See also: be superior, be mighty, be powerful, be important, Example: หัวหน้าเผ่าขณะนั้นมีฐานะเทียบเท่านายอำเภอ ไม่ได้ยิ่งใหญ่เหมือนขณะนี้ | หยิ่งยโส | (v) be self-important, See also: think highly of oneself, Syn. ยโส, ทะนงตัว, ถือตัว, เย่อหยิ่ง, อวดดี, จองหอง, โอหัง, ยโสโอหัง, Ant. ถ่อมตัว, Example: ข้าราชการมิใช่ว่าจะหยิ่งยโสไปทั้งหมด, Thai Definition: จองหอง อวดดี เย่อหยิ่ง เพราะถือว่าตัวมียศ มีปัญญา มีความรู้ มีกำลัง มีทรัพย์ | ความหยิ่ง | (n) pride, See also: conceit, vanity, proudness, Syn. การจองหอง, การอวดดี, การถือตัว, การลำพอง, Example: ข้าพเจ้าเป็นพันธุ์ลูกผสมแต่ก็ถือตนด้วยความหยิ่งว่าเป็นไทยแท้สมบูรณ์ด้วยชีวิตและจิตใจว่าเป็นไทยทุกกระเบียดนิ้ว | ยิ่งหย่อน | (v) be inferior to, See also: be fewer than, be less than, Syn. ด้อย, Example: ผู้หญิงมีความสามารถไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าผู้ชาย | หยิ่งผยอง | (adj) proud, See also: arrogant, haughty, disdainful, supercilious, Syn. ผยอง, หยิ่ง, ยะโส, จองหอง, ถือตัว, Example: ผู้ชายที่บ้าสะสมทองคำหรือผ้าสวมเสื้อผ้าไหม จะกลายเป็นคนหยิ่งผยอง เห็นแก่ตัว โอ้อวดความร่ำรวย | หยิ่งผยอง | (v) be conceited, See also: be arrogant, be haughty, Syn. ผยอง, หยิ่ง, ยะโส, จองหอง, ถือตัว, Example: คนที่ประสบชัยชนะจะหยิ่งผยอง หลงรักตนเอง และเชื่อมั่นในตนเองสูง | หยิ่งยะโส | (adj) arrogant, See also: haughty, disdainful, supercilious, Syn. หยิ่ง, หยิ่งยโส, ยโส, ทะนง, Ant. อ่อนน้อม, ถ่อมตัว, ถ่อมตน, Example: เขาเป็นคนหยิ่งยะโส แข็งกระด้าง อวดดี ใครๆ ก็เกลียดชังเขาทั้งนั้น, Thai Definition: ทะนงว่าตนมีดี | หยิ่งยะโส | (v) be too proud, See also: be stuck up, Syn. หยิ่ง, หยิ่งยโส, ยโส, ทะนง, Ant. อ่อนน้อม, ถ่อมตัว, ถ่อมตน, Example: ฉันเกลียดดาราคนนั้นมากเพราะเขาหยิ่งยะโส ดูถูกคนอื่น, Thai Definition: ทะนงว่าตนมีดี | อย่างยิ่ง | (adv) very much, See also: extremely, considerably, substantially, exceedingly, Syn. มาก, Example: หลักสูตรนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งกับผู้ที่ต้องการเรียนลัด, Thai Definition: อย่างมาก, อย่างที่สุด | ยิ่งขึ้นไป | (adv) increasingly, Syn. มากขึ้นไป, Example: หากเรามีกำลังคนมากขึ้นก็ยิ่งดีขึ้นไปอีก | ผู้ยิ่งใหญ่ | (n) great man, See also: hero, Syn. ผู้มีอิทธิพล, Example: การเปลี่ยนแปลงสังคมเยอรมันอยู่ภายใต้อำนาจของผู้ยิ่งใหญ่คือฮิตเลอร์, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีอำนาจสามารถกระทำการต่างๆ ได้ตามประสงค์ | มากยิ่งขึ้น | (adv) more and more, Ant. ลดน้อยลง, ลดลง, Example: ด้วยเทคโนโลยีที่ล้ำหน้าของซีดีนี้เอง ทำให้คุณได้รับอรรถรสแห่งเสียงเพลงที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น, Thai Definition: มากขึ้นกว่าเดิม | ความยิ่งใหญ่ | (n) mightiness, See also: immensity, Syn. ความใหญ่โต, ความโหฬาร, Example: ส.ส. บางคนอาศัยความสิ้นหวังของผู้คนเป็นบันไดทอดสู่ความยิ่งใหญ่ทางการเมืองของตน, Thai Definition: สภาพที่มีอำนาจมาก, ใหญ่มาก, มโหฬาร | ตัวนำยิ่งยวด | (n) superconductor | ตัวนำยิ่งยวด | (n) superconductor | ยิ่งกว่านั้น | (conj) moreover, See also: furthermore, Syn. อีกทั้ง, Example: ก๋วยเตี๋ยวเป็นอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ยิ่งกว่านั้นยังมีแคลอรี่น้อยเหมาะกับคนที่ควบคุมน้ำหนัก | อย่างยิ่งยวด | (adv) extremely, See also: terribly, Syn. อย่างที่สุด, Example: ผมไม่เคยเห็นใครบ้าบิ่นอย่างยิ่งยวดเช่นเขามาก่อน | ยิ่งไปกว่านั้น | (conj) in addition, See also: moreover, besides, Syn. นอกจากนั้น, Thai Definition: นอกเหนือไปจากนั้น | สารตัวนำยิ่งยวด | (n) superconductor, Example: สาเหตุของความเสียหายเกิดจากยังมีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ในสารตัวนำยิ่งยวดในปริมาณมาก, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สารที่สามารถนำพาหรือถ่ายทอดได้อย่างยอดเยี่ยมดียิ่ง | หยิ่งในศักดิ์ศรี | (v) be proud of (one's achievement), Syn. ถือตัว, Example: คนเราต่างก็มีสิทธิ์หยิ่งในศักดิ์ศรีของตัวเอง, Thai Definition: ไว้ตัว, ไม่ยอมลดตัว เพราะหยิ่งในเกียรติของตน | โดยเฉพาะอย่างยิ่ง | (adv) especially, See also: particularly, in particular, Syn. เป็นพิเศษ, โดยเฉพาะ, Example: ประเทศฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เปียโนมาช้านานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการประดิษฐ์เปียโนให้เป็นเฟอร์นิเจอร์ |
| โง่แกมหยิ่ง | ว. โง่แล้วยังอวดฉลาด, อวดดีทั้ง ๆ ที่โง่. | ยวดยิ่ง | ว. เยี่ยมที่สุด, มากที่สุด, ยิ่งยวด ก็ว่า. | ยิ่ง | ว. ถ้าอยู่ข้างหลัง หมายความว่า เป็นยอด, ที่สุด, เช่น งามยิ่ง ดียิ่ง, ถ้าอยู่ข้างหน้า ใช้ในเชิงเปรียบเทียบหมายความว่า เกิน, ลํ้า, เพิ่มขึ้น, เจริญขึ้น, มากขึ้น, ฯลฯ เช่น ยิ่งงาม ยิ่งดี, ถ้าประกอบหน้าคำอื่นมักมาเป็นคู่กันเสมอ เช่น ยิ่งมากยิ่งดี ยิ่งตียิ่งกัด ยิ่งแก่ยิ่งโง่ ยิ่งโตยิ่งเซ่อ. | ยิ่งกว่านั้น | ว. มากกว่านั้น. | ยิ่งนัก | ว. อย่างยิ่ง. | ยิ่งยวด | ว. เยี่ยมที่สุด เช่น มีความสามารถอย่างยิ่งยวด, มากที่สุด เช่น ใช้ความพยายามอย่างยิ่งยวด, ยวดยิ่ง ก็ว่า. | ยิ่งใหญ่ | ว. มีอำนาจมาก เช่น นักการเมืองผู้ยิ่งใหญ่, มีสติปัญญาความสามารถสูง เช่น กวีผู้ยิ่งใหญ่, สำคัญ เช่น ลดราคาครั้งยิ่งใหญ่. | ยุ่งยิ่ง | ก. ยุ่งจุก ๆ จิก ๆ เช่น ยุ่งยิ่งเรื่องปัญหาครอบครัว. | เย่อหยิ่ง | ว. จองหองเกินฐานะ, แสดงอาการยโสโอ้อวด, ถือตัว, อวดดี. | หยิ่ง | ว. จองหอง, อวดดี, ลำพอง, ถือตัว. | กณิกนันต์ | (กะนิกนัน) ว. ละเอียดยิ่ง เช่น ลวดหลายลายกณิกนันต์ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | กตาธิการ | (กะตาทิกาน) น. การอันยิ่งที่ทำแล้ว. | กตาธิการ | (กะตาทิกาน) ว. มีการอันยิ่งที่สั่งสมไว้. | กบเต้นต่อยหอย | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า คิดยิ่งแสนแค้นยิ่งศรเสียบทรวงหมอง. | กรรภิรมย์ | (กัน-) น. ฉัตร ๕ ชั้นและ ๗ ชั้น สำรับหนึ่งมี ๓ องค์ คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ ทำด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นเขียนทอง เป็นเครื่องสูงอันเป็นสิริมงคลยิ่งสำหรับพระมหากษัตริย์ ใช้กางเชิญนำพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ่ และใช้เข้าพิธีคชกรรมนำช้างสำคัญขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี. | กระชับ ๒ | ก. แน่น, แนบแน่น, แนบกันสนิท, พอเหมาะ, แต่มีความหมายบอกว่า มีลักษณะที่ยิ่งขึ้นหรือทีเดียว เช่น กระชับแน่น กระชับตัว กระชับความ กระชับมือ. | กระลูน | น. ความเศร้าโศก. ว. น่ากรุณา, น่าสงสาร, เช่น อ่อนจิตสวามีอันพูนกระลูนนุกูลภรรยายิ่งยอดกว่าอันภิปราย (สรรพสิทธิ์), เขียนเป็น กระลู่น์ ก็มี. | กรีฑาภิรมย์ | ว. น่ารื่นรมย์ยิ่งในกรีฑา, (โบ) ใช้ว่า กรีธาภิรมย์ ก็มี เช่น แห่งอรอาตมชายา อันกรีธาภิรมย์ (ม. คำหลวง ทศพร). | กรุณาทฤคุณ | (-ทฺรึคุน) น. กรุณาธิคุณ, คุณอันยิ่งใหญ่ คือ กรุณา. | กรุณาธิคุณ | น. คุณอันยิ่งใหญ่ คือ กรุณา. | กฤดาธิการ | (กฺริดาทิกาน) น. บารมีอันยิ่งใหญ่ที่ทำไว้. | กฤดาธิการ | (กฺริดาทิกาน) ว. มีบารมีอันยิ่งใหญ่ที่ทำไว้. (ส.; ป. กตาธิการ), ในบทกลอนใช้เป็น กฤดา หรือ กฤดาการ ก็มี. | กฤดาภินิหาร | (กฺริดาพินิหาน) น. อภินิหาร (บุญอันยิ่ง) ที่ทำไว้. | กฤดา, กฤดาการ | (กฺริดา, กฺริดากาน) น. บารมีอันยิ่งที่ทำไว้ (กร่อนมาจาก กฤดาธิการ) เช่น ทรงพระกฤดาเดชานุภาพยิ่งทวีขึ้น (พงศ. อยุธยา), ผู้ใดมีบุญญากฤดาการ (เสภาสุนทรภู่). | กลบท | (กนละ-) น. คำประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้คำหรือสัมผัสเป็นชั้นเชิงยิ่งกว่าธรรมดา เช่น เจ้าโศกแคนแค่นแค้นดั่งแสนศร มารานร่านร้านรอนให้ตักไษย ว่าโอโอ่โอ้กำม์มาจำไกล เวรุชื่อใดจองจ่องจ้องประจาน (กลบทตรีประดับ). | กวด | ก. ทำให้แน่น ให้ตึง หรือให้เขม็งยิ่งขึ้น เช่น กวดเชือก กวดผ้าปู, ทำให้เรียบและแนบสนิทเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น กวดตะปู, เร่งเพื่อให้ทัน เช่น วิ่งกวด. | กวดขัน | ว. เอาจริงเอาจัง, เร่งรัดให้ยิ่งขึ้น. | กวดวิชา | ก. เรียนเสริมหรือเพิ่มเติมเพื่อให้ทันหรือมีความรู้ดียิ่งขึ้น. | กว่า | เป็นคำใช้เปรียบเทียบแสดงความยิ่งหรือหย่อนต่อ เช่น มากกว่า น้อยกว่า ดีกว่า. | กว่า | (กฺว่า) สัน. ก่อน, ยังไม่ทัน, เช่น กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้, มักใช้เข้าคู่กับคำ จะ...ก็ เป็น กว่าจะ...ก็ หรือ กว่า...จะ...ก็, โบราณใช้ว่า ยิ่ง ก็มี เช่น ใจกว่าห้วงอรรณพ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | กว่าชิ่น, กว่าชื่น | ว. ไปทั้งสิ้น, ยิ่งนัก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพูตรูรัตนพิศาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร). | กษัตราธิราช | น. พระเจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่กว่ากษัตริย์ทั้งหลาย. | กษัตริยาธิราช | (กะสัดตฺริยาทิราด) น. พระเจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่กว่ากษัตริย์ทั้งหลาย. | กันลอง ๕ | ว. เลิศ, ยิ่ง. | การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ | น. การดำเนินการพัฒนาที่ดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปที่ดินใหม่ ปรับปรุงหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่วมรับภาระและกระจายผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับรัฐ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านต่าง ๆ. | กำไร | ว. ยิ่ง, เกิน, เช่น ทรงบำเพ็ญบารมีสี่อสงไขยกำไรแสนมหากัป. | กำลูน | ว. น่ากรุณา, น่าเอ็นดู, น่าสงสาร, เช่น ครั้นเห็นยิ่งระทดกำลูนสลดชีวา (ม. คำหลวง มัทรี). | กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน | น. ชื่อกุ้งขนาดเล็กหลายชนิดหลายสกุล เช่น สกุล Alpheus ในวงศ์ Alpheidae มีก้ามใหญ่ ๒ ข้าง ก้ามข้างหนึ่งโตกว่ามาก สามารถทำให้เกิดเสียงดังด้วยวิธีหนีบก้าม โดยเฉพาะเมื่อกระทบขันเสียงจะดังยิ่งขึ้น จึงได้ชื่อว่า กุ้งดีดขัน พบอาศัยหลบซ่อนอยู่ตามซอกวัสดุต่าง ๆ ริมฝั่งทั้งในนํ้าเค็มและนํ้ากร่อย ยกเว้นชนิด Alpheus microrhynchus De Man ที่พบอยู่ในนํ้าจืดด้วย, กระเตาะ ก็เรียก. | เกริก | (เกฺริก) ว. กึกก้อง, ดังสนั่น, เลื่องลือ, ยิ่ง. | เกรียง ๒ | (เกฺรียง) ว. ใหญ่, ยิ่ง, มาก, เช่น มีศัพท์สำเนียงเกรียงระงม (ม. คำหลวง กุมาร). | เกรียงไกร | (-ไกฺร) ว. ใหญ่ยิ่ง. | เกิน | ว. พ้น, เลย, คำนี้ใช้แก่ลักษณะที่มีมากกว่าหรือยิ่งกว่ากำหนด เช่น เกินขนาด เกินฐานะ เกินเวลา เกินสมควร. | เกินคน | ว. ยิ่งกว่าคนสามัญ เช่น ฉลาดเกินคน เลวเกินคน. | แก่ ๑ | โดยปริยายหมายความว่า จัดเจน หนัก หรือ ยิ่งไปในทางนั้น เช่น แก่สังคม แก่วิชา แก่เหล้า แก่เล่น แก่ไฟ. | แก่กล้า | ก. เข้มแข็ง, ยวดยิ่ง, เช่น ศรัทธาแก่กล้า. | แก่นแก้ว | ว. ยิ่งในทางที่เลว, เก่งในทางซุกซนหรือในทางไม่สู้ดี. | แก้ว ๑ | โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่เคารพนับถือยิ่ง ในคำว่า แก้วทั้ง ๓ อันหมายถึง พระรัตนตรัย, หรือใช้ประกอบคำนามให้หมายความว่าสิ่งนั้นมีค่ามาก เป็นที่รัก หรือดีเยี่ยม เช่น นางแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว ลูกแก้ว, หรือใช้เรียกของใสบางชนิด เช่น กระดาษแก้ว ผ้าแก้ว ข้าวเหนียวแก้ว. | แก้วตา | โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่รักยิ่ง. | ไกร ๒ | (ไกฺร) ว. ยิ่ง เช่น เหนหาญหื่นแหลมหลัก ไกรกว่า ตนนา (ยวนพ่าย), ใหญ่, มาก, เกิน | ไกรศรี ๑ | (ไกฺรสี) ว. ผู้ยิ่งด้วยสิริ. |
| preponderance of evidence | พยานหลักฐานที่มีน้ำหนักยิ่งกว่า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | super high frequency (SHF) | ความถี่สูงยิ่งยวด (เอสเอชเอฟ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | supersaturate | เกินอิ่มตัว, อิ่มตัวยวดยิ่ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | SHF (super high frequency) | เอสเอชเอฟ (ความถี่สูงยิ่งยวด) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | superheated gas | แก๊สร้อนยวดยิ่ง [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | superheated steam | ไอน้ำร้อนยวดยิ่ง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | superheated vapour | ไอร้อนยวดยิ่ง [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | supremacy | ความสูงสุด, ความใหญ่ยิ่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | supremacy | ความใหญ่ยิ่ง, ความสูงสุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | subcooling | การทำให้เย็นยิ่ง [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | superheat | ความร้อนยวดยิ่ง [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | super- | เหนือ, มากกว่าปรกติ, มากเกิน, ยวดยิ่ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | a fortiori (L.) | ยิ่งกว่านั้น, ยิ่งขึ้นอีก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judgment quasi in rem | คำพิพากษาเกี่ยวกับทรัพย์ยิ่งกว่าบุคคล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | most favoured nation | ชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | most favoured nation | ชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | most-favoured nation clause | ข้อกำหนดว่าด้วยชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | most-favoured-nation clause | ข้อกำหนดว่าด้วยชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | cryogenic | -ภาวะเย็นยวดยิ่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | cryogenics | อติสีตศาสตร์, วิชาความเย็นยวดยิ่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | cryogenics | วิชาความเย็นยวดยิ่ง, อติสีตศาสตร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | cy-prés (Fr.) | ที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง (ในเจตนา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | clause, most-favoured-nation | ข้อกำหนดว่าด้วยชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | degree of subcool | องศาเย็นยิ่ง [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | degree of superheat | องศาร้อนยวดยิ่ง [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | expansion valve superheat | ค่าความร้อนยวดยิ่งของวาล์วระเหยสารทำความเย็น [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | expansion valve superheat change | การเปลี่ยนค่าความร้อนยวดยิ่งของวาล์วระเหยสารทำความเย็น [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | in particular | กล่าวโดยเฉพาะ, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | infinitesimal | น้อยยิ่ง, กณิกนันต์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | nation, most favoured | ชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | utmost good faith | ความสุจริตใจอย่างยิ่ง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | ultra high frequency (UHF) | ความถี่สูงยิ่ง (ยูเอชเอฟ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ultra large scale integration (ULSI) | วงจรรวมความจุสูงยิ่ง (ยูแอลเอสไอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | ultra large scale integration (ULSI) | วงจรรวมความจุสูงยิ่ง (ยูแอลเอสไอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | uberrima fides | ความสุจริตใจอย่างยิ่ง มีความหมายเหมือนกับ utmost good faith [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | UHF (ultra high frequency) | ยูเอชเอฟ (ความถี่สูงยิ่ง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ULSI (ultra large scale integration) | ยูแอลเอสไอ (วงจรรวมความจุสูงยิ่ง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | ULSI (ultra large scale integration) | ยูแอลเอสไอ (วงจรรวมความจุสูงยิ่ง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Supercritical fluid extraction | การสกัดด้วยของไหลวิกฤตยิ่งยวด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Supercritical fluid | ของไหลวิกฤตยิ่งยวด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | พระอิสริยยศ | ยศอันยิ่งใหญ่, ยศที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ หมายถึง สกุลยศของพระราชวงศ์ที่ถือกำเนิดมาว่ามียศทางขัตติยราชสกุลชั้นใด เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า, ถ้าพระราชวงศ์พระองค์ใดได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ ก็อาจได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นเจ้าต่างกรมจึงต่อพระนามกรมไว้ท้ายพระ นามเดิม เช่น พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ [ศัพท์พระราชพิธี] | Superflidity | ของไหลยิ่งยวด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | supercomputer | ซูเปอร์คอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถสูง คิดคำนวณได้เร็วมากกว่าคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์นี้เดิมที่ตั้งขึ้นเพื่อเรียกคอมพิวเตอร์ Cray-1 ซึ่งเป็นเครื่องที่ผลิตโดยบริษัท Cray Research และต่อมามีผู้พัฒนาเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์อีกมาก รวมทั้งบริษัทคอมพิวเตอร์ในญี่ปุ่นด้วย ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีความเร็วสูงมาก และโดยทั่วไปถือว่าจะต้องเร็วกว่า 300 MFLOPS คือคำนวณเลขจุดลอยตัวได้เกินกว่า 300 ล้านคำสั่งต่อวินาที ซูเปอร์คอมพิวเตอร์นั้นอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงยิ่ง (high performance computer) [คอมพิวเตอร์] | system | ระบบ, ที่รวมของส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกัน และมีขอบเขตโดยแน่ชัด เช่น คอมพิวเตอร์เป็นระบบ เพราะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาตามที่ผู้ใช้กำหนด ร่างกายมนุษย์เป็นระบบเพราะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ ระบบทั้งหลายต้องรับอินพุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเข้าไปในระบบ ต่อจากนั้นจึงนำอินพุดเหล่านั้นมาดำเนินการให้เกิดเป็นเอาท์พุต หรือปรับอินพุดหรือการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การนำเอาท์พุดมาพิจารณาแล้วปรับ ดังนี้เรียกว่า การป้อนกลับ (feedback) [คอมพิวเตอร์] | Superconductor | ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | High temperature superconductor | ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดอุณหภูมิสูง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | protein | โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein)., Example: <p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | High temperature superconductivity | สภาพนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง [TU Subject Heading] | High temperature superconductors | ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง [TU Subject Heading] | Solutions, Supersaturated | สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด [TU Subject Heading] | Superconductiviry | สภาพนำยวดยิ่ง [TU Subject Heading] | Superconductors | ตัวนำยวดยิ่ง [TU Subject Heading] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] | ASEAN Charter | กฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต] | ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] | ASEAN Vision 2020 | วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน [การทูต] | Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] | Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] | Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | International Finance Corporation | คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] | International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | International Telecommunica-tion Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | Inviolability | หมายถึง ความละเมิดมิได้ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ตัวแทนทางการทูตต้องได้รับการคุ้มครองมากยิ่งกว่าบุคคล ธรรมดา มีการกล่าวกันว่า ตัวเอกอัครราชทูตนั้นจะได้รับการเคารพยกย่องพอ ๆ กับตัวประมุขของรัฐทีเดียว การให้ความคุ้มครองเช่นนี้จะขยายไปถึงสิ่งของทุกชิ้นที่เป็นของเอกอัคร ราชทูตบุคคลในครอบครัว บริวาร คนใช้ เครื่องเรือน เอกสาร และจดหมายโต้ตอบของเอกอัครราชทูต เป็นต้น [การทูต] | Most Favoured Nation (MFN) Treatment | การประติบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง (ใช้ในวงการกฎหมายระหว่างประเทศ) [การทูต] | National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] | Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] | Regional Organizations | คือองค์การส่วนภูมิภาค ในเรื่องนี้ ข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติไว้ว่า ?ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบัน อันจักริดรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็น เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มาตรการที่สมาชิกได้ดำเนินไปในการใช้สิทธิป้องกันตนเองนี้ จักต้องรายงานให้คณะมนตรีความมั่นคงทราบโดยทันที และจักไม่กระทบกระเทือนอำนาจและความรับผิดชอบของคณะมนตรีความมั่นคงภายใต้กฎ บัตรฉบับปัจจุบันแต่ทางหนึ่งทางใด ในอันที่จักดำเนินการเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้หรือสถาปนากลับคืนมา ซึ่งสันติภาพความมั่นคงระหว่างประเทศ?จะเห็นได้ว่า ประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกันมักจะทำข้อตกลงกันในส่วนภูมิภาค โดยอาศัยสนธิสัญญา และโดยที่อาศัยอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใกล้เคียงกัน ( Geographical Propinquity ) หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และมีวัตถุประสงค์ที่จะอำนวยความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเมืององค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่งที่พอจะหยิบยก มาเป็นตัวอย่างได้ คือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO) ซึ่งบัดนี้ได้ยุบเลิกไปแล้วเพราะหมดความจำเป็น องค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States-OAS) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต้ (NATO) องค์การร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา (ANZUS) เป็นต้น องค์การภูมิภาคเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยอาศัยข้อ 51 ของกฎบัตร สหประชาชาติ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิของประเทศสมาชิกที่จะทำการป้องกันตนเองโดนลำพังหรือโดย ร่วมกัน หากถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ [การทูต] | strategic partnership | หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เป็นลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมอย่างยิ่ง อยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค มีนโยบายและแนวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหารไปในแนวทางเดียวกัน [การทูต] | Team Thailand | ทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต] | Toxin | ชีวพิษหรือท็อกซิน สารเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อมนุษย์ มักเป็นโปรตีนที่สร้างจากจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียและรา อาจรวมไปถึงสารพิษจากพืชหรือสัตว์ต่าง ๆ ได้อีกด้วย [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Embryp | เอ็มบริโอ, สิ่งมีชีวิตในช่วงการพัฒนาระยะต้น (ภายในฟองใช่หรือในมดลูก) โดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนที่จะมีการพัฒนาเต็มที่ เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและพัฒนาของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ อย่างมาก ในมนุษย์มักจะใช้เรียกระยะเจ็ดถึงแปดสัปดาห์แรกภายหลังการปฏิสนธิ (การผสมของไข่กับอสุจิ) หลังจากนั้น นิยมเรียกเป็น ฟีตัส (Fetus หรือ Foetus) [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Plasticiser or Plasticizer | สารตัวเติมที่ใส่ลงไปในยางเพื่อเพิ่มความสามารถในการเปลี่ยนแปลงรูป ร่างได้ดียิ่งขึ้น ลดความแข็งเปราะ เพิ่มสมบัติการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำได้ดีขึ้น [เทคโนโลยียาง] | Processing aid | สารช่วยในกระบวนการผลิต คือ สารตัวเติมที่ใส่ลงไปในยางเพื่อช่วยให้กระบวนการผลิตในขั้นตอนต่างๆ เช่น การผสม (mixing) หรือการขึ้นรูป (shape forming) เป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น สารบางตัวในกลุ่มนี้ช่วยลดความหนืดของยางคอมพาวด์ ทำให้ยางไหลได้ง่ายยิ่งขึ้น จึงลดระยะเวลาและพลังงานที่ใช้ในการผลิต [เทคโนโลยียาง] | Softener | สารทำให้ยางนิ่ม คือ วัสดุที่เติมลงไปในยางปริมาณเล็กน้อยแล้วทำให้ความแข็งของยางผสมหรือยางคง รูปลดลงหรือทำให้กระบวนการผลิตเป็นไปได้ง่ายขึ้น (ปรับความหนืดของยางให้ลดลง ทำให้ยางไหลได้ง่ายขึ้น) หรือทำให้สารตัวเติมสามารถเข้าไปผสมกับยางได้ง่ายยิ่งขึ้น [เทคโนโลยียาง] | Tackifier | สารทำให้ยางเหนียวติดกัน เป็นสารเคมีที่เติมลงในยางทำให้ยางมีความเหนียวเพิ่มมากขึ้น ทำให้ยางสามารถติดกับยางด้วยกัน หรือติดกับวัสดุอื่นได้ดียิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ในการนำยางส่วนต่างๆ มาประกอบกันได้ง่ายขึ้น [เทคโนโลยียาง] | Clean Up | การทำให้บริสุทธิ์, ทำให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้น [การแพทย์] | Delusions, Grandiose | อาการหลงผิดเกี่ยวกับความยิ่งใหญ่ [การแพทย์] |
| ชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง | [chāt thī dāirap anukhrǿ ying] (n, exp) EN: Most favoured nation (MFN) | ชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง | [cheūn chom penyāngying] (n, exp) EN: rave review FR: critique dithyrambique [ f ] ; critique élogieuse [ f ] | โดยเฉพาะอย่างยิ่ง | [dōi chaphǿ yāngying] (adv) EN: especially ; particularly ; in particular FR: en particulier | เห็นด้วยอย่างยิ่ง | [hendūay yāngying] (v, exp) EN: I couldn't agree more FR: être tout à fait du même avis ; abonder ; approuver pleinement | เห็นด้วยอย่างยิ่ง | [hendūay yāngying] (xp) EN: absolutely ; exactly ; I couldn't agree more FR: absolument ; exactement ; tout à fait ; vous avez mille fois raison ; on ne peut mieux dire | ข้อกำหนดว่าด้วยชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง | [khøkamnot wādūay chāt thī dāirap anukhrǿ ying] (n, exp) EN: most-favoured nation clause | ความหยิ่งยโส | [khwām ying-yasō] (n) EN: arrogance FR: arrogance [ f ] | ก็ยิ่งดี | [kø ying dī] (x) FR: ce serait mieux | นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ | [nakwitthayāsāt phū yingyai] (n, exp) FR: scientifique illustre [ m ] ; célèbre homme de science [ m ] | ผู้ยิ่งใหญ่ | [phū yingyai] (n, exp) EN: big man ; powerful person ; person of consequence ; great man ; hero FR: personnage illustre [ m ] ; célébrité [ f ] ; sommité [ f ] ; personne éminente [ f ] | สำคัญยิ่ง | [samkhan ying] (adj) FR: vital ; capital | สารตัวนำยิ่งยวด | [sān tūanam ying-yūat] (n, exp) EN: superconductor FR: supraconducteur [ m ] | สภาพนำยิ่งยวด | [saphāp nam yingyūat] (n, exp) EN: superconductivity | ตัวนำยิ่งยวด | [tūanam yingyūat] (n, exp) EN: superconductor | ใหญ่ยิ่ง | [yaiying] (adj) EN: powerful | อย่างยิ่ง | [yāngying] (adv) EN: very much ; extremely ; considerably ; substantially ; exceedingly FR: terriblement ; diablement ; totalement ; tout à fait | อย่างยิ่งยวด | [yāng yingyūat] (adv) EN: extremely ; terribly | ยิ่ง | [ying] (x) EN: excessive ; extreme ; exceedingly ; supremely ; increasingly ; many FR: sublime ; suprême ; extrême | ยิ่ง | [ying] (adv) EN: extremely ; the asmost; the most ; the greatest ; the most extremely ; the more ; more ; much FR: extrêmement ; à l'extrême | หยิ่ง | [ying] (x) EN: haughty ; proud ; aloof ; arrogant ; vain FR: hautain ; arrogant ; fier ; vaniteux ; distant ; prétentieux | ยิ่งเช้ายิ่งดี | [ying chāo ying dī] (x) FR: le plus tôt sera le mieux | ยิ่งดีขึ้นทุกที | [ying dī kheun thukthī] (x) FR: de mieux en mieux | ยิ่งดีใหญ่ | [ying dī yai] (x) FR: tant mieux | ยิ่งขึ้น | [ying kheun] (adv) EN: more ; still more ; even more ; increasingly ; further FR: de plus en plus | ยิ่งขึ้นไป | [ying kheun pai] (adv) EN: increasingly | ยิ่งกว่า | [ying kwā] (x) EN: more ; even more FR: encore plus que | ยิ่งกว่านั้น | [ying kwā nan] (conj) EN: more than that ; moreover ; furthermore FR: en outre ; de plus ; en plus de cela | ยิ่งนัก | [ying-nak] (adv) EN: exceedingly ; extremely ; increasingly ; more and more ; supremely | ยิ่งไปกว่า | [ying pai kwā] (x) EN: much more than ; not only that ; in addition | ยิ่งไปกว่านั้น | [ying pai kwā nan] (conj) EN: more than that ; moreover ; in addition ; besides FR: en plus de cela | ยิ่งเร็วยิ่งดี | [ying reo ying dī] (x) FR: le plus tôt sera le mieux | ยิ่งว่ายิ่งยุ | [ying wā ying yu] (v, exp) EN: the more warning the more daring ; be counterproductive | ยิ่งใหญ่ | [yingyai] (v) EN: be great ; be superior ; be mighty ; be powerful ; be important | ยิ่งใหญ่ | [yingyai] (adj) EN: great ; superior ; mighty ; powerful ; important ; huge ; gigantic FR: vaste ; gigantesque | หยิ่งยโส | [yingyasō] (v) EN: be self-important ; think highly of oneself FR: se surestimer | หยิ่งยโสหนักขึ้น | [yingyasō nak kheun] (v, exp) EN: become increasingly arrogant | หยิ่งยโสหนักขึ้น | [yingyasō nak kheun] (v, exp) EN: be in the ascendant ; prosper ; grow ; germinate ; develop | หยิ่งยโสหนักขึ้น | [yingyasō nak kheun] (v, exp) EN: begin ; start ; open | หยิ่งยโสหนักขึ้น | [yingyasō nak kheun] (v, exp) EN: make inflated ; become inflated ; swell ; distend | หยิ่งยโสหนักขึ้น | [yingyasō nak kheun] (v, exp) EN: board ; go on board ; go aboard ; climb ; disembark | ยิ่ง...ยิ่ง | [ying ... ying] (x) FR: plus ... plus | ยิ่งหย่อน | [yingyǿn] (v) EN: be inferior to ; be fewer than ; be less than | ยิ่งยวด | [yingyūat] (adv) EN: supremely ; sublimely ; superbly ; extremely FR: extrêmement | เย่อหยิ่ง | [yoēying] (adj) EN: arrogant ; haughty ; vain ; vainglorious ; conceited FR: dédaigneux ; méprisant | ยวดยิ่ง | [yūat-ying] (adv) EN: (89 FR: extrêmement | ยุ่งยิ่ง | [yungying] (adv) EN: restlessly |
| | admirably | (adv) อย่างน่าชื่นชม, See also: อย่างน่าชมเชย, อย่างดียิ่ง, Syn. perfectly, wonderfully, excellently | all | (adj) มาก (คำไม่เป็นทางการ), See also: อย่างยิ่ง | also | (adv) ยิ่งกว่านั้น, See also: ยิ่งไปกว่านั้น, Syn. besides, in addition | and | (conj) และ, See also: ยิ่งไปกว่านั้น, มากไปกว่านั้น, Syn. also, moreover | arrogance | (n) ความเย่อหยิ่ง, See also: ความจองหอง, ความยโส, ความทะนง, Syn. pride, self-importance, arrogancy | arrogancy | (n) ความเย่อหยิ่ง, See also: ความจองหอง, ความยโส, ความทะนง, Syn. pride, self-importance, arrogance | arrogant | (adj) หยิ่ง, See also: ทระนง, ทะนง, ถือตัว, ยโส, โอหัง, วางโต, จองหอง, อหังการ, Syn. over-bearing, haughty | A watched pot never boils | (idm) ยิ่งคอยก็ยิ่งช้า | above all | (idm) โดยเฉพาะ (อย่างยิ่ง), See also: ส่วนใหญ่, โดยมาก | act up | (phrv) มีอาการมากขึ้น (คำไม่เป็นทางการ), See also: เจ็บมากขึ้น, ปวดยิ่งขึ้น, Syn. play up | add fuel to the flames | (idm) ทำให้รู้สึกรุนแรงยิ่งขึ้น | all for something | (idm) เชื่ออย่างยิ่งว่าบางสิ่งจะถูกกระทำ | all out effort | (idm) พยายามอย่างยิ่ง, See also: อุตสาหะมาก | backslap | (vi) ส่งเสียงพึงพอใจมาก, See also: แสดงความพอใจอย่างยิ่ง, Syn. be jovial | backslap | (vt) ส่งเสียงพึงพอใจมาก, See also: แสดงความพอใจอย่างยิ่ง | beatitude | (n) ความสุขอย่างยิ่ง, See also: ความปิติอย่างยิ่ง, Syn. blessedness, happiness | besides | (adv) นอกจากนี้, See also: ยิ่งไปกว่านี้ | better | (adj) ปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น, See also: เหนือกว่า, พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น | better | (vt) ปรับปรุง, See also: ทำให้ดียิ่งขึ้น, Syn. improve | big | (adj) ใหญ่, See also: ยิ่งใหญ่, Syn. large, Ant. small | breakthrough | (n) การพัฒนาหรือการค้นพบที่ยิ่งใหญ่, See also: โดยเฉพาะทางวิทยาศาสต์ เทคโนโลยี หรือทางการแพทย์, Syn. discovery | be over the moon | (idm) ลิงโลดใจ, See also: ยินดียิ่ง | be puffed up | (phrv) หยิ่ง (คำไม่เป็นทางการ), See also: อวดตัว, ภูมิใจในตัวเองเกินไป | be satisfy with | (phrv) พึงพอใจอย่างยิ่งกับ | boil up | (phrv) เป็นอันตรายยิ่งขึ้น (คำไม่เป็นทางการ) | break out in a cold sweet | (idm) กลัวมาก, See also: แสดงสัญญาณของความกลัวอย่างยิ่ง | burn for | (phrv) อยากมาก, See also: ต้องการอย่างยิ่ง | cardinal sin | (n) หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน) | cocky | (adj) หยิ่งยโส, See also: ทะนง, ที่มั่นใจในตนเองมากเกินไป, Syn. arrogant, overconfident | change for the worse | (idm) แย่ลง, See also: เลวร้ายยิ่งขึ้น | collide with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with | conflict with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash against | cry for | (phrv) กระหาย, See also: ร้องขอ, ต้องการอย่างยิ่ง, Syn. cry out, cry out for | cut someone to the heart | (idm) ทำร้ายความรู้สึกอย่างยิ่ง, Syn. cut someone to the quick | cut someone to the quick | (idm) ทำร้ายความรู้สึกอย่างยิ่ง, Syn. cut someone to the heart | drool over | (phrv) หลงใหล, See also: ชื่นชอบอย่างยิ่ง, Syn. slobber over, slop over | enlighten about | (phrv) ทำให้เข้าใจมากขึ้น, See also: ทำให้แจ่มแจ้ง, ทำให้รู้ชัดยิ่งขึ้น, Syn. enlighten on | enlighten on | (phrv) ทำให้เข้าใจมากขึ้น, See also: ทำให้แจ่มแจ้ง, ทำให้รู้ชัดยิ่งขึ้น, Syn. enlighten about | enrich with | (phrv) ทำให้ร่ำรวยยิ่งขึ้น (ด้วยเงินทองหรือสิ่งอื่น) | even up | (phrv) ทำให้เท่ากันมากขึ้น, See also: สมดุลยิ่งขึ้น | fag out | (phrv) ทำให้เหนื่อยอ่อนอย่างมาก (คำสแลง), See also: ทำให้อ่อนเพลียอย่างยิ่ง, Syn. tire out | flare up | (phrv) รู้สึก (โกรธ, ร้อน, รุนแรง) มากยิ่งขึ้น, Syn. fire up, flame out, flame up, flare out | deadly | (adv) สุดขีด, See also: เต็มที่, สมบูรณ์แบบอย่างยิ่ง, Syn. extreme, utter | dear | (adj) ซึ่งเป็นที่รักยิ่ง, See also: ซึ่งเป็นสุดที่รัก, Syn. loved, beloved | dear | (adj) มีค่า, See also: มีเกียรติอย่างยิ่ง, Syn. precious | deep | (adv) มาก, See also: อย่างยิ่ง, Syn. extremely, intensely | deep | (adj) มาก, See also: อย่างยิ่ง, Syn. extreme, intense | deepen | (vi) ทำให้ลึกยิ่งขึ้น | deepen | (vt) ทำให้ลึกยิ่งขึ้น | demigod | (n) ผู้ที่ยิ่งใหญ่กว่ามนุษย์ แต่ต้อยต่ำกว่าพระเจ้า, See also: ผู้ที่ถูกเคารพบูชาเหมือนเป็นพระเจ้า |
| a fortiori | (เอฟฟอร์ชิออร์' ไร) Latin ด้วยเหตุผลที่ดีกว่า, ยิ่งไม่ต้องสงสัย, ยิ่งขึ้น (all the more) | a.m.d.g. | abbr. l. ad majorum Dei gloriam แด่พระเกียรติคุณที่ยิ่งใหญ่ของพระเจ้า | add-on program | โปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น) | admirable | (แอด' มิระเบิล) adj. น่าเลื่อมใส, น่าศรัทธา, ดียอดยิ่ง, น่าชมเชย, Syn. attracitve | agony | (แอก' โกนี่) n., (pl. -nies) การทนทุกข์ทรมาน, ความเจ็บปวดยิ่ง, ความปวดร้าวทรมาน, อาการดิ้นรนก่อนตาย, การต่อสู้ที่รุนแรง | allen's law | เป็นภาวะที่เกิดในผู้ป่วยโรคเบาหวานซึ่งมีทฤษฎีนี้กล่าวว่า มีการรับคาร์โบไฮเดรตมากแต่มีการใช้ยิ่งน้อยลง | americanist | (อะเม' ริคันนิสทฺ) n. นักศึกษาเกี่ยวกับเครื่องของอเมริกา (โดยเ) พาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร็และภูมิศาสตร์) พวกเชี่ยวชาญวัฒรธรรมหรือภาษาของอินเดียนแดง. -Americanistic adj. (student of America) | amour-propre | (อะมัวพรอ' พระ) n., fr. ความรักตัวเอง, ความหยิ่งในศักดิ์ศรี | arrogance | (แอร'โรเกินซฺ) n. ความหยิ่ง, ความยโส, ความจองหอง., Syn. arrogancy n. | arrogant | (แอร'โรเกินทฺ) adj. หยิ่ง, ยโส, จองหอง, Syn. haughty, conceited, Ant. modest | assuming | (อะซูม'มิง) adj. หยิ่ง, โอหัง, อวดดี, ถือสิทธิ, Syn. presumptuous | assumption | (อะซัมพฺ'เชิน) n. การสันนิษฐาน, การนึกเอา, ข้อสมมุติ, การเข้ารับตำแหน่ง, ความหยิ่ง, การเสแสร้ง, เทศกาลพระแม่ (Virgin Mary) ขึ้นสวรรค์ (conjecture, supposition) | assumptive | (อะซัมพฺ'ทิฟว) adj. สันนิษฐาน, สมมุติ, หยิ่ง, โอหัง (taken for granted) | auxesis | (ออกซี'ซิส) n. การเจริญเติบโต (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื่องจากเพิ่มขนาดของเซลล์) | bally | (แบล'ลี) adj. อย่างยิ่ง, เต็มที่, เหลือเกิน | beastly | (บีส'ทฺลี) adj. คล้ายสัตว์, ทารุณ, โหดเหี้ยม, น่าเกลียดน่าชัง, อย่างยิ่ง, Syn. bestial | beloved | (บิเลิฟ'วิด) adj. สุดที่รัก n. ผู้เป็นที่รักยิ่ง, Syn. cherished | big shot | n. ผู้มีอิทธิพล, ผู้ยิ่งใหญ่, Syn. brass hat | bitmap | (บิตแมป) แผนที่บิตหมายถึง เส้นตัดกันของบิตในแนวตั้งและแนวนอน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงให้เป็นจุดภาพ ภาพในคอมพิวเตอร์นั้นจะประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสง ซึ่งเรียกว่าจุดภาพ (pixel) รวมตัวกัน ภาพที่มีจำนวนจุดภาพมาก จะยิ่งดูคมชัดมากดู pixel ประกอบ | bitmapped graphic | (กราฟิกบิตแมป) หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped image | bitmapped image | ภาพบิตแมป <คำแปล>หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped graphic | bitter | (บิท'เทอะ) { bittered, bittering, bitters } adj. ขม, ขมขื่น, เผ็ดร้อน, ปวดแสบ, รุนแรง, ดุเดือด, จัด, หนาวจัด, สาหัส, อาฆาต n. ความขม, สิ่งที่รสขม vt. ทำให้ขม adj. ยิ่ง, จัด, มาก, รุนแรง, See also: bitterish adj. ดูbitter -bitterness n. ดูbitter คำที่มีความหมาย | bloat | (โบลท) vt., vi. (ทำให้) ขยายตัว, (ทำให้) บวม, (ทำให้) หยิ่งหรือเหลิง -n. โรคลำไส้ใหญ่บวมแก๊ส, คนที่หยิ่ง, คนอ้วนฉุ, Syn. inflate, swell | blooming | (บลูม'มิง) adj. ดอกไม้บาน, กำลังบาน, ในวัยหนุ่มสาว, ในวัยแตกเนื้อสาว, เจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่ง, สุดขีด, ระยำ, อัปรีย์, Syn. fresh, Ant. declining | bonanza | (บะแนน'ซะ) n. ขุมแร่ใหญ่, ขุมแร่มีค่า, ขุมทรัพย์มหาศาล, ทรัพย์สมบัติที่ปรากฎขึ้นอย่างกะทันหัน, โชคลาภที่ยิ่งใหญ่ | breakthrough | (เบรค'ธรู) n. การพัฒนาอย่างมากมายยิ่ง, การก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ครั้งสำคัญยิ่ง, การฝ่าอุปสรรค, การบุกทะลวง, Syn. advance -Conf.break through | bridle | (ไบร'เดิล) n. บังเหียนม้า, สายบังเหียน, สิ่งควบคุม, สิ่งรั้ง, สายรั้ง, สิ่งบังคับการหมุน, เชือกหรือโซ่ผูกเรือ, การเชิดหน้า (เช่นแสดงอาการหยิ่ง) vt. บังเหียน, ควบคุม, เชิดหน้า (เช่น แสดงอาการหยิ่ง), See also: bridler n., Syn. curb, ch | bumptious | (บัมพฺ'เชิส) adj. อวดดี, หยิ่งโอหัง, ทะลึ่ง, See also: bumptiousness n. | cardinal | (คาร์'ดิเนิล) n. พระราชาคณะของคาทอลิก, นกจำพวกหนึ่งตัวผู้สีแดงจัด, สีแดงเข้ม adj. สำคัญยิ่ง, มีสีแดง, พื้นฐาน., See also: cardinalship n. ดูcardinal, Syn. principal | cavalier | (แคฟวะเลีย') n. ทหารม้า, คนขี่ม้า, สุภาพบุรุษที่ชอบเอาใจสตรี, คนเจ้าชู้, คนที่ชอบสนุกสนาน adj. เปิดเผย, มีใจอิสระ, หยิ่งยะโส, จองหอง, ขี้ประจบ, มีใจนักเลง., See also: cavalierism n. ดูcavalier cavalierness n. ดูcavalier, Syn. o | cavalierly | adv., adj. หยิ่งยโส, จองหอง, Syn. arrogantly | character | (แค'ริคเทอะ) n. ตัวอักษร, อักขระ, อุปนิสัย, คุณสมบัติ, ลักษณะพิเศษ, หลักความประพฤติ, ความรักหรือหยิ่งในศักดิ์ศรี, ชื่อเสียงที่ดี, เกียรติคุณ, ฐานะตัวในเรื่อง, บทบาทในละครหรือภาพยนตร์, สัญลักษณ์, See also: characterisation, characterization n. | chesty | (เชส'ที) adj. ซึ่งมีหน้าอกกว้างหรือใหญ่, ทะนงตัว, หยิ่ง, เกี่ยวกับโรคทรวงอก., See also: chestiness n. | clock ticks | สัญญาณนาฬิกาหมายถึง จังหวะช่วงเวลาที่นาฬิกาเดิน (ติ๊ก) ซึ่งจะเป็นช่วงที่แน่นอนสม่ำเสมอ ในแต่ละช่วงเดินของนาฬิกาที่เรียกว่า "ติ๊ก" นั้น คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่ง และจะหยุดทำงานในช่วงว่างระหว่างติ๊ก ยิ่งช่วงติ๊กนี้ถี่เท่าใด ก็ยิ่งแปลว่าคอมพิวเตอร์ทำงานเร็วเท่านั้น สัญญาณนาฬิกานี้ จึงถือเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความ เร็วของการเดินของนาฬิกา หรือความถี่นี้วัดกันเป็นเมกะเฮิรตช์ (megahertz) 1 เมกะเฮิรตซ์ จะเท่ากับ 1 ล้านติ๊กของนาฬิกาต่อ 1 วินาที คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซีในยุคปัจจุบันนั้นมีหน่วยความจำที่ทำงานด้วยความเร็ว ถึงประมาณ 33-66 เมกะเฮิร์ตซ์ | cockalorum | n. คนเล็ก ๆ ที่หยิ่งยโส, คนคุยโต, คนอวดเบ่ง, การเล่นกระโดดกบ | cockiness | (คอค'ดิเนส) n. ความหยิ่ง, ความขี้โอ่ | cockscomb | (คอค'สโคม) n. ต้นหงอนไก่, หงอนไก่, คนขี้โอ่, คนหยิ่ง | cocksy | (คอค'ซี) adj. หยิ่ง, อวดดี, ลำพอง, ยโส | cocky | (คอค'คี) adj. หยิ่ง, อวดดี, ลำพอง, ยโส, See also: cockiness n. ดูcocky cockily adv. ดูcocky | computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส | conceit | (คันซีท') { conceited, conceiting, conceits } n. ความหยิ่ง, ความทะนง, ความถือดี, ความคิด, จินตนาการ, ความเพ้อฝัน, ข้ออุปมาแห่งจินตนาการ vt. จินตนาการ, ติดอกติดใจ, Syn. egoism, egotism, self-esteem, notion, Ant. modesty, diffidence | conceited | (คันซีท'ทิด) adj. อวดดี, หยิ่ง, ถือดี, เป็นจินตนาการ., See also: conceitedness n. ดูconceited, Syn. vain, arrogant, Ant. modest, humble | consumedly | (คันซู'มิดลี) adv. อย่างมากมาย, อย่างยิ่ง, เกินไป, Syn. greatly | contemptuous | (คันเทมพฺ'ชุอัส) adj. น่าดูถูก, น่าชัง, น่ารังเกียจ, หยิ่งยโส, โอหัง. n., Syn. acornful, Ant. respectful | contumely | (คอน'ทุมะลี) n. การดูหมิ่น, ความหยิ่งยะโสที่เป็นการดูหมิ่น, การสบประมาท., See also: contumelious adj., Syn. insolence | copacetic | (โคพะเซท'ทิค) adj. พอใจที่สุด, ดีมาก, น่าพอใจอย่างยิ่ง | copasetic | (โคพะเซท'ทิค) adj. พอใจที่สุด, ดีมาก, น่าพอใจอย่างยิ่ง | copesetic | (โคพะเซท'ทิค) adj. พอใจที่สุด, ดีมาก, น่าพอใจอย่างยิ่ง | corroborate | (คะรอบ'บะเรท) vi. ยืนยัน, ทำให้แน่ใจยิ่งขึ้น, ทำให้หนักแน่นขึ้น, See also: corroborative adj. ดูcorroborate corroboratory adj. ดูcorroborate corroborator n. ดูcorroborate, Syn. confirm, verify | corroboration | (คะรอบบะเร'เชิน) n. การหาหลักฐานยืนยัน, การทำให้แน่ใจยิ่งขึ้น, ข้อเท็จจริงหรือคำพูดที่ยืนยันสนับสนุน, Syn. confirmation, proof |
| almighty | (adj) ยิ่งใหญ่, มีอานุภาพ, มีอำนาจมาก, มีอิทธิพล | arrogance | (n) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความยโส, ความอวดดี | arrogant | (adj) หยิ่ง, จองหอง, ยโส, อวดดี | beloved | (adj) ที่รัก, สุดที่รัก, เป็นที่รักยิ่ง | BIG big shot | (n) ผู้ยิ่งใหญ่, ผู้มีอิทธิพล | bigness | (n) ความใหญ่, ความยิ่งใหญ่, ความสำคัญ | bumptious | (adj) ทะลึ่ง, ทะเล้น, อวดดี, หยิ่ง | cockscomb | (n) ดอกหงอนไก่, คนหยิ่ง, คนขี้โอ่ | conceit | (n) ความหยิ่ง, ความถือดี, ความทะนงตัว, ความเพ้อฝัน, จินตนาการ | conceited | (adj) หยิ่ง, อวดดี, ทะนง, ถือดี | devilish | (adv) อย่างยิ่งยวด, มากเหลือประมาณ, เต็มที่ | dictatorial | (adj) เกี่ยวกับเผด็จการ, เด็ดขาด, หยิ่งยโส, ชอบใช้อำนาจ | disdainful | (adj) ซึ่งดูหมิ่น, วางปึ่ง, ซึ่งดูถูก, หยิ่ง, จองหอง, ไว้ตัว | dogmatism | (n) ลัทธิถือหลักตนเอง, ความหยิ่งยโส, ความดื้อรั้น | egotist | (n) คนเห็นแก่ตัว, คนอวดดี, คนหยิ่ง, คนคุยโว, คนทะนงตัว | especially | (adv) โดยเฉพาะ, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง, อย่างพิเศษ | even | (adv) แม้แต่, แม้ว่า, ยิ่งกว่านั้น | evermore | (adv) ยิ่งขึ้นไปอีก, ตลอดไป, เสมอ, ชั่วนิรันดร | excellent | (adj) ดีเลิศ, ดีงาม, ดียิ่ง, ยอดเยี่ยม, เป็นเยี่ยม | extremely | (adv) อย่างยิ่งยวด, อย่างยิ่ง, อย่างที่สุด, อย่างมาก | famous | (adj) มีชื่อเสียง, โด่งดัง, ดียิ่ง, ชั้นหนึ่ง, เป็นหนึ่ง | furthermore | (adv) ยิ่งกว่านั้น, ใช่แต่เท่านั้น, นอกจากนี้, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง | grand | (adj) ใหญ่โต, ใหญ่หลวง, หรูหรา, สำคัญ, ยิ่งใหญ่, มหึมา, ชั้นหนึ่ง, ดีเยี่ยม | grandeur | (n) ความใหญ่โต, ความหรูหรา, ความยิ่งใหญ่, ความสง่างาม | grandiose | (adj) โอ่อ่า, สง่า, หรูหรา, ยิ่งใหญ่, สง่างาม | great | (adj) ใหญ่, ยิ่งใหญ่, สำคัญ, ใหญ่โต, ประเสริฐ, เบ้อเร่อ, เขื่อง, ใหญ่หลวง, มาก | greatness | (n) ความสำคัญ, ความยิ่งใหญ่, ความมีชื่อเสียง | haughtiness | (n) ความหยิ่งยโส, ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือตัว, ความโอหัง | haughty | (adj) หยิ่งยโส, หยิ่ง, จองหอง, ถือตัว, ไว้ท่า, วางท่า, โอหัง | high | (adj) สูง, สำคัญ, เลิศ, รุนแรง, เต็มที่, ยิ่ง, เป็นหัวหน้า | high | (adv) สูง, อย่างยิ่ง, อย่างแรง, อย่างเต็มที่, แพง, หรูหรา | imperial | (adj) ของจักรพรรดิ, ยิ่งใหญ่, เกี่ยวกับจักรวรรดิ | imperious | (adj) หยิ่ง, เผด็จการ, จำเป็น, เชิงบังคับ, เผด็จการ, ด่วน | lordly | (adj) สง่างาม, หยิ่ง, เลิศ, ใหญ่โต, สูงศักดิ์, สูงส่ง | marvellous | (adj) มหัศจรรย์, เหลือเชื่อ, น่าพิศวง, ยิ่งใหญ่, ดีเลิศ | momentous | (adj) สำคัญยิ่ง, ร้ายแรง, เกี่ยวกับวิกฤติการณ์ | more | (adj) มากกว่า, ยิ่งกว่า, นอกเหนือไปกว่า, เพิ่มขึ้น | more | (adv) อีก, มากกว่า, ต่อไป, นอกเหนือจาก, ยิ่งกว่า | moreover | (adv) ยิ่งกว่านั้น, นอกจากนั้น, อนึ่ง, นอกเหนือจากนั้น | onerous | (adj) เป็นภาระ, หนัก, ลำบาก, ยากยิ่ง | overweening | (adj) หยิ่งยโส, อวดดี, จองหอง | paramount | (adj) ยิ่งใหญ่, สำคัญยิ่ง, เยี่ยมยอด | peculiar | (adj) แปลก, พิกล, ประหลาด, เป็นพิเศษ, เฉพาะ, อย่างยิ่ง | precious | (adj) ล้ำค่า, เป็นที่รัก, มีค่ามาก, สำคัญมาก, อย่างยิ่ง | preponderance | (n) ความมากกว่า, ความสำคัญยิ่ง, ความเหนือกว่า | preponderant | (adj) มากกว่า, สำคัญยิ่ง, เหนือกว่า | pride | (n) ความภูมิใจ, ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความยโส, ทิฐิมานะ | proud | (adj) ภูมิใจ, หยิ่งจองหอง, อวดดี, ถือทิฐิ, ยโส | reign | (n) รัชกาล, รัชสมัย, ความยิ่งใหญ่, อำนาจการปกครอง | SELF-self-respect | (n) การหยิ่งในศักดิ์ศรีตัวเอง, ความนับถือตัวเอง |
| Absorptiometry | การวัดปริมาณรังสีที่ดูดซึม (ตามเนื้อเยื่อที่มีชีวิต) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อตรวจสอบความหนาแน่น | alprazolam | ใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการรักษาความวิตกกังวลเล็กน้อยถึงปานกลาง | best of all | [bes of all] ยิ่งไปกว่านั้น, ที่่ดีไปกว่านั้น, ที่ดีกว่าอะไรทั้งนั้น | Bursae | ถุงน้ำขนาดเล็กที่เต็มไปด้วยของเหลวขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ระหว่างส่วนที่สามารถเคลื่อนย้ายของร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ข้อต่อ | condescension | (n) ความเย่อหยิ่ง | consigliere | (n) ที่ปรึกษา ผู้ให้คำแนะนำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่เจ้าพ่อหรือผู้นำกลุ่มอาชญากร, See also: counselor, Syn. advice | Dysrhythmia | จังหวะที่ผิดปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง : จังหวะที่ผิดปกติซึ่งจัดแสดงในบันทึกกิจกรรมทางไฟฟ้าของสมองหรือหัวใจ | good-looking | (adj) ดูดี (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีรูปร่างที่ดี) | Haloperidol | แก้ซึมเศร้าของระบบประสาทส่วนกลาง ที่ใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นยารักษาโรคจิตเวช | I avail myself of this opportunity to renew to your Excellency the assurance of my h | ในโอกาสนี้ข้าพเจ้าขอแสดงความนับถืออย่างยิ่งมายัง ฯพณฯ ท่านด้วย | indeed | (adv) ยิ่งนัก | kerfluffle | [เคอร์ ฟลัฟ ฟัล] (n) ความสับสนวุ่นวาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจุดของมุมมองที่แตกต่างกัน | looksmaxxing | (n) กระบวนการที่บุคคลพยายามเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดูดีและน่าดึงดูดยิ่งขึ้น | lymphocytic leukemia | มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดใดชนิดหนึ่งในสองประเภทที่มีจํานวนเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติ (เช่นเซลล์เม็ดเลือดขาว) ซึ่งสะสมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในไขกระดูกเนื้อเยื่อน้ําเหลืองและเลือดไหลเวียน | lymphocytic leukemia | มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดใดชนิดหนึ่งในสองประเภทที่มีจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติ เช่นเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งสะสมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในไขกระดูกเนื้อเยื่อน้ำเหลืองและเลือดไหลเวียน | Neovascularization | หลอดเลือดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปริมาณที่ผิดปกติ (เช่นในสภาวะของจอประสาทตา) หรือในเนื้อเยื่อที่ผิดปกติ (เป็นเนื้องอก) | Prostaglandins | ที่มีศักยภาพฮอร์โมนเช่นสารที่พบในหลายเนื้อเยื่อร่างกาย (และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในน้ำอสุจิ); ผลิตในการตอบสนองต่อการบาดเจ็บและอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการเผาผลาญและกิจกรรมกล้ามเนื้อเรียบ | satiated | (n, adj) 1) มีความต้องการ....อีกไม่เพียงพอ 2) อิ่มแปล้ , เต็มอิ่ม , พอใจอย่างยิ่ง 3) ความมีมากจนเกินความต้องการ, See also: surfeit, fullly, A. unsatisfied, Syn. satistfied | Semispinalis capitis | กล้ามเนื้อตามยาวลึกของหลังที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกระบวนการตามขวางของทรวงอกหกหรือเจ็ดส่วนบนและกระดูกสันหลังส่วนคอที่เจ็ดถูกแทรกบนพื้นผิวด้านนอกของกระดูกท้ายทอยระหว่างสองสันหลัง (ช่องเปิดในกะโหลกศีรษะที่ไขสันหลังผ่านจนกลายเป็นไขกระดูก) และทําหน้าที่ขยายและหมุนศีรษะ | Thromboxane | สารต่างๆที่มีการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกล็ดเลือด, จะเกิดขึ้นจากการแทรกขนาดกลางในการเปลี่ยนแปลงของขา endoperoxides, ทำให้เกิดการหดตัวของหลอดเลือดและหลอดลมกล้ามเนื้อเรียบ, และส่งเสริมการแข็งตัวของเลือด | To add fuel to the fire | (slang) ทำให้สถานการณ์เลวร้ายยิ่งขึ้น โดยทำให้ใครบางคนโกรธหรือเสียใจมากกว่าเดิม ex. Martha's still mad at you, so don't go adding fuel to the fire by arguing with her right now. Let her calm down, first. | To add fuel to the fire or to add fuel to the flames | (slang) ทำให้สถานการณ์เลวร้ายยิ่งขึ้น โดยทำให้ใครบางคนโกรธหรือโศกเศร้ามากกว่าแต่ก่อน ex. He not only ignored to call but he also added fuel to the flames by coming to the meeting 1 hour late. | Toffee-nosed | (phrase) หยิ่งยโส, หัวสูง, อวดดี | กฤตวร | [[ สันสกฤต ]] (n) ผู้มีเกียรติอันประเสริฐยิ่ง | กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา | ดอกรัก | (n) ดอกรัก พืชใบเลี้ยงคู่ ลำต้น ใบ ดอก มียางสีขาว ดอกมีทั้งสีม่วงและขาว นิยมนำมาร้อยมาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนอุบะ Image: |
| それに | [それに, soreni] (n) ยิ่งไปกว่านั้น, นอกเหนือไปจากนั้น | リハーサル | [りはーさる, riha-saru] (n) การฝึกซ้อม (โดยจะใช้เฉพาะอย่างยิ่งกับ การฝึกซ้อมการบรรยายสำหรับเตรียมการประชุมวิชาการ), See also: S. practice, rehearsal | 一石二鳥 | [いっせきにちょう, issekinichou] (phrase) ยิ่งปืนนัดเดียวได้นกสองตัว | 又は | [または, mataha] นอกจากนั้น ยิ่งกว่านั้น | 取分け | [とりわけ, toriwake] (n, adv) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง, เหนือสิ่งอื่นใด, Syn. 副 | 王 | [おう, ou] (n) จักพรรดิ, ผู้ยิ่งใหญ่ |
| 更に | [さらに, sarani] อีกครั้ง , อีก , เพิ่มขึ้น , ไม่...เลย , ยิ่งไปกว่านั้น , นอกจากนั้น | 一層 | [いっそう, issou] (adv) ยิ่งขึ้นไปอีก | 自尊心 | [じそんしん, jisonshin] ความหยิ่งในศักดิ์ศรี | 見事 | [みごと, migoto] ยอดเยี่ยม, วิเศษ, อัจฉริยะ, งดงาม, โอ่อ่า, โอ่โถง, น่าชมเชยยิ่ง, แจ่มจรัส, แวววาว, รุ่งโรจน์., | 結構 | [けっこう, kekkou] (adj) ยอดเยี่ยม, วิเศษ, อัจฉริยะ, งดงาม, โอ่อ่า, โอ่โถง, น่าชมเชยยิ่ง, แจ่มจรัส, แวววาว, รุ่งโรจน์ | 而も | [しかも, shikamo] (adj) [ ADV ] ยิ่งกว่านั้น, See also: จากนั้น, Syn. also furthermore | じり貧 | [じりひん, jirihin] (slang) การที่ยิ่งจนลงทุกทีหรือยิ่งเลวลงทุกที, See also: R. 落ちぶれる、不況 | 特に | [とくに, tokuni] (adv) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง, See also: S. เป็นพิเศษ, โดยเฉพาะ | に連れ | [につれ, nitsure] (conj) ยิ่ง |
| 深める | [ふかめる, fukameru] TH: ทำให้เข้มข้นยิ่งขึ้น | 以上 | [いじょう, ijou] TH: ยิ่งกว่า EN: greater than | 深まる | [ふかまる, fukamaru] TH: เข้มข้นยิ่งขึ้น EN: to intensify |
| besonders | โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เช่น Ich esse Tomaten besonders gern. ฉันชอบทานมะเขือเทศเป็นพิเศษ | durchaus | ทั้งนี้และทั้งนั้น, ทุกวิถีทาง, จำเป็นอย่างยิ่ง เช่น Er möchte durchaus in diese Schule gehen. ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นเขาต้องการจะเข้าโรงเรียนนี้, Syn. unbedingt | insbesonders | (adv) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เช่น Autos sind wichtige Exportwaren für die Industrieländer, insbesonders Deutschland und Japan, See also: besonders, besondere | je | ยิ่ง มักใช้คู่กับ desto เช่น Je mehr desto besser. ยิ่งมาก ยิ่งดี | sehr | อย่างยิ่ง | zudem | มากไปกว่านั้น, ยิ่งกว่านั้น | eitel | (adj) หยิ่ง, ทะนงตัว | Supraleiter | (n) |der, pl. Supraleiter| ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด | großartig | (adj, adv) ดีมาก, ยิ่งใหญ่ เช่น ein großartiger Junge ชายหนุ่มที่ดีมาก, ein großartiges Bauwerk สิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ตระการ, Syn. klasse | je..umso.. | ยิ่ง.. ยิ่ง.., See also: Related: je | je..desto.. | ยิ่ง.. ยิ่ง.., See also: Related: je, Syn. je..umso.. | je | ยิ่ง (ใช้บ่งว่าของสองสิ่งขึ้นอยู่ซึ่งกันและกัน เช่น ถ้าสิ่งหนึ่งมากขึ้น อีกสิ่งน้อยลง ใช้คู่กับ umso หรือ desto) เช่น Je kälter es ist, desto mehr Gas für die Heizung verbraucht man. ยิ่งอากาศหนาวเท่าไหร่ เราก็ยิ่งใช้ก๊าซสำหรับเครื่องทำความร้อนมากขึ้นเท่านั้น | sich an die Arbeit machen | เริ่มทำงาน เช่น Je früher ich mich an die Arbeit machst, desto eher bin ich fertig. ยิ่งฉันเริ่มทำงานเร็วเท่าไหร่ ฉันก็จะยิ่งเสร็จเร็วเท่านั้น, Syn. anfangen zu arbeiten | hochnäsig sein | (phrase) หยิ่ง, นึกว่าตัวเองเก่งหรือดีกว่าชาวบ้าน, จองหอง | sehr | (adv) |ใช้เติมหน้าำคำคุณศัพท์ หรือ อยู่โดดๆได้| อย่างยิ่ง อย่างมาก เช่น Sie hat sehr geweint. เธอร้องให้มาอย่างหนัก, Er ist sehr reich. เขารวยมาก |
| herrlich | (adj) วิเศษ ดีเยี่ยม งดงามยิ่ง in hohem Maß schön, gut odor angenehm <Wetter, ein Tag, Sonnenschein, ein Essen, ein Ausblick usw; etwas klingt, riecht, schmeckt herrlich> , See also: Hẹrrlichkeit | Stolz { m } | (n, adj) n. ความภูมิใจ ความหยิ่งยโส adj. ภูมิใจใน (บางสิ่ง บางคน) ich bin stolz auf dich = ฉันภูมิใจในตัวคุณ |
| | entitlement | (n) สิทธิหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายหรือสัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการสวัสดิการสังคม (welfare) จากรัฐ, See also: right, Syn. claim |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |