ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทศ, -ทศ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ทิฟฟานี่ | [ทิฟฟานี่] (name) นักร้องจากประเทศเกาหลี ชื่อที่ใช้ในวงการ: ทิฟฟานี่ (เกาหลี: 티파니, Tiffany) ชื่ออังกฤษ: สเตฟานี่ ฮวัง (เกาหลี: 스테파니 황, Stephanie Hwang) ชื่อจริง: ฮวัง มิยอง (เกาหลี: 황미영, Hwang Miyoung) วันเกิด: 1 สิงหาคม ค.ศ. 1989 ส่วนสูง: 163 ซม. น้ำหนัก: 50 กก. กรุ๊ปเลือด: O ตำแหน่ง: นักร้องเสียงหลัก ระยะเวลาในการฝึก: 3 ปี 7 เดือน ฉายา: Spongebob Hwang, Fany Fany Tiffany, Human Jukebox, Mushroom, Tiffiana, JumFany, AjumNy, Ddilfany, Bam Fany เธอเกิดที่สหรัฐอเมริกา จุดเด่นอยู่ที่ตายิ้มแล้วรอยยิ้มที่แสนน่ารักของเธอเป็นสมาชิกวงGirls' Generation(SNSD)จากเกาหลีมีสมาชิกทั้งหมด9คน <a href="http://upic.me/show.php?id=2144b4a64be0d8b233ebd2aea98c7088" target="_blank"><img border="0" src="http://upic.me/i/7l/zl0.8460523_1_1.jpg"></a> |
| Bumiputera | (n) (การเมือง) ภูมิบุตร หมายถึง ชาวมาเลย์ที่เป็นมุสลิมและมีถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซียปัจจุบัน เช่น minimum 30% Bumiputera shareholding requirement หมายถึงจะต้องมีผู้ถือหุ้นเป็นชาวมาเลย์ดังกล่าวเกิน 30% ของผู้ถือหุ้นทั้งหมด, See also: S. Bhumiputera | ตวน | [ตวน] (n) เจ้า เป็นฐานันดรศักดิ์เจ้านายมลายู เชื้อพระวงศ์มลายู หรือ เจ้าประเทศราชมลายู | ต่วน | [ต่วน] (n) เจ้า เป็นฐานันดรศักดิ์เจ้านายมลายู เชื้อพระวงศ์มลายู หรือ เจ้าประเทศราชมลายู |
|
| escargot | [เอ็สคาร์โกท์] (n) เป็นอาหารเรียกน้ำย่อย (Appetizer) โดยการนำหอยทากชนิด รับประทานได้มายัดใส่เปลือกหอยประเภทหอยโข่งขนาดมะนาว ผลเล็ก แล้วยัดตามด้วยเนยที่มีส่วนผสมของกระเทียมสับและเครื่อง เทศอื่นๆ นำอบในเตาอบความร้อนสูงบนถาดหลุมโลหะ (Convection Oven) จนสุกหอมจึงนำมารับประทานด้วยคีมหนีบ กับส้อมที่ทำขึ้นเฉพาะอาหารจานนี้ | Foreign Corrupt Practices Act | (n, uniq) รัฐบัญญัติว่าด้วยพฤติกรรมการคอร์รัปชั่นในต่างประเทศ, See also: R. FCPA | inland taipan | [อินแลด์ ไทพัน] (n) งูชนิดหนึ่งอาศัยอยู่ในประเทศออสเตรเลียบริเวณแห้งแล้ง ชอบอากาศเย็น ออกล่าเหยื่อในตอนกลางคืนหรือตอนอากาศเย็น ขึ้นชื่อได้ว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทีั่สุดในโลกด้วยพิษมีปล่อยมาเพียงแค่ 44 มิลลิกรัมต่อครั้ง แต่มีความรุนแรงกว่างูเห่าอินเดียถึง 50 เท่า | rechtsstaat | (n) ประเทศที่ใช้กฎหมายเป็นบรรทัดฐาน | scenes | scene (ซีน) n. ฉาก, เวที, ภาพ, เหตุการณ์, สถานที่เกิดเหตุ, (ละคร) บทหนึ่ง, (ภาพยนตร์) ตอนหนึ่ง, เรื่องราว, อุปกรณ์ประกอบฉาก, สิ่งแวดล้อม, ทัศนียภาพ, ภาพภูมิประเทศ, -Phr. (behind the scenes อยู่เบื้องหลัง) | starbucks | Starbucks is a international coffee retail chain company, based in Seattle, Washington, United States Starbucks คือชื่อบริษัทยักษ์ใหญ่ขายกาแฟ, มีสาขามากมายในต่างประเทศ. เปิดดำเนินกิจการครั้งแรกที่เมือง Washington, United States | กันตรึม | รูปแบบดนตรีพื้นบ้านทางภาคอีสานตอนใต้ของประเทศไทย | แมน | (adj) มีกิริยาวาจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ และมีคุณธรรม แม้จะมีต้นกำเนิดมาจากคำว่า gentleman แต่ก็สามารถใช้ได้กับทั้งชายและหญิง |
| manga | [มาน-ก้า] (n) ผลไม้ชนิดหนึ่งในประเทศโปรตุเกส |
| | บักเลน | [บัก-เหล่น] (n, name) มะเขือเทศ (สีดา) |
| มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) | สำนักงานเทศบาล | (org) Municipal Office | สำนักงานเทศบาลตำบล | Subdistrict-Municipal Office | สำนักงานเทศบาลนคร | City-Municipal Office | สำนักงานเทศบาลเมือง | Town-Municipal Office | หงษ์ | (n) ( คำโบราณ ) Phoenix : นกชนิดหนึ่งในนิยาย มีชีวิตอยู่ได้ 500 ปี ก็จะเผาตนเอง แล้วคืนชีพขึ้นมาด้วยเถ้าถ่านของตนเอง ในประเทศไทย ก็มีหลาย ๆ สถานที่ ที่ใช้ชื่อนี้ เช่น วัดหงษ์ทอง จ.ฉะเชิงเทรา | เสรีภาพแห่งการพอเพียง | [พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม |
| 扫墓 | [sǎo mù, ㄙㄠˇ ㄇㄨˋ, 扫 墓] กิจกรรมการไปทำความสะอาดหลุมศพ เอากระดาษริ้วๆ ไปวางทับหรือกดติดไว้บริเวณที่ฝังศพ ในเทศกาลเช็งเม้งของคนจีน | 清明 | [Qīng míng, ㄑㄧㄥ ㄇㄧㄥˊ, 清 明] เทศกาลเช็งเม้ง หรือ การไหว้บรรพบุรุษของคนเชื้อสายจีน | 端午节 | [duān wǔ jié, ㄉㄨㄢ ㄨˇ ㄐㄧㄝˊ, 端 午 节] (n) เทศกาลบะจ่าง | 黄金 | [黄 金] (n) ประเทศ |
| ทศ | (n) ten, Syn. สิบ, Thai Definition: สิบ (มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส), Notes: (สันสกฤต) | ทศท. | (n) Telephone Organization of Thailand, See also: TOT, Syn. องศ์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย | ทศพร | (n) the 1st part of the story of lord Buddha life, Syn. กัณฑ์ทศพร, Example: ทศพรเป็นกัณฑ์แรกของการเทศน์มหาชาติ, Thai Definition: ชื่อกัณฑ์ที่ 1 ของมหาชาติ ว่าด้วยพร 10 ประการ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทศพร | (n) ten blessing, Count Unit: ประการ, Thai Definition: พรสิบประการ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทศพล | (n) Buddha, Thai Definition: ผู้มีกำลัง 10 เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทวาทศ | (n) twelve, Syn. สิบสอง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทศทิศ | (n) ten directions, See also: the compass, Thai Definition: ทิศทั้ง 10 คือ ทิศเบื้องขวาง 8 เบื้องบน 1 เบื้องล่าง 1, Notes: (สันสกฤต) | ทศมาส | (n) the tenth month, Thai Definition: เดือนที่สิบ | ทองทศ | (clas) unit of money exchange in the ancient time, Thai Definition: ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ 4 เท่ากับ 1 ใน 10 ของชั่ง = 8 บาท | พิเทศ | (n) foreign country, Syn. ต่างประเทศ, เมืองนอก | วิเทศ | (adj) foreign, Syn. ต่างประเทศ, ต่างชาติ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | สนเทศ | (n) information | อาเทศ | (n) advice, See also: suggestion, recommendation, Syn. การแนะนำ | อาเทศ | (n) command, See also: order, Syn. คำสั่ง | อาเทศ | (n) rule, Syn. กฎ | อาเทศ | (n) explanation, See also: narration, Syn. คำชี้แจง, คำบอกเล่า | อุเทศ | (n) explanation, See also: illustration, Thai Definition: การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้นชี้แจง | เทศนา | (v) give a sermon, See also: preach, sermonise, sermonize, teach, Syn. แสดงธรรม, เทศน์, Example: ท่านอยากได้หนังสือพระเจ้า 500 ชาติไว้เทศนาสอนชาวบ้าน, Notes: (บาลี) | เทศนา | (v) scold, See also: castigate, Syn. สั่งสอน, อบรม, ต่อว่า, บ่นว่า, Example: ความผิดคราวนี้หนัก เขารู้ว่าต้องถูกพ่อเทศนาเสียใหญ่โต | เทศน์ | (v) give a sermon, See also: preach, deliver a sermon, , Syn. เทศนา, แสดงธรรม, Example: พระสงฆ์กำลังเทศน์เรื่องพระรามชาดกให้ชาวบ้านฟัง | เทศน์ | (v) castigate, See also: berate, rebuke, reprove, admonish, reprimand, censure, Syn. ดุด่าว่ากล่าว, ตำหนิติเตียน, Example: เขาถูกนายเทศน์อย่างรุนแรงเพราะทำงานผิดพลาด, Thai Definition: ดุด่าว่ากล่าวอย่างยืดยาว, Notes: (ปาก) | เทศน์ | (n) sermon, See also: homily, address, Syn. เทศนา, Example: วันเสาร์อาทิตย์จะมีญาติโยมมาฟังเทศน์และฝึกสมาธิกรรมฐานที่วัดเป็นจำนวนมาก, Thai Definition: การแสดงธรรมสั่งสอนในทางศาสนา | ไตรทศ | (n) 33 Gods in the second tier of heaven above the earth, Syn. ตรีทศ, Thai Definition: เทวดา 33 องค์ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ไม่แยกว่าใครเป็นใคร หมายถึงพระอินทร์และบริวารพระอินทร์อีก 32 องค์ | ทวาทศี | (n) the twelfth, Syn. ที่ 12, Notes: (สันสกฤต) | ทศชาติ | (n) ten incarnations of the Buddha, Syn. สิบชาติ, Example: เรื่องที่นำมาแสดงในครั้งนี้ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับพุทธประวัติหรือทศชาติ, Thai Definition: ชื่อคัมภีร์ชาดกว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ 10 ชาติ | ทศนิยม | (n) decimal, See also: decimal system, Example: การกล่าวถึงน้ำหนักของสารโดยทั่วๆ ไป เราใช้วิธีเทียบเป็นทศนิยมของน้ำหนักที่มีปริมาตรเท่ากัน, Thai Definition: จำนวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกำหนดจุดจุดหนึ่งให้อยู่ข้างหน้าหรืออยู่ระหว่างตัวเลขต่างๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทศวรรษ | (n) decade, See also: ten years, Example: ในทศวรรษหน้า ครูชาวอเมริกันจะปลดเกษียณนับล้านคน, Thai Definition: รอบ 10 ปี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | นักเทศ | (n) foreigner working in the royal palace, Count Unit: คน, Thai Definition: คนต่างประเทศที่สำหรับใช้ในราชสำนัก | ประเทศ | (n) country, See also: nation, state, land, Syn. ชาติ, รัฐ, บ้านเมือง, แว่นแคว้น, ประเทศชาติ, Example: เธอยอมเดินทางกลับประเทศเพื่อสู้คดีต่างๆ, Count Unit: ประเทศ, Thai Definition: ชุมนุมแห่งมนุษย์ซึ่งตั้งมั่นอยู่ในดินแดนอันมีอาณาเขตแน่นอน มีอำนาจอธิปไตยที่จะใช้ได้อย่างอิสระ และมีการปกครองอย่างเป็นระเบียบเพื่อประโยชน์ของบรรดามนุษย์ที่อยู่ร่วมกันนั้น, Notes: (กฎหมาย) | มันเทศ | (n) sweet potato, See also: lpomoea batatas, Syn. มัน, Example: แกงมัสมั่นถ้าไม่มีเนื้อ ไม่มีไก่ใส่ก็ใส่มันเทศกับหน่อไม้แทนเรียกว่าแกงมัสมั่นหน่อไม้, Count Unit: หัว, Thai Definition: ชื่อมันชนิด Ipomoea batatas Lamk. ในวงศ์ Convolvulaceae ยอดทำให้สุกแล้วกินได้ เนื้อในหัวรสหวานมัน | มันเทศ | (n) sweet potato, See also: lpomoea batatas, Syn. มัน, Example: แกงมัสมั่นถ้าไม่มีเนื้อ ไม่มีไก่ใส่ก็ใส่มันเทศกับหน่อไม้แทนเรียกว่าแกงมัสมั่นหน่อไม้, Count Unit: หัว, Thai Definition: ชื่อมันชนิด Ipomoea batatas Lamk. ในวงศ์ Convolvulaceae ยอดทำให้สุกแล้วกินได้ เนื้อในหัวรสหวานมัน | ม้าเทศ | (n) horse of foreign blood, See also: large and foreign horse, Example: ผมจำได้ว่าม้าของท่านชื่อบูดู้เป็นม้าเทศรูปร่างสวยมาก, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ม้าขนาดใหญ่ที่มาจากต่างประเทศ | ม้าเทศ | (n) horse of foreign blood, See also: large and foreign horse, Example: ผมจำได้ว่าม้าของท่านชื่อบูดู้เป็นม้าเทศรูปร่างสวยมาก, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ม้าขนาดใหญ่ที่มาจากต่างประเทศ | เทศกาล | (n) festival, See also: festival season, feast, celebration, season, Example: ในการละเล่นตามเทศกาลงานบุญตามหมู่บ้าน ผู้หญิงมักเป็นกลุ่มผู้นำในการเล่น, Thai Definition: คราวสมัยที่กำหนดไว้เป็นประเพณีเพื่อทำบุญและการรื่นเริงในท้องถิ่น, Notes: (สันสกฤต) | เทศกิจ | (n) municipal official (whose duty is to take care of cleanness), Example: หลายคนอยากทราบว่าเทศกิจมีหลักในการตัดสินใจในการจับกุมพ่อค้าแม่ค้าอย่างไร, Thai Definition: เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นดูแลความสะอาดเรียบร้อย | เทศบาล | (n) municipality, See also: local government, municipal government, Example: รัฐบาลกลางได้คืนอำนาจปกครองให้แก่เทศบาล, Count Unit: เทศบาล, แห่ง, ที่, Thai Definition: องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแบบหนึ่ง มี เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร แล้วแต่ขนาดของเทศบาลนั้นๆ | เนรเทศ | (v) exile, See also: banish, deport, expel, expatriate, Syn. ขับไล่, Example: ผู้นำคอมมิวนิสต์ถูกเนรเทศไปประเทศจีนหลังจากหมดอำนาจ, Thai Definition: บังคับให้ออกไปเสียจากประเทศหรือถิ่นที่อยู่ของตน | เอกเทศ | (adv) individually, Example: ระบบธนาคารเดี่ยวจะมีสำนักงานเพียงแห่งเดียว และดำเนินการโดยเอกเทศ, Thai Definition: ส่วนหนึ่งต่างหาก, เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล | เอกเทศ | (adj) individual, See also: single, Example: ทบวงการชำนัญพิเศษเป็นองค์กรเอกเทศ โดยได้รับความร่วมมืออย่างใกล้ชิดจากองค์การสหประชาชาติ, Thai Definition: ส่วนหนึ่งต่างหาก, เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล | กาลเทศะ | (n) time and place, See also: occasion, situation, Example: เราต้องแต่งตัวให้เหมาะสมกับกาลเทศะ, Thai Definition: เวลาและสถานที่, Notes: (สันสกฤต) | กาลเทศะ | (n) propriety, See also: suitability, balance, rightness, appropriateness, Syn. ความเหมาะสม, ความสมควร, ความเหมาะเจาะ, Example: เราต้องรู้จักกาลเทศะว่าอะไรควรอะไรไม่ควร, Thai Definition: ความควรและไม่ควร, Notes: (สันสกฤต) | ทศกัณฐ์ | (n) Ravana, Syn. ทศมุข, ทศเศียร, ทศพักตร์, ทศกัณธร, ทศครีพ, ท้าวราพณะ, Example: รามเกียรติ์เป็นเรื่องของการสู้รบระหว่างพระรามกับทศกัณฐ์, Count Unit: องค์, ตน, Thai Definition: ผู้มีสิบคอ | พริกเทศ | (n) imported dried spur-pepper, Example: แกงเผ็ดนี้ถ้าได้พริกเทศมาแกล้มคงจะดีไม่น้อย, Count Unit: เม็ด, Thai Definition: พริกแห้งเม็ดยาวมาจากต่างประเทศ | เทศาจาร | (n) tradition, See also: local custom, country's usual practice, mores, convention, Thai Definition: ธรรมเนียมของบ้านเมือง, Notes: (สันสกฤต) | ทวาทศมาส | (n) twelve months, See also: year, Syn. สิบสองเดือน, Example: พระราชพิธีทวาทศมาสคือ พระราชพิธีสิบสองเดือนนั่นเอง | นักเทศน์ | (n) preacher, See also: missionary, Example: พระพยอมเป็นนักเทศน์ที่ทุกคนรู้จักและยอมรับว่าท่านมีความสามารถในการเทศน์มาก | ปฐมนิเทศ | (n) orientation, Syn. การอบรมเบื้องต้น, การแนะนำเบื้องต้น, การชี้แนว, Ant. ปัจฉิมนิเทศ, Example: มหาวิทยาลัยจัดปฐมนิเทศนักศึกษา, Thai Definition: การอบรมเพื่อชี้แนะแนวทางการปฏิบัติเบื้องต้นในการศึกษาหรือการทำงาน | ปฐมเทศนา | (n) Buddha's first sermon, See also: First Sermon of the Buddha, Syn. ธัมมจักกัปปวัตนสูตร, Example: พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนาให้แก่ปัจจวัคคี, Thai Definition: เทศนาครั้งแรกในพระพุทธศาสนา หมายถึง ธัมมจักกัปปวัตนสูตร | ปฐมเทศนา | (n) style of Buddha in the attitude of giving a sermon, Syn. ปางปฐมเทศนา | ฟังเทศน์ | (v) listen to sermon, Syn. ฟังธรรม, ฟังเทศน์ฟังธรรม, Example: ชาวพุทธหลายครอบครัวต่างมาฟังเทศน์ที่วัดเป็นประจำ, Thai Definition: สดับพระธรรมเทศนา |
| กฎหมายระหว่างประเทศ | น. หลักกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่ยอมรับกันว่าด้วยรัฐและความเกี่ยวพันระหว่างรัฐ รวมทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศและประชาคมระหว่างประเทศ. | กถามรรคเทศนา | (-มักคะเทดสะหฺนา) น. เทศนาฝ่ายกถามรรค, คู่กับ สุตตันตเทศนา. | กระจอกเทศ | น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Struthio camelus Linn. ในวงศ์ Struthiornidae เป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ตัวผู้สีดำ ตัวเมียสีน้ำตาล ขาใหญ่แข็งแรง ตีนมี ๒ นิ้ว วิ่งเร็ว แต่บินไม่ได้ มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ปัจจุบันนำมาเพาะเลี้ยงในประเทศไทยเพื่อเป็นอาหาร. | กระดาษเทศ | น. ตาดเทศ เช่น อันทำด้วยกระดาษเทศทอพราย (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | กระถินเทศ | ดู คำใต้. | กระวานเทศ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Elettaria cardamomum (L.) Maton ในวงศ์ Zingiberaceae มาจากประเทศอินเดียตอนใต้ ผลรูปกระสวยหรือรูปไข่ปลายแหลม สีนวล มี ๓ พู กลิ่นหอมฉุน, เอลา ลูกเอ็ล หรือ ลูกเอ็น ก็เรียก. | กัณฑ์เทศน์ | น. สิ่งของหรือไทยธรรมสำหรับถวายพระภิกษุสามเณรผู้แสดงพระธรรมเทศนา, เครื่องกัณฑ์ ก็ว่า | กัณฑ์เทศน์ | เรียกการเอาเงินติดต้นเทียนบูชากัณฑ์เทศน์หรือเรียกการเอาเงินหรือสิ่งของบูชาธรรมเนื่องในการเทศน์ ว่า ติดกัณฑ์เทศน์. | การต่างประเทศ | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศ. | กาลเทศะ | (กาละ-) น. เวลาและสถานที่ | กาลเทศะ | ความควรไม่ควร. | คุยหฐาน, คุยหประเทศ | น. อวัยวะเพศชายหรือนิมิตชาย ใช้ว่า พระคุยหฐาน หรือ พระคุยหประเทศ. | เครื่องเทศ | น. ของหอมฉุนและเผ็ดร้อนที่ได้มาจากพืช โดยมากมาจากต่างประเทศสำหรับใช้ทำยาไทยและปรุงอาหาร เช่น ลูกผักชี ยี่หร่า. | จันทน์เทศ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Myristica fragrans Houtt. ในวงศ์ Myristicaceae รกหุ้มเมล็ดมีกลิ่นหอมฉุนเรียก ดอกจันทน์ เมล็ดมีกลิ่นหอมฉุนเช่นกัน เรียก ลูกจันทน์ ใช้เป็นเครื่องเทศ เป็นพรรณไม้ที่นำเข้ามาจากหมู่เกาะอินเดียตะวันออก. | จำปาทองเทศ ๑ | น. ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง. | จำปาทองเทศ ๒ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น | จำปาทองเทศ ๒ | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. | จุดทศนิยม | น. จุดที่ใส่หลังจำนวนเต็มและหน้าเศษตามวิธีทำเลขแบบทศนิยม. | ฉันทศาสตร์ | (ฉันทะสาด) น. ตำราว่าด้วยการแต่งฉันท์ทั้งที่เป็นมาตราพฤติและวรรณพฤติ เป็นศิลปศาสตร์อย่างหนึ่งในศิลปศาสตร์ ๑๘ ประการ. | ตรีทศ | น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ไตรทศ ก็เรียก. | ติดกัณฑ์เทศน์ | ก. เอาเงินติดต้นเทียนบูชาภิกษุหรือสามเณรที่เทศน์, เอาเงินหรือสิ่งของบูชาธรรมเนื่องในการเทศน์. | ไตรทศ | (-ทด) น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ตรีทศ ก็ว่า. | ทวาทศม- | (ทะวาทะสะมะ-) ว. ที่ ๑๒ เช่น ทวาทศมสุรทิน = วันที่ ๑๒. | ทวาทศมณฑล | น. กลมโดยรอบครบ ๑๒ ราศี | ทวาทศมณฑล | ชื่อมาตราวัดจักรราศีเท่ากับ ๒ อัฒจักร เป็น ๑ จักรราศี คือ ทวาทศมณฑลหนึ่ง. | ทวาทศะ | (ทะวาทะสะ) ว. สิบสอง. | ทวาทศี | ว. ที่ ๑๒ เช่น ทวาทศีดิถี = วัน ๑๒ คํ่า. | ทศ ๑, ทศ- | (ทด, ทดสะ-) น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. | ทศ ๑, ทศ- | (ทด, ทดสะ-) ว. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. | ทศกัณฐ์ | น. “ผู้มีสิบคอ” คือ ท้าวราพณ์ในเรื่องรามเกียรติ์. | ทศชาติ | น. ๑๐ ชาติ, ชื่อคัมภีร์ชาดกว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ ๑๐ ชาติ. | ทศทิศ | น. ทิศทั้ง ๑๐ คือ ทิศทั้ง ๘ คือ อุดร อีสาน บูรพา อาคเนย์ ทักษิณ หรดี ประจิม พายัพ รวมกับทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง. | ทศนิยม | น. จำนวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกำหนดจุดจุดหนึ่งให้ตัวเลขที่อยู่ข้างหน้าจุดแสดงจำนวนเต็ม ตัวเลขที่อยู่ข้างหลังจุดแสดงจำนวนที่เป็นส่วนของสิบ ร้อย พัน ไปเรื่อย ๆ เช่น ๘๕๖.๑๒๘ ล้านบาท หมายความว่า แปดร้อยห้าสิบหกล้านหนึ่งแสนสองหมื่นแปดพันบาท. | ทศเบญจกูล | น. เครื่องเผ็ดร้อน ๑๐ อย่างตามตำราแพทย์แผนโบราณ. | ทศพร | น. พร ๑๐ ประการ, ชื่อกัณฑ์ที่ ๑ ของมหาชาติ ว่าด้วยพร ๑๐ ประการ. | ทศพล | น. ผู้มีกำลัง ๑๐ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า. | ทศพิธราชธรรม | น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม. | ทศมาส | น. ๑๐ เดือน เช่น เมื่อพระนางเธอทรงพระครรภ์ถ้วนทศมาส ปรารถนาจะประพาสชมพระนคร (ม. ร่ายยาว หิมพานต์). | ทศวรรษ | น. รอบ ๑๐ ปี. | ทศ ๒, ทศา | (ทด, ทะสา) น. ชายผ้า, ชายครุย. | ทศม- | (ทะสะมะ-, ทดสะมะ-) ว. ที่ ๑๐ เช่น ทศมสุรทิน = วันที่ ๑๐. | ทศมี | (ทะสะมี, ทดสะมี) ว. ที่ ๑๐ เช่น ทศมีดิถี = วัน ๑๐ คํ่า. | ทศางค์ | (ทะสาง) น. มาตราวัดนํ้าฝนเท่ากับ ๑๐ สตางค์ เป็น ๑ ทศางค์, และ ๑๐ ทศางค์ เป็น ๑ นิ้ว. | ทองทศ | น. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท. | ทุเรียนเทศ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Annona muricata L. ในวงศ์ Annonaceae ผลมีหนามขรุขระ รสหวานอมเปรี้ยว กินได้, ทุเรียนแขก ก็เรียก. | เทศ, เทศ-, เทศะ | (เทด, เทดสะ-, เทสะ) ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. | เทศ, เทศ-, เทศะ | (เทด, เทดสะ-, เทสะ) น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. | เทศกาล | น. คราวสมัยที่กำหนดไว้เป็นประเพณีเพื่อทำบุญและการรื่นเริงในท้องถิ่น เช่น ตรุษ สงกรานต์ เข้าพรรษา สารท | เทศกาล | คราว เช่น ชาวนาไม่ได้ทำนาสิ้นสองเทศกาลมาแล้ว (พงศ. เลขา). | เทศบัญญัติ | น. กฎที่เทศบาลตราขึ้น เพื่อใช้บังคับภายในเขตเทศบาลนั้น. |
| private international law | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | private international law | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล [ ดู jus civile ความหมายที่ ๒ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | plunder | ๑. ปล้นทรัพย์ (ก. อาญา)๒. ทรัพย์เชลย (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | product, domestic | ผลิตภัณฑ์ในประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Pan-Europe | ขบวนการรวมกลุ่มประเทศภาคพื้นยุโรป (ไม่รวมประเทศอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Pan-European | ขบวนการรวมกลุ่มยุโรป (รวมประเทศอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | province | ๑. จังหวัด (ไทย)๒. มณฑล (ในบางประเทศ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | province | ๑. จังหวัด (ไทย)๒. มณฑล (ในบางประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | phonetics | สัทศาสตร์ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | ptilosis | ๑. ภาวะขนตาร่วง๒. โรคฝุ่นขนนกกระจอกเทศจับปอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | public security | ความมั่นคงของประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parole | ๑. การปล่อยตัวโดยมีการคุมประพฤติ (ป. วิ. อาญา) [ ดู release on licence ]๒. การปล่อยเชลยศึกโดยมีเงื่อนไข (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | packed decimal | ทศนิยมอัดแน่น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) | พีซีเอ็มซีไอเอ (สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) | พีซีเอ็มซีไอเอ (สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Personal Computer Memory Card International Association (PCMCIA) | สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ (พีซีเอ็มซีไอเอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Personal Computer Memory Card International Association (PCMCIA) | สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ (พีซีเอ็มซีไอเอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pact | ๑. กติกาสัญญา, สนธิสัญญา (ก. ระหว่างประเทศ) ๒. ข้อตกลง, สัญญา (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | public international law | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public international law | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง [ ดู jus gentium ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | police forces, international | กองกำลังระหว่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | periodic decimal; circulating decimal; recurring decimal; repeating decimal | ทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | patriotism | ความรักประเทศชาติ, ความรักปิตุภูมิ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, city-manager; plan, council-manager | เทศบาลแบบสภาและผู้จัดการ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, commission | เทศบาลแบบคณะกรรมาธิการ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, commission-manager | เทศบาลแบบคณะเทศมนตรีและผู้จัดการนคร (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, council-manager; plan, city-manager | เทศบาลแบบสภาและผู้จัดการ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, strong-mayor | เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจมาก (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, weak-mayor | เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจน้อย (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | lex causae (L.) | กฎหมายที่ใช้บังคับแก่กรณี (ก. ระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | league, municipal | สันนิบาตเทศบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | laboratory phonetics | สัทศาสตร์ปฏิบัติการ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, municipal | เทศบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | less developed country | ประเทศพัฒนาน้อย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | less developed country | ประเทศที่พัฒนาน้อย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | loan, external | เงินกู้ต่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | loan, internal | เงินกู้ในประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, international | กฎหมายระหว่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, international | กฎหมายระหว่างประเทศ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | liquorice | ชะเอมเทศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | letter of request | หนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ) [ ดู rogatory letter ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | low-income country | ประเทศที่มีรายได้ต่ำ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | law of nations | กฎหมายนานาประเทศ, กฎหมายระหว่างประเทศ [ ดู international law ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law of the flag | กฎหมายของประเทศเจ้าของธงที่เรือชัก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law of the land | กฎหมายของประเทศ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law of nations | กฎหมายระหว่างประเทศ [ ดู international law ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Lord Mayor | นายกเทศมนตรี (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | least developed country | ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | revenue, internal | ๑. รัษฎากร, รายได้ภายในประเทศ๒. สรรพากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | relegation | การขับออกจากประเทศชั่วคราว (ก. เก่าอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information science | สารสนเทศศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information | สารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information technolgy | เทคโนโลยีสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information resource | แหล่งสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information resources manegement | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Online information service | บริการสารสนเทศแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | National Information Standards Organization - NISO | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online information service | บริการสารสนเทศแบบออนไลน์, Example: <p>บริการสารสนเทศแบบออนไลน์ คือ การให้บริการสารสนเทศผ่านทางระบบออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ผู้จัดการสารสนเทศสามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา สารสนเทศแบบออนไลน์ ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journals) รวมทั้งฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bioinformatics | ชีวสารสนเทศศาสตร์, Example: <p>ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) เป็นสาขาที่เกิดขึ้นจากการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางชีววิทยาการแพทย์ โดยเน้นปัญหาการเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลรหัสพันธุกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับวิทยาศาสตร์การคำนวณ (Computational Science) ช่วยให้การทำงานและวิจัยด้านนี้เป็นไปอย่างก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพ <p>ตัวอย่างงานชีวสารสนเทศ ได้แก่ โครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ (Human Genome Project) การถอดรหัสพันธุกรรมเชื้อโรคหรือพืชที่สำคัญ และการผลิตยาใหม่ เป็นต้น <p>ชีวสารสนเทศศาสตร์ได้รับการกล่าวถึงว่าจะมีความสำคัญอย่างมากในศตวรรษที่ 21 บุคลากรด้านชีวสารสนเทศมีความจำเป็นอย่างมาก มีการเห็นความสำคัญในการจัดให้ชีวสารสนเทศเป็นศาสตร์เฉพาะทางและจัดให้มีการสอนเป็นหลักสูตรขึ้น ในปัจจุบันการพัฒนาบุคลากรด้านนี้สามารถกระทำได้ โดยการสอนความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และวิทยาศาสตร์การคำนวณแก่บุคลากรด้านชีววิทยาการแพทย์ เช่น นักอณูชีววิทยา นักเคมี แพทย์ เภสัชกร และนักวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ <p>งานหลักของชีวสารสนเทศคือการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลชีววิทยา (Biological Database) ที่บรรจุข้อมูลบรรณานุกรม การเรียงสายของโปรตีน (Protein Sequence) โครงสร้างโปรตีน (Protein Structure) หน้าที่โปรตีน (Protein Function) หมวดโปรตีน (Pattern/Family) และรหัสพันธุกรรม (Necleotide Sequence) เป็นต้น <p>บรรณานุกรม <p>Available at : http://www.si.mahidol.ac.th/simi/bioinfo/bi_what.html. Accessed July 31, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collection development | การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Communication in information science | การสื่อสารทางสารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Decimal classification | การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Decimal system | ระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information center | ศูนย์สารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information officer | นักเอกสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information resource | ทรัพยากรสารสนเทศ, Example: <p>ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุที่ใช้ในการบันทึกสารสนเทศและความรู้ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) 2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) และ 3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) <p>1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เช่น ตำรา หนังสืออ้างอิง รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ นวนิยายและเรื่องสั้น นิตยสารและวารสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น <p>2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่นำเสนอความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตาเป็นหลัก ซึ่งไม่ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ โสตทัศนวัสดุ และวัสดุย่อส่วน <p>3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการอ่านหรือฟัง โดยมีชุดคำสั่งระบบจัดการฐานข้อมูล ทำหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลซีดี-รอม และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information science | สารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information scientist | นักเอกสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ, Example: <p>ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ หรือ ระบบการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการที่มีการคัดเลือก ควบคุม โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงและกระบวนการใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องจากแหล่งภายในและภายนอก ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ โดยเป็นทั้งระบบที่จัดทำด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีสถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทหน้าที่ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในช่องทางที่เป็นทางการ และเป็นตัวกลางที่สำคัญเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ <p>พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ มี 2 ช่วงคือ ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 และ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 <p>1. ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 เป็นการพัฒนาระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์ของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทห้องสมุด การจัดหมวดหมู่ซึ่งพัฒนามาเป็นระบบหมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้ และ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งการจัดทำดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก มีการพัฒนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก ซึ่งเป็นการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อ เช่น กระดาษลงฟิล์ม เทคโนโลยีในการค้นคืนระบบแรก เป็นเทคนิคการทำเครื่องมือค้นประเภทบัตรเจาะบันทึกหัวเรื่อง การทำดรรชนี เช่น ควิก และริเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ทำบัตรรายการ <p>2. ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่สำคัญ เช่น การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่ คือ โอซีแอลซี (OCLC : Online Computer Library Center) และอาร์แอลไอเอ็น (RLIN : Research Libraries Information Network) บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เช่น กลุ่มไดอะลอก ออบิต และอินเทร์เน็ตกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information technolgy | เทคโนโลยีสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Federation of Library Asso | สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Location | ตำแหน่งของทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | National Information Standards Organizat | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Non-circulation | ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ให้ยืมออก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Universal Decimal Classification | ระบบทศนิยมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ, Example: <p>การค้นข้อสนเทศ หรือ การค้นคืนสารสนเทศ มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อค้นคืนเอกสารทั้งหมดในทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าเรื่องกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ออกมา โดยมีเอกสารที่ไม่เข้าเรื่องปะปนออกมาให้น้อยที่สุด การค้นคืนสารสนเทศมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ 2 ส่วน คือ <p>1. การจัดทำตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การจับคู่เพื่อเปรียบเทียบระหว่างตัวแทนทั้งสองนี้ (ตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้) <p>ระบบค้นคืนสารสนเทศ จำแนกประเภทได้หลายวิธี ที่สำคัญคือการจำแนกประเภทของระบบตามประเภทของสารสนเทศที่จัดเก็บและค้นคืนได้ ได้แก่ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ฐานข้อมูลตัวเลข ฐานข้อมูลภาพ และฐานข้อมูลมัลติมีเดีย <p>กระบวนการค้นหาสารสนเทศ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ <p>1. การทำความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม <p>3. การกำหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแนวคิดและคำค้น <p>4. การกำหนดกลยุทธ์การค้น <p>5. การดำเนินการค้นและทบทวนผลการค้น <p>ปัจจัยสนับสนุนในการค้นหาสารสนเทศ ได้แก่ <p>1. การสัมภาษณ์ผู้ใช้ก่อนการค้นหา เช่น ประเภทของสารสนเทศที่ต้องการ ลักษณะการนำสารสนเทศไปใช้ ระดับความลุ่มลึก และปริมาณของสารสนเทศที่ต้องการ <p>2. เกณฑ์การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศ เช่น ขอบเขต ความทันสมัย ระยะเวลา เนื้อหาสาระ ค่าใช้จ่าย <p>3. เทคนิคสำคัญในการค้นหาสารสนเทศ เช่น การกำหนดคำค้นด้วยศัพท์ควบคุม (Control vocabulary) และศัพท์ไม่ควบคุม (Uncontrol vocabulary) การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคำค้นด้วยตรรกะบูเลียน เทคนิคการตัดคำ และเทคนิคการระบุเขตข้อมูล <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information resources management | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Institutional repository | คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน, Example: Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information network | เครือข่ายสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information theory | ทฤษฎีสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information policy | นโยบายสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information service | บริการสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thai Library Association | สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | สังเค็ด | ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุว่าเป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่พระสงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด [ศัพท์พระราชพิธี] | Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Information storage and retrieval systems | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Bioinformatics | ชีวสารสนเทศศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | พสกนิกร | [ พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน ] คนที่อยู่ในประเทศไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม [ศัพท์พระราชพิธี] |
| อำเภออรัญประเทศ | [Amphoē Aranyaprathēt] (n, prop) EN: Amphoe Aranyaprathet ; Aranyaprathet ; Aran (inf.) FR: Amphoe Aranyaprathet ; Aranyaprathet ; Aran (inf.) | อารยประเทศ | [ārayaprathēt] (n) EN: civilized country FR: pays civilisé [ m ] | อธิปไตยของประเทศ | [athippatai khøng prathēt] (n, exp) FR: souveraineté nationale [ f ] | ใบเสนอขายต่างประเทศ | [bai sanōe khāi tāngprathēt] (n, exp) EN: proforma invoice | บังกลาเทศ | [Bangkalāthēt] (n, prop) EN: Bangladesh FR: Bangladesh | บูชากัณฑ์เทศน์ | [būchākanthēt] (v) EN: offer money or things to the monk who gives the sermon ; worship with the gifts for the thirteen chapters of the Maha Chat | ชาวบังกลาเทศ | [Chāo Bangkalāthēt] EN: Bangladeshi | ชาวประเทศ | [chāo prathēt ...] (n, exp) FR: citoyen ... (+pays) [ m ] | ชาวต่างประเทศ | [chāo tāngprathēt] (n) EN: foreigner FR: étranger [ m ] ; étrangère [ f ] | ชีวสารสนเทศศาสตร์ | [chīwasārasonthētsāt] (n) EN: bioinformatics FR: bio-informatique [ f ] | ชุมเห็ดเทศ | [chumhet thēt] (n, exp) EN: Ringworm bush ; Seven golden candle stick ; Candle bush ; Candelabra | เอกเทศ | [ēkkathēt] (adj) EN: individual | เอกเทศ | [ēkkathēt] (adv) EN: individually ; on one's own | เอกเทศสัญญา | [ēkkathēt sanyā] (n, exp) EN: specific contract | ฟังเทศน์ | [fang thēt] (v, exp) EN: listen to sermon | ฟังเทศน์ฟังธรรม | [fang thēt fang tham] (v, exp) EN: listen to sermon | อิทธิพล(ของ)ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย | [itthiphon (khøng) phāsā tāngprathēt nai phāsā Thai] (xp) EN: influence of foreign languages on Thai | จำนวนประชากรในประเทศไทย | [jamnūan prachākøn nai prathēt Thai] (n, exp) FR: population totale de la Thaïlande [ f ] | จำนวนทศนิยม | [jamnūan thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal number FR: nombre décimal [ m ] | จังหวัดของประเทศไทย | [jangwat khøng Prathēt Thai] (n, exp) EN: province of Thailand FR: province de Thaïlande [ f ] ; province Thaïlandaise [ f ] | จันทน์เทศ | [jan thēt] (n) EN: nutmeg FR: muscade [ f ] | จัดจำหน่ายในประเทศไทยโดย... | [jat jamnāi nai Prathēt Thai dōi …] (v, exp) EN: distributed in Thailand by … | จุดทศนิยม | [jut thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal point ; dot in a decimal number FR: point décimal [ m ] ; virgule décimale [ f ] | กาลเทศะ | [kālathēsa] (n) EN: time and place FR: le temps et l'espace | กาลเทศะ | [kālathēsa] (n) EN: occasion ; opportune moment ; situation | การบริโภคภายในประเทศ | [kān børiphōk phāinai prathēt] (n, exp) EN: local consumption ; domestic consumption FR: consommation intérieure [ f ] | การฟังเทศน์ | [kān fang thēt] (n, exp) EN: hearing a sermon ; listening to a discourse or preaching | การค้าภายในประเทศ | [kānkhā phāinai prathēt] (n, exp) EN: domestic trade | การค้าระหว่างประเทศ | [kānkhā rawāng prathēt] (n, exp) EN: international trade ; foreign trade | การควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ | [kān khūapkhum attrā laēkplīen ngoentrā tāngprathēt] (n, exp) EN: foreign exchange control | การกีฬาแห่งประเทศไทย | [Kānkīlā haeng Prathēt Thai] (org) EN: Sport Authority of Thailand (SAT) | การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ | [kān laēkplīen ngoentrā rawāng prathēt] (n, exp) EN: exchange rate | การหนีไปประเทศอียิปต์ | [kān nīpai Prathēt Īyip] (n, exp) FR: La fuite en Égypte [ f ] | การปฐมนิเทศ | [kān pathomnithēt] (n) EN: orientation | การประมวลผลสารสนเทศ | [kān pramūanphon sārasonthēt] (n, exp) EN: information processing FR: traitement de l'information [ m ] | การรถไฟแห่งประเทศไทย | [Kān Rotfai Haeng Prathēt Thai] (org) EN: State railway of Thailand (SRT) FR: Société nationale des chemins de fer thaïlandais (SRT) [ f ] | การเซ็นเซอร์ในประเทศไทย | [kān sensoē nai Prathēt Thai] (n, exp) FR: la censure en Thaïlande [ f ] | การสื่อสารแห่งประเทศไทย | [Kān Seūsān Haeng Prathēt Thai] (org) EN: Communications Authority of Thailand (CAT) | กาลเทศะ | [kān-thēsa] (n) EN: time and space ; time and place FR: espace-temps [ m ] | การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) | [Kān Thøngthīo Haeng Prathēt Thai] (org) EN: The Tourism Authority of Thailand (TAT) FR: Office national du tourisme de Thaïlande (TAT) [ m ] | กรณีพิพาทระหว่างประเทศ | [karanī phiphāt rawāng prathēt] (n, exp) EN: international legal dispute | กะหร่องเทศ | [karǿngthēt] (adj) EN: thin ; emaciated ; sickly | คำต่างประเทศ | [kham tāngprathēt] (n, exp) EN: foreign word FR: mot étranger [ m ] | คณะเทศมนตรี | [khana thētsamontrī = khana thēsamontrī] (n, exp) EN: municipal council ; town council ; city council FR: conseil municipal [ m ] ; conseil communal [ m ] | ข่าวในประเทศ | [khāo nai prathēt] (n, exp) EN: local news ; domestic news FR: actualité nationale [ f ] ; actualité intérieure [ f ] | ข่าวต่างประเทศ | [khāo tāngprathēt] (n, exp) EN: foreign news FR: actualité internationale [ f ] ; nouvelles de l'étranger [ fpl ] ; nouvelles internationales [ fpl ] | เขตแดนประเทศ | [khētdaēn prathēt] (n, exp) FR: limites territoriales [ f ] | ขอให้ประเทศไทยจงเจริญ | [khø hai prathēt Thai jong jaroēn] (xp) EN: May Thailand prosper ; More power to Thailand FR: Prospérité à la Thaïlande ! ; Puisse la Thaïlande prospérer ! | คนต่างประเทศ | [khon tāngprathēt] (n, exp) EN: foreigner FR: étranger [ m ] ; étrangère [ f ] | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | [khwām samphan rawāng prathēt] (n, exp) EN: international relations FR: relations internationales [ fpl ] |
| doraemon | (n) ชื่อตัวละครของการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องหนึ่ง เป็นหุ่นยนต์มาจากโลกอนาคต มีกระเป๋าสารพัดประโยชน์ คอยใช้ของวิเศษเพื่อช่วยเหลือโนบิตะ การ์ตูนเรื่องนี้เป็นที่นิยมอย่างมากประมาณในช่วงทศวรรษที่ 80 | SARS | (n) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ซาร์ส มาจากภาษาอังกฤษ เต็มๆ คือ Severe Acute Respiratory Syndrome เริ่มระบาดในช่วงต้นปี 2546 ในหลายประเทศ | Dhaka | (n, uniq) ชื่อเมืองหลวงของประเทศบังคลาเทศ, See also: Dacca | SONA | (n) ย่อมาจาก State of Nation Address สุนทรพจน์ที่ผู้นำกล่าวสรุปสถานการณ์ของประเทศ | CITES | (abbrev) CITES (อ่านว่า ไซเตส) ย่อมาจาก The Convention of International Trade in endangered spicies of Wild Fauna and Flora หมายถึง อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งห้ามการค้าชนิดสัตว์และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ | educational supervisor | (n) ศึกษานิเทศก์ | koban | (n) ป้อมตำรวจ ตั้งอยู่ตามสถานที่ชุมชมเพื่อรับแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย หรือให้ความช่วยเหลือต่างๆ แก่ประชาชน (คำนี้มาจากคำภาษาญี่ปุ่น, ในประเทศญี่ปุ่นจะมีป้อมในลักษณะนี้ตามจุดต่างๆ ทั่้วเมือง) | bonobo | (n) ลิงในสปีชีส์ Pan paniscus คล้ายชิมแปนซีแต่ตัวเล็กกว่า พบในป่าประเทศซาอีร์, Syn. pygmy chimpanzee | imperial unit | (n) หน่วยวัดของอังกฤษแบบเก่า และยังใช้อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้หน่วยวัดเป็น นิ้ว ฟุด ปอนด์ แกลลอน หลา ไมล์ เป็นต้น, See also: Related: metric unit | à la carte | (n, adj, adv) |มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส| การสั่งอาหารที่มีอยู่ในเมนูได้ตามใจชอบ โดยไม่ต้องสั่งเป็นชุดตามที่ร้านอาหารจัดไว้ (ทางประเทศแถบตะวันตก มักมีรายการอาหารเป็นชุดจัดไว้ให้), เมนูหรือรายการอาหารที่มีราคาแยกเฉพาะสำหรับอาหารแต่ละจาน | constitutional court | (org) ศาลรัฐธรรมนูญ ของประเทศไทยมีชื่อเต็มว่า The Constitutional Court of The Kingdom of Thailand มีโฮมเพจอยู่ที่ http://www.concourt.or.th/ | illegally | (n) (คนที่อยู่) อย่างไม่ถูกต้อง, โดยไม่มีเอกสารอนุญาตให้อยู่ในประเทศนั้นอย่างถูกต้องตามกฎหมาย | Loi Krathong | (n) เทศกาลลอยกระทงของไทยในเดือนพฤศจิกายน โดยจะลอยกระทง (banana-leaf cup) ไปตามน้ำ | timely | (adj) ถูกเวลา, ถูกกาลเทศะ, Syn. opportune | GDP | (n, abbrev) ย่อมาจาก Gross Domestic Product ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ | Bioinformatics | (n) ชีวสารสนเทศศาสตร์ | foreign exchange reserve | (n) ทุนแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ | advent calendar | (n) ปฏิทินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของการมาจุติของพระเยซู เริ่มเฉลิมกันในเดือนธันวาคม ซึ่งผู้ใหญ่มักให้เป็นของขวัญแก่เด็กๆ ปฏิทินนี้ประกอบด้วยแผ่นกระดาษสองแผ่นซ้อนทับกัน มีช่องที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อให้เป็นประตูเปิดได้จากกระดาษชั้นบน ประตูเหล่านี้มีตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 24 ธันวาคม ก่อนถึงวันคริสต์มาส ซึ่งแต่ละช่องจะบอกเล่าถึงเรื่องราวของการประสูติของพระเยซู และอาจมีขนม ของขวัญชิ้นเล็กๆซ่อนอยู่ด้วยก็ได้ | Perl | (n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย | phrase book | หนังสือรวมบทสนทนาหรือสำนวนภาษาต่างประเทศ | johore | (name) รัฐยะโฮร์ ในประเทศมาเลเซีย | Hessian | (adj) แห่งรัฐ Hesse ในประเทศเยอรมนี หรือ แห่งประชาชนจากรัฐ Hesse เช่น The Hessian capital city is Wiesbaden., See also: Hesse | Hesse | (n, uniq) รัฐหนึ่งในประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งอยู่ทางตะวันตกตอนกลาง เมืองสำคัญทางเศรษฐกิจของรัฐนี้คือ Frankfurt am Main | Mardi Gras | (n) |มาจากภาษาฝรั่งเศส| วันอังคารก่อนวัน Ash Wednesday, วันฉลองก่อนวันถือบวชในศาสนาคริสต์ (หรือเรียกว่า Shrove Tuesday), วันสุดท้ายของเทศกาลคาร์นิวาลในอเมริกา โดยเฉพาะที่เมือง New Orleans, Syn. Fat Tuesday | virtual organization | (n) องค์การเสมือนจริง, เครือข่ายขององค์การซึ่งเชื่อมโยงกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อที่จะแลกเปลี่ยนทักษะ ทรัพยากร สินค้า บริการ การเข้าถึงตลาด และเพื่อลดต้นทุน | CIS | (n) กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States) คือ กลุ่มประเทศที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต | calrose rice | (n) พันธุ์ข้าวชนิดหนึ่งที่ปลูกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อหุงสุกแล้วจะให้กลิ่นรสที่ดี นุ่ม และเหนียว เหมาะในการทำซูชิ เช่น Calrose rice is sticky by American standards, while glutinous rice is much stickier. | Highbury | (n) สนามฟุตบอลเดิมของทีมอาร์เซนอล ประเทศอังกฤษ | DEM | (n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น | offshoring | (n) การย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศ, การตั้งศูนย์บริการในต่างประเทศ เช่น Semiconductor design is a frequently-cited example of the new wave of offshoring and foreign-outsourcing of service sector jobs. | epiphany | (n) เป็นวันฉลองเทศกาลที่โหราจารย์ 3 คนจากทิศตะวันออก ได้นำของขวัญมาถวายแก่กุมารเยซู โดยทั่วไปแล้วตรงกับวันที่ 6 มกราคม, See also: Christmas | XEROX | (n, name, uniq) เครื่องหมายการค้าของ ซีร็อกซ์ คอร์ปอเรชั่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ใช้สำหรับเครื่องผลิตภัณฑ์ถ่ายเอกสาร และอื่นๆ โดยในประเทศไทยได้มีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายไทย และขอความร่วมมือคนไทยเลิกใช้คำว่า XEROX ในความหมายว่า เครื่องถ่ายเอกสาร หรือ กระบวนการถ่ายเอกสาร ในลักษณะคำสามัญ เพราะจะทำให้เครื่องหมายการค้าของซีร็อกซ์เสื่อมซึ่งลักษณะเฉพาะ | mark | (vt) นับเป็น, ถือเป็นโอกาสหรือวาระของเหตุการณ์ที่คิดว่าสำคัญ เช่น Angola's Leila Lopes has become the new Miss Universe, edging out beauties from Ukraine, Brazil, the Philippines and China as the pageant marked its 60th anniversary." นางสาว Leila Lopes จากประเทศอังโกลา เฉือนชนะสาวงามจากยูเครน, บราซิล, ฟิลิปปินส์ และจีน ได้เป็นนางงามจักรวาลคนล่าสุด ในการประกวดนางงามจักรวาลซึ่งครบรอบปีที่ 60 แล้ว | Manchester City | (uniq) สโมสรฟุตบอลจากเมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ | Manchester United | (uniq) สโมสรฟุตบอลจากเมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cryptocurrency | (n) เงินตราเข้ารหัสลับ, คริปโทเคอร์เรนซี, สินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นสื่อกลางในการทำธุรกรรม ซึ่งใช้วิทยาการเข้ารหัสลับสำหรับรับประกันความถูกต้องของธุรกรรมนั้น เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจิทัลเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนสินทรัพย์ เป็นเงินดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | blockchain | (n) บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | bitcoin | (n) บิตคอยน์, ชื่อสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | big data | (n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | avatar | (n) อวทาร์, รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกม ซึ่งอาจเป็นสองมิติหรือสามมิติก็ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | augmented reality (AR) | (n) ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cyber crime | (n) [ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cyber bully | (n) การระรานทางไซเบอร์, การกลั่นแกล้ง การให้ร้าย การด่าว่า การข่มเหง หรือการรังแกผู้อื่นทางสื่อสังคมต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | pandemic | (n) โรคระบาด ที่มีการระบาดกระจายไปในพื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น ทั่วประเทศ หลายประเทศในภูมิภาค หรือ กระจายไปทั่วโลก ถือเป็นระดับสูงสุดของการระบาด ที่เริ่มจาก endemic (โรคระบาดประจำถิ่น), outbreak (โรคระบาดประจำถิ่นที่มีการเพิ่มของผู้ป่วยผิดปกติ หรือ โรคใหม่ที่เริ่มการระบาด, epidemic (เริ่มแพร่ระบาดไปในวงกว้าง) และ pandemic (โรคระบาดไปทั่วทั้งประเทศ หรือ หลายพื้นที่ในโลก) | Viennoiserie | (n) ขนมอบ ประเภทที่ใช้แป้งที่มียีสต์คล้ายกับขนมปัง แต่มีการใส่ส่วนประกอบเพิ่มเติมเช่น ไข่ เนย นม ครีม น้ำตาล เข้าไป ทำให้ได้ออกมาเป็นขนมที่ rich และมีรสหวาน โดยมากมักจะใช้แป้งที่ทำออกมาเป็นลักษณะเป็นชั้นๆ (laminated dough) ตัวอย่างขนมอบประเภทนี้ เช่น ครัวซอง (croissants), บริยอช (brioche), ขนมปังไส้ช็อกโกแลต (pain au chocolat) คำนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลตรงตัวคือ "things of Vienna" ของแห่งกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย |
| abroad | (adv) ในต่างประเทศ, See also: ในต่างชาติ, ในต่างแดน, ที่อยู่ในเมืองนอก | Addis Ababa | (n) ชื่อเมืองหลวงของประเทศเอธิโอเปีย | Aden | (n) เมืองเอเดนในประเทศเยเมน | affricate | (n) เสียงกักเสียดแทรก (สัทศาสตร์), See also: เสียงที่เกิดจากการออกเสียงในลักษณะที่เริ่มด้วยฐานกรณ์ปิดสนิทแล้วค่อยๆเปิดออก ทำให้ลม | Afghanistan | (n) ประเทศอัฟกานิสถาน | African American | (n) คนผิวดำที่อาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา | Afro-American | (adj) เกี่ยวกับคนผิวดำที่อาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา | Afro-American | (n) คนผิวดำที่อาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา | Air Force One | (n) เครื่องบินสำหรับประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา | alderman | (n) เทศมนตรี | Algeria | (n) ประเทศแอลจีเรียอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา | alien | (n) คนต่างด้าว, See also: คนต่างประเทศ, ชาวต่างชาติ, ชาวต่างประเทศ, Syn. foreigner, stranger, nonnative | alien | (adj) ต่างด้าว, See also: ต่างประเทศ, ที่เป็นคนต่างชาติ | all-American | (adj) ซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศสหรัฐอเมริกา | ally | (n) คนหรือประเทศที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน, See also: สมาชิกในกลุ่ม, Syn. associate, confederate | Aloha State | (n) ชื่อเล่นของรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา | America | (n) สหรัฐอเมริกา, See also: ประเทศสหรัฐอเมริกา, Syn. The United States of America, United States, U.S., the States | Annam | (n) ประเทศเวียดนาม | annual festival | (n) เทศกาลประจำปี | April Fools' Day | (n) วันที่ 1 เมษายน เป็นวันเทศกาลคนโง่ที่ถือว่าเป็นวันสนุกสนานล้อเลียนกันได้ | Argentina | (n) ประเทศอาร์เจนตินา | aristocracy | (n) ประเทศหรือรัฐที่ปกครองโดยชนชั้นสูง | arrack | (n) เหล้าชนิดหนึ่งในประเทศมุสลิม | Australia | (n) ประเทศออสเตรเลีย | baccara | (n) การเล่นไพ่แบ็กคาระ (นิยมในประเทศฝรั่งเศษ), Syn. baccarat | baccarat | (n) การเล่นไพ่แบ็กคาระ (นิยมในประเทศฝรั่งเศษ), Syn. baccara | baht | (n) บาท (หน่วยเงินตราของประเทศไทย), See also: เงินบาท | Bale | (n) เมืองเบล (ประเทศสวิตเซอร์แลนด์) | Bangkok | (n) กรุงเทพมหานคร (เมืองหลวงของประเทศไทย), See also: บางกอก, จังหวัดกรุงเทพมหานคร | Bangladesh | (n) บังคลาเทศ, See also: ประเทศบังคลาเทศ | Bangladesh | (n) ประเทศบังคลาเทศ | banish | (vt) เนรเทศ, Syn. ostracize, Ant. admit, desegregate | banishment | (n) การเนรเทศ, Syn. seclusion | Bank of Thailand | (n) ธนาคารแห่งประเทศไทย | Barcelona | (n) เมืองบาเซโลน่า (เมืองใหญ่เป็นที่สองของประเทศสเปน) | basket case | (n) องค์กรหรือประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจตกต่ำมาก | Belgium | (n) ประเทศเบลเยียม | Bengal | (n) แคว้นเบงกอลในประเทศอินเดีย | Bengali | (n) ผู้มาจากประเทศบังคลาเทศ | blaspheme | (vt) พูดดูหมิ่นหรือสบประมาทศาสนา, See also: กล่าวถ้อยคำหยาบคาย, Syn. defile, desecrate, Ant. honor, revere | blasphemy | (n) การสบประมาทหรือการดูหมิ่น, See also: การสบประมาทศาสนา, Syn. desecration, profanation | bourbon | (n) ราชวงศ์ของประเทศฝรั่งเศส, See also: ราชวงศ์บัวบัน | Brazil | (n) ประเทศบราซิล | breadbasket | (n) ดินแดนส่วนที่ผิดอาหารจำนวนมากให้ประเทศ | brinksmanship | (n) การเสี่ยงอันตรายทำให้ผู้อื่นเป็นอย่างที่ต้องการ, See also: ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | Brunei | (n) ประเทศบรูไน | Bulgaria | (n) ประเทศบัลแกเรีย | bunting | (n) ธงหรือกระดาษสีประดับถนนหรืออาคารในเทศกาลฉลอง | Burma | (n) สหภาพพม่า, See also: พุกามประเทศ, พุกาม | banish from | (phrv) เนรเทศ, See also: ขับไล่ไปจาก |
| abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด | abroad | (อะบรอด') adj., adv. ข้างนอก, ต่างประเทศ, แพร่หลาย, ไปทั่ว, พิศวง, ไม่หนักแน่น, ไม่ตรงประเด็น, Syn. circulating, outdoors | accra | (แอคค' คระ, อะครา') n. เมืองท่าและเมืองหลวงของประเทศกานา (Akkra) | afghanistan | (แอฟแกน' นิสแทน) n. ประเทศอัฟกานิสถาน อยู่ในทวีปเอเซียตะวันออกกลาง | albania | (แอลเบ' เนีย) n. ประเทศอัลบาเนีย | albanian | (แอลเบ' เนียน) adj., n. เกี่ยวกับประเทศอัลบาเนีย, ภาษาอัลบาเนีย | alcalde | (แอลแคล' ดี) n., (pl. -des) นายกเทศมนตรีที่มีอำนาจพิจารณาคดี., Syn. alcade | alderman | (ออล' เดอเมิน) n., (pl. -men) เทศมนตรี, สมาชิกสภาเทศบาล, ข้าหลวงใหญ่. | algeria | (แอลจี' เรีย) n. ประเทศแอลจีเรียในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ -Algerian n., adj. | alien | (แอล' เยิน, เอ' เลียน) n., adj. คนต่างด้าว, ความแตกต่างกับตน, คนแปลกหน้า, ต่างด้าว, ต่างประเทศ, แตกต่างกับตัวเอง, Syn. outlander | alliance | (อะไล' เอินซฺ) n. พันธมิตร, สันนิบาต, การแต่งงาน, ความสัมพันธ์ที่เกิดจากการแต่งงาน, สหพันธ์, ข้อตกลงระหว่างประเทศ, Syn. fusion, union -A.difference, disparity | ally | (vt, vi. อะไล', -n. แอล' ไล, อะไล') ผูกพัน, เข้าข้าง, เป็นพันธมิตร, พันธมิตร, ประเทศพันธมิตร, พรรคพวก, ผู้ช่วย, สิ่งที่เกี่ยวดองกัน. -alliable adj., Syn. confederate, partner-A. enemy | almond | (อา' เมินดฺ, แอม' เมินดฺ) n. เมล็ดพืชคล้ายถั่วลิสง, เมล็ดอามันด์, เมล็ด'เฮ่งยิ้ง' ของพืชชนิดหนึ่งในประเทศจีน | alone | (อะโลน') adj., adv. คนเดียว, ลำพังตนเอง, โดดเดี่ยว, เปล่าเปลี่ยว, เอกเทศ. -aloneness n., Syn. unique, single, solitary, isolated, Ant. befriended, together | ambo | (แอม' โบ) n., (pl. -bos) n. แท่นอ่านพระคัมภีร์หรือเทศนาในโบสถ์คริสเตียนสมัยโบราณ (ambon) | american standard code fo | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี " | amnesty | (แอม' เนสที) n. การอภัยโทษ, นิรโทษกรรม. -vt. ประเทศนิรโทษกรรม (pardon) | angary | (แอง' กะรี) n สิทธิของรัฐที่ทำสงครามในการยึดครองหรือทำลายทรัพย์สินของประเทศที่เป็นกลางแล้ว, รอไว้ชดใช้ค่าเสียหาย หรือสินไหมทดแทนในภายหลัง | anglia | (แอง' เกลีย) n. ประเทศอังกฤษ (ภาษาลาติน) (England) | angola | (แองโก' ละ) n. ชื่อประเทศในอาฟริกาตะวันตก เคยเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส | annam | (อะแนม') n. ประเทศเวียตนาม, Syn. Anam Vietnam | apostle | (อะพอส'เซิล) n. สาวกของพระเยซูคริสต์, มิชชั่นนารีแรกหรือที่รู้จักกันดีที่สุดของประเทศหรือท้องถิ่นนั้น, ผู้เผยแพร่, ผู้ปฏิรูป. | april fools'day | วันที่ 1 เมษายนเป็นวันเทศกาลคนโง่ที่ถือว่าเป็นวันสนุกสนานล้อเลียนกันได้., Syn. All Fools'Day | aram | (เอ'แรม'อา'รัม) n. ประเทศซีเรียโบราณ | aramaic | (อาระเม'อิค) n. ภาษาอาหรับของประเทศซีเรียและปาเลสไตน์ (Aramean, Aramaean) | aranya prades | n. อรัญประเทศ | arcadia | (อาร์เค'เดีย) n. ชื่อที่ราบสูงแห่งหนึ่งในประเทศกรีซโบราณที่มีผู้คนอยู่อย่างง่าย ๆ และไร้เดียงสา, ชื่อเมืองหนึ่งในรัฐแคลิฟอเนีย | ardeb | (อาร์'เดบ) n. หน่วยความจุที่ใช้ในอียิปต์ และประเทศที่ใกล้เคียง (a unit of capacity) | area code | เลขหน่วยที่หมายถึงเขตโทรศัพท์ของส่วนต่าง ๆ ของประเทศ | argentina | (อาร์เจนที'นา) n. ประเทศอาร์เจนตินา, Syn. -the Argentine, Argentine Republic | argentinean | (อาร'์เจนทีน, -เนียน) n. ชาวอาร์เยนตินา, ประเทศอาร์เจนตินา | arpanet | (อาร์ปาเน็ต) ARPA นั้นย่อมาจาก Advanced Research Project Agency เป็นชื่อหน่วยงานที่ทำการวิจัยและทดลองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบัน เครือข่ายอาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (Internet) | arrack | (อาร์'แรค) n. น้ำตาลเมา, เหล้าในประ-เทศตะวันออกกลางหรือประเทศใกล้เคียง., Syn. arak | art theater | โรงภาพยนต์หนังต่างประเทศหรือหนังที่อยู่ระหว่างทดลองฉาย | ascii | คำย่อ American Standard code For Information Interchange, รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศนี้ เป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้กับคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่ใช้เลขฐานสอง รหัสแอสกี, รหัสมาตรฐาน ใช้แทนอักขระด้วย 7 บิต (ถ้ารวม parity check ด้วยจะเป็น 8 บิต) | ask | (อาสคฺ) n. คนแรกที่เทพเจ้าสร้างจากไม้ ash (นิยายในประเทศสแกนดิเนเวียน) . -S... | assumption | (อะซัมพฺ'เชิน) n. การสันนิษฐาน, การนึกเอา, ข้อสมมุติ, การเข้ารับตำแหน่ง, ความหยิ่ง, การเสแสร้ง, เทศกาลพระแม่ (Virgin Mary) ขึ้นสวรรค์ (conjecture, supposition) | asylum | (อะไซ'ลัม) n. สถานที่ดูแลคนตาบอด คนบ้า เด็กกำพร้า, ที่ลี้ภัย, การให้ความคุ้มครองผู้ลี้ภัยจากต่างประเทศ, ที่พ้นภัย, โรงพยาบาลคนบ้า | at 2 | (อาท) n., (pl. at) หน่วยเงินตราของประเทศลาว เท่ากับ 1/100 กีบ | auslander | (เอาสเลน' เดอะ) n., German ต่างด้าว, ชาวต่างประเทศ (foreigner) | australia | (ออสเทร'เลีย) n. ประเทศออสเตรเลีย | austria | (ออส'เทรีย) n. ประเทศออสเตรีย -Austrian adj. | balance of payments | n. ดุลการชำระเงินของประเทศเมื่อเทียบกับรายรับทั้งหมดจากต่างประเทศ | balance of trade | n. ดุลการค้าของประเทศเป็นการเปรียบเทียบค่าสินค้าขาเข้า กับสินค้าขาออก | balkan | (บอล'เคิน) adj. เกี่ยวกับแหลมบอลข่าน (ประชาชน, เทือกเขา, ภาษาและอื่น ๆ) -Phr. (the Balkans ประเทศต่าง ๆ ของแหลมบอลข่าน), See also: balkanite adj. | bangla desh | (แบงละเดช') n. ประเทศบังคลาเทศ | bangladesh | (แบงละเดช') n. ประเทศบังคลาเทศ | banish | (แบน'นิช) vt. เนรเทศ, ขับ, ไล่ไป, See also: banishment n. ดูbanish banisher n. ดูbanish, Syn. exile, Ant. retain | belgium | (เบล'เจียม) n. ประเทศเบลเยี่ยม | bengal | (เบนกอล') n. มณฑลเบ็งกอลระหว่างอินเดียกับบังกลาเทศ, See also: bengalese n., adj. |
| abroad | (adv) ในต่างประเทศ, นอกประเทศ, นอกบ้าน, กว้างออกไป | alderman | (n) เทศมนตรี, สมาชิกสภาเทศบาล | alien | (adj) ต่างด้าว, ต่างประเทศ, ต่างลักษณะ, แปลก | banish | (vt) กำจัด, ขับไล่, เนรเทศ, ไล่ | banishment | (n) การขับไล่, การเนรเทศ, การไล่ | BUFFER buffer state | (n) รัฐกันชน, ประเทศกันชน | burgh | (n) เมือง, หัวเมือง, จังหวัด, เทศบาลเมือง | bylaw | (n) เทศบัญญัติ, กฎหมายท้องถิ่น | catchup | (n) ซอสมะเขือเทศ, เครื่องปรุงรส | Cathay | (n) ประเทศจีน, เมืองจีน | catsup | (n) ซอสมะเขือเทศ | Ceylon | (n) ประเทศศรีลังกา | China | (n) ประเทศจีน, เมืองจีน | Chinese | (adj) เกี่ยวกับประเทศจีน, เกี่ยวกับชาติจีน | church | (n) โบสถ์, ศาสนจักร, การสวดมนต์, การฟังเทศน์, การบวชเรียน | circumstance | (n) พฤติการณ์, โอกาส, กาลเทศะ, สภาพ, เหตุการณ์แวดล้อม, เหตุ, กรณี | city | (n) เมือง, พระนคร, กรุง, นคร, เทศบาลเมือง | civic | (adj) เกี่ยวกับพลเมือง, เกี่ยวกับเมือง, ของจังหวัด, ของเทศบาล | clime | (n) ประเทศ, ถิ่น | colony | (n) อาณานิคม, ดินแดน, ประเทศอาณานิคม, หมู่คณะ | corporation | (n) บริษัท, บรรษัท, คณะ, สโมสร, สมาคม, นิติบุคคล, เทศบาล | country | (adj) เกี่ยวกับบ้านนอก, เกี่ยวกับประเทศ, เกี่ยวกับชนบท | country | (n) ประเทศ, รัฐ, บ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่, ภูมิลำเนา, บ้านเกิดเมืองนอน | decade | (n) ทศวรรษ, รอบสิบปี | decimal | (adj) ตามแบบทศนิยม, เกี่ยวกับทศนิยม | decimal | (n) ทศนิยม | defection | (n) การปลีกตัวออกจาก, การเอาใจออกห่าง, การละทิ้ง, การหนีออกนอกประเทศ | defector | (n) ผู้เอาใจออกห่าง, ผู้ละทิ้ง, ผู้หลบหนีออกนอกประเทศ | dependency | (n) ประเทศราช, เมืองขึ้น, การอาศัย, การพึ่งพา | deport | (vt) ขับไล่, เนรเทศ, ประพฤติตัว, วางท่าทาง | deportation | (n) การขับไล่, การเนรเทศ, พฤติกรรม, การประพฤติตัว | domestic | (adj) เกี่ยวกับครอบครัว, เกี่ยวกับบ้าน, ภายในประเทศ, ในบ้าน, เชื่อง | dominion | (n) อาณานิคม, ประเทศราช, เมืองขึ้น, แว่นแคว้น, อาณาจักร | dot | (n) จุด, รอยแต้ม, จุดทศนิยม | draft | (n) ฉบับร่าง, การเกณฑ์ทหาร, การสเก็ตภาพ, ใบสั่งจ่ายเงินในต่างประเทศ | edification | (n) การอบรมศีลธรรม, การสั่งสอน, การเทศนา | edify | (vt) เทศนา, อบรมศีลธรรม, สั่งสอน | Egyptian | (adj) เกี่ยวกับประเทศอียิปต์, เกี่ยวกับชาติไอยคุปต์, เกี่ยวกับภาษาอียิปต์ | English | (adj) เกี่ยวกับชาติอังกฤษ, ของคนอังกฤษ, เกี่ยวกับประเทศอังกฤษ | eve | (n) ตอนเย็น, เวลาเย็น, วันก่อนวันเทศกาล, วันสุกดิบ, วันจ่าย | exile | (n) การขับไล่, การเนรเทศ, การไล่ออก, ผู้ถูกเนรเทศ | exile | (vt) ขับไล่, เนรเทศ, ไล่ออก | exotic | (adj) เป็นของต่างประเทศ, ไม่ใช่ของพื้นเมือง, แปลกประหลาด, ผิดธรรมดา | exotic | (n) ของต่างประเทศ, สิ่งที่ผิดธรรมดา | expatriate | (vt) ย้ายภูมิลำเนา, เนรเทศ, อพยพไปอยู่ต่างประเทศ | external | (adj) ภายนอก, ด้านนอก, นอกประเทศ, นอกถิ่น, ผิวเผิน | feature | (n) ลักษณะเฉพาะ, รูป, แบบ, หน้าตา, สารคดีพิเศษ, ภูมิประเทศ | felicitous | (adj) เหมาะสม, ถูกจังหวะ, ถูกกาลเทศะ, เป็นมงคล | festival | (n) งานนักขัตฤกษ์, งานพิธี, งานฉลอง, งานเทศกาล, งานรื่นเริง | foreign | (adj) ต่างประเทศ, ต่างชาติ, ต่างเมือง, นอกประเทศ, ต่างถิ่น |
| *optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) | alhambra | ชื่อพระราชวังและป้อมปราการในประเทศสเปน ตั้งอยู่ที่กรานาด้า | Anise | เทียนสัตตบุษย์ (เครื่องเทศคล้ายโป๊ยกั๊ก-star anise) บางครั้งเรียก fennel seeds | Army general | (jargon) พลเอกอาวุโส เป็นยศทหารบกที่สูงกว่าพลเอก แต่ไม่ใช่จอมพล ปรากฎในบางประเทศ, See also: Generaloberst, Syn. Senior General | ascot | (n) การแข่งม้าในประเทศอังกฤษ | ASRoma | (name) เป็นสโมสรฟุตบอลชั้นนำของอิตาลี ตั้งอยู่ในกรุงโรมเมืองหลวงของประเทศอิตาลี | Assumption College Sriracha | [-] (name) โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 10 ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-311055-6 | atlanticist | (n) ผู้นิยมแนวคิดที่สนับสนุนการให้ความร่วมมือกันในทางการเมือง, เศรษฐกิจ, และการทหาร ระหว่างประเทศในยุโรปตะวันตกและอเมริกาเหนือ, See also: Atlanticism | Bangkok | [แบง ค๊อก] (n) กรุงเทพ เมืองหลวงของประเทศไทย | Bank for International Settlements | (org) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ | basispoint | [เบ'สิส พ้อยท์] หลังจุด ทศนิยม | Beltane | (uniq) เทศกาลเฉลิมฉลอง หนึ่งใน เทศกาลแห่งเปลวเพลิง ซึ่งรับทอดมาจากศาสตร์เซลติกโบราณ ซึ่งนิยมจะเฉลิมฉลองกันในยามค่ำคืน เพแกนจะขี่เหล่าปศุสัตว์ระหว่างกองไฟซึ่งก่อ ณ กลางแจ้ง ทั้งสองกอง เป็นความเชื่อว่าจะปกป้องพวกเขาจากโรคร้าย ส่วนคู่หนุ่มสาวที่ปราถณาจะมีชีวิตคู่ที่ชุ่มชื่นก็จะ "กระโดดเหนือกองไฟ" ในคืน Beltane | Benjapong International Airport | [เบนจาพง ระหว่างประเทศ สนามบิน (Benjapong Airport) #Airport] (fly) Benjapong International Airport ก็คือสนามบินระหว่าง Terminal 6 และ 8 รวม 7 ไกล้ๆ 6 International = ระหว่างประเทศ - Airport = สนามบิน / มีสนามบิน 1.Suvarnabhumi 1.Don Muang - ตรง Bangkok ดอนเมืองตรง Krasetsart / Suvarnabhumi ตรง Airhotel - Benjapong + All = อันดับ 1, See also: A. Nothings, Terminal, Syn. Airport Image: | bibliographic | (n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ | bilateral agreement | [ไบ-แล-เทอ-ราล อะ-กรี-เมนท] (n) ข้อตกลงระหว่างสองประเทศ (wikipedia.org) | brie | (n) บรี (เนยแข็งชนิดหนึ่ง มีแหล่งผลิตจากประเทศฝรั่งเศส ผิวนอกขรุขระ กรอบนอกนุ่มใน) | caduceus | (n) คทางูไขว้. คือคทาสั้นที่มีงูสองตัวพันกันเป็นเกลียวขึ้นมา บางครั้งก็จะมีปีกอยู่ข้างบนด้วย ผู้ใช้คทางูไขว้คนแรกคือเทพีไอริสผู้เป็นผู้สื่อสารของเทพีเฮรา ต่อมาคทานี้เรียกว่า “คทาเฮอร์มีส” (wand of Hermes) ที่ถือโดยเทพเฮอร์มีสผู้ที่เป็นผู้ถือคทาต่อมาในตำนานเทพหลังจากนั้นเป็นเวลานาน บางครั้งคทางูไขว้ก็ใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์เช่นในประเทศไทยหรือในทวีปอเมริกาเหนือ บางครั้งสัญลักษณ์นี้ก็ใช้สับสนกับสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์ในสมัยโบราณซึ่งเป็น[ [ คทางูเดี่ยว ] ] (rod of Asclepius) เท่านั้นที่มีงูเพียงตัวเดียวและไม่มีปีก (wikipedia.org/wiki/Caduceus), See also: rod of Asclepius | caduceus | (n) คทางูไขว้. คือคทาสั้นที่มีงูสองตัวพันกันเป็นเกลียวขึ้นมา บางครั้งก็จะมีปีกอยู่ข้างบนด้วย ผู้ใช้คทางูไขว้คนแรกคือเทพีไอริสผู้เป็นผู้สื่อสารของเทพีเฮรา ต่อมาคทานี้เรียกว่า “คทาเฮอร์มีส” (wand of Hermes) ที่ถือโดยเทพเฮอร์มีสผู้ที่เป็นผู้ถือคทาต่อมาในตำนานเทพหลังจากนั้นเป็นเวลานาน บางครั้งคทางูไขว้ก็ใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์เช่นในประเทศไทยหรือในทวีปอเมริกาเหนือ บางครั้งสัญลักษณ์นี้ก็ใช้สับสนกับสัญลักษณ์สำหรับการแพทย์ในสมัยโบราณซึ่งเป็น[ [ คทางูเดี่ยว ] ] (rod of Asclepius) เท่านั้นที่มีงูเพียงตัวเดียวและไม่มีปีก (wikipedia.org/wiki/Caduceus), See also: rod of Asclepius | carrara | (n) หินอ่อนคาร์รารา จากเหมืองคาร์รารา ประเทศอิตาลี เป็นหินอ่อนสีขาวหรือน้ำเงินเทา ใช้ประดับตกแต่งอาคาร | CDM | [ซี ดี เอ็ม] (n) กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) เป็นกลไกที่กำหนดขึ้นภายใต้พิธีสารเกียวโต เพื่อช่วยให้ประเทศอุตสาหกรรมที่มีพันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจกสามารถบรรลุพันธกรณีได้ และเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศกำลังพัฒนา แนวความคิดของกลไกการพัฒนาที่สะอาดคือ โครงการที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาและสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ผู้ดำเนินโครงการจะได้รับ Certified Emission Reduction (CERs) จากหน่วยงานที่เรียกว่า CDM Executive Board (CDM EB) และ CERs ที่ผู้ดำเนินโครงการได้รับนี้ สามารถนำไปขายให้กับประเทศอุตสาหกรรม ที่สามารถใช้ CERs ในการบรรลุถึงพันธกรณี่ตามพิธีสารเกียวโตได้ | cern | [Organisation Européenne pour la Recherche Nucléaire] (n) เป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์, Syn. European Organization for Nuclear Research | Chuseok | [ชูซอก] เทศกาลชูซอก | climate | (n) ขอแสดงความคิดเห็นนะครับ ไม่ใช่คำแปล คำนี้ไม่ได้มีความหมายคล้ายกับ weather คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าใจความหมายอย่างชัดเจนระหว่างคำสองคำนี้ จึงอยากให้ทางลองดูช่วยให้ความหมายอย่างชัดเจนว่า climate หมายถึง ลักษณะภูมิอากาศของภูมิประเทศ ส่วน weather คือ ลักษณะอากาศขณะหนึ่ง | climatic | (adj) เกี่ยวกับภูมิประเทศ, เกี่ยวกับอากาศ | community trademark | (n) การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าในประเทศกลุ่มสมาชิกยุโรป | Council of Ministers | "คณะมนตรีบริหาร" เป็นชื่อเรียกรัฐบาลระดับแคว้น รัฐ หรือภูมิภาค คำนี้ปรากฎในบางประเทศที่ใช้ระบอบการปกครองแบบสหพันธรัฐ หัวหน้าคณะมนตรีบริหารมักมีชื่อตำแหน่งว่า "มุขมนตรี" | cross-border | (adj) เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ข้ามพรมแดนระหว่าง 2 ประเทศ, ระหว่างประเทศ, ที่ข้ามประเทศ, ที่ข้ามพรมแดน (ใช้นำหน้านามเท่านั้น) | Cumberland | [คัม-บา-ลัน] (name) คัมบาลันด์ เป็นชื่ออดีตเขตชนบทในนอร์ทเวสต์อิงแลนด์ของประเทศอังกฤษ | cyber security | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | Daphnia magna | (n) ไรแดงเทศ, ไรน้ำจืด | debt service ratio | สัดส่วนภาระหนี้ต่างประเทศต่อรายได้จากการส่งออกสินค้าและบริการ | demonym | คำที่ใช้เรียกผู้คนในประเทศหรือท้องถิ่นนั้นๆ | Dominion | (รัฐศาสตร์) รัฐอธิราช เป็นประเทศเอกราชซึ่งยอมรับกษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐ | exotic | (n, adj) สิ่งที่มาจากต่างประเทศ (n) เกี่ยวกับ หรือมาจากต่างประเทศ (adj) -ผิดธรรมดา-สิ่งผิดธรรมดา exoticall (adv), See also: foreign, strane, unfamiliar, outside, external, fascinating, intriguing, Syn. adj. alien | FCO | สำนักงานต่างประเทศและเครือจักรภพ | foreign correspondent | (n, phrase) ผู้สื่อข่าวต่างประเทศ | Foreign Corrupt Practices Act | (n, uniq) รัฐบัญญัติว่าด้วยพฤติกรรมการคอร์รัปชั่นในต่างประเทศ, See also: FCPA | Frankfurt | (uniq) ชื่อเมืองในประเทศเยอรมัน | g8 | (org) กลุ่ม 8 ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก, See also: group of 8 | geoinformation | (n) ภูมิสารสนเทศ | Girls' Generation | [เกิล เจนเนอเรชัน] (n, คำเฉพาะ) ศิลปินกลุ่มหญิงที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในวงการเพลงเกาหลี มีผลงานออมามากมาย เริ่มต้น Debut ในกลางปี 2007 ด้วยเพลงเปิดตัว Into the new world ด้วยน้ำเสียงที่เข็มแข็ง ท่าเต้นทรงพลัง ทำให้ค่อยๆได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงแรก โดนกระแสต่อต้านมากมาย แต่พวกเธอทั้ง 9 ก็ สามารถพิสูจน์ให้เห็นถึงความสามารถและความตั้งใจจริง จนกระทั่ง มีอัลบั้มออกมามากมาย ปี2007 อัลบั้ม Girls' Generation ปี2008 อัลบั้ม Baby Baby (Repackage) ปี 2009 มินิอัลบั้มที่ 1 Gee ซึ่งอัลบั้มนี้โด่งดังมาก เพลง Gee ขึ้นอันดับหนึ่งของรายการ Music Bank 9 สับดาห์ซ้อน ในปีเดียวกัน ได้ออกมินิอัลบั้มที่ 2 Genie ได้รับความนิยมมากเช่นกัน ปี 2010 อัลบั้ม Oh! Run Devik Run และล่าสุด Hoot ซึ่งยังได้รับความนิยมอย่างมากเช่นกัน มีคอมเสริตเดี่ยวในหลายๆประเทศแถบเอเชีย เช่น เกาหลี จีน ฮ่องกง ญี่ปุ่น ซึ่งกระแสตอบรับดีมาก | global positioning system | (n) GPS (global positioning system) จีพีเอส (ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูลตำแหน่งโลก คือ จีพีเอส ที่ทำให้เราทราบค่าตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของโลก โดยใช้อุปกรณ์รับสัญญาณคือ อุปกรณ์จีพีเอส ดาวเทียมกำหนดตำแหน่งบนโลก มีอยู่สามค่ายคือ 1. NAVSTAR เป็นของประเทศอเมริกา 2. GLONASS เป็นของประเทศรัสเซีย 3. GALILEO เป็นของยุโรป แต่ที่เราใช้สัญญาณในปัจจุบันด้วย จีพีเอสที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดนั้นใช้ของ NAVSTAR แต่เรานิยมเรียกของค่ายนี้ว่า ดาวเทียมจีพีเอส | googleplex | สำนักงานใหญ่ของบริษัท Google, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่ 1600 Amphitheatre Pkwy, Mountain View, CA 94043, United States | Halloweenorexia | (n, slang) ภาวะการรับประทานอาหารที่ผิดปกติ โดยมักจะเกิดขึ้นกับผู้หญิงที่ยอมอดอาหารเพื่อที่จะใส่ชุดสวย ๆ สำหรับเทศกาลฮัลโลวีน, See also: halloween | heavily indebted poor countries | (uniq) ประเทศยากจนที่มีหนี้สูง | heptathlon | (n) สัตตกรีฑา (สำหรับการแข่งขันโอลิมปิคฤดูร้อนปี2551 ที่ประเทศจีน เป็นการแข่งขันกีฬา 7 ประเภทสำหรับผู้หญิง ได้แก่ วิ่งข้ามรั้ว 100 เมตร กระโดดสูง ทุ่มน้ำหนัก วิ่ง 200 เมตร กระโดดไกล พุ่งแหลน และวิ่ง 800 เมตร) | hit the road | (slang) หนีหัวซุกหัวซุน เช่น นายกอภิสิทธิ์ ตอกกลับนายใจล์เรื่องการหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในการสัมมนา ที่ oxford ประเทศอังกฤษว่า : If you are not hit the road , why do you stand here ? | humvee | (n) ยานพาหนะลำเลียงพล คล่องตัวสูง ขับเคลื่อนสี่ล้อ ของประเทศสหรัฐอเมริกา | humvee | (n) (n ) ยานพาหนะลำเลียงพล คล่องตัวสูง ขับเคลื่อนสี่ล้อ ของกองทัพประเทศสหรัฐอเมริกา Image: | humvee | (n) (n ) ยานพาหนะลำเลียงพล คล่องตัวสูง ขับเคลื่อนสี่ล้อ ของกองทัพประเทศสหรัฐอเมริกา Image: |
| つんでれ;ツンデレ | [つんでれ, tsundere] (adj) อาการที่แสดงออกทางบุคลิกภาพทีแรกเป็นแบบ เย็นชา หรือกระทั่ง โหดร้าย (คือคำว่า ツンツン tsun tsun) ต่อใครคนหนึ่ง แต่ภายหลังก็เปลี่ยนเป็นอ่อนโยน (คือคำว่า デレデレdere dere) เป็นคำที่เริ่มแรกใช้ในการ์ตูน, anime ในประเทศญี่ปุ่น ก่อนจะขยายวงกว้างเป็นที่เข้าใจกันแพร่หลายมากขึ้น | スイス | [すいす, suisu] (n) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ | トマト | [とまと, tomato] (n) มะเขือเทศ | 万国 | [ばんこく] (n) ทุกๆ ประเทศ, ทั้งโลก | 中国 | [ちゅうごく, chuugoku] (n) ภูมิภาคหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น บริเวณใต้หรือตะวันตกสุดของเกาะฮอนชู ประกอบด้วยจังหวัดโอกายามา ฮิโรชิมา ทดโทริ ชิมะเนะ และยะมะกูจิ | 中央銀行 | [ちゅうおうぎんこう, chuuouginkou] (n) ธนาคารกลาง เป็นเรียกรวมหมายถึงธนาคารกลางของประเทศต่างๆ, See also: 日本銀行 | 内地 | [ないち, naichi] (n) ภายในประเทศ, Ant. 外地 | 労働人口 | [ろうどうじんこう, roudoujinkou] (n) จำนวนแรงงานในประเทศ | 北朝鮮 | [きたちょうせん, kitachousen] (n, name) ประเทศเกาหลีเหนือ | 国内 | [こくない, kokunai] (n) ภายในประเทศ | 国防 | [こくぼう, kokubou] (n) ป้องกันประเทศ | 国際通貨基金 | [こくさいつうかききん, kokusaitsuukakikin] (n) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF = International Monetary Fund) | 夏祭り | [なつまつり, natsumatsuri] (n) เทศกาลฤดูร้อน | 外相 | [がいしょう, gaishou] (n) รัฐมนตรีต่างประเทศ | 官邸 | [かんてい, kantei] (n) ทำเนียบ, บ้านพักอย่างเป็นทางการของผู้นำประเทศ | 小数 | [しょうすう, shousuu] (n) เลขทศนิยม, See also: 有限小数, 循環小数 | 常任理事国 | [じょうにんりじこく, jouninrijikoku] (n) ประเทศสมาชิกถาวรประจำคณะมนตรีความมั่นคง | 景色 | [けしき, keshiki] (n) ทิวทัศน์, สภาพภูมิประเทศ | 東北大学 | [tohoku daigaku, tohoku daigaku] (n, uniq) มหาวิทยาลัยโตโฮกุ ตั้งอยู่ที่เมืองเซนได ประเทศญี่ปุ่น เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นเป็นแห่งที่สามของประเทศญี่ปุ่น | 海外 | [かいがい, kaigai] (n) ต่างประเทศ | 祭り | [まつり, matsuri] (n) เทศกาล, งานฉลอง | 米国 | [べいこく, beikoku] (n) ประเทศสหรัฐอเมริกา, Syn. アメリカ合衆国, アメリカ | 花見 | [はなみ, hanami] การชมดอกไม้ ในญี่ปุ่นจะมีช่วงเทศกาลชมดอกซากุระบาน ในฤดูใบไม้ผลิ ช่วงประมาณเดือนมีนาคมและเมษายน | 薩摩芋 | [さつまいも, satsumaimo] (n) มันเทศ | 邦人 | [ほうじん, houjin] (n) คนญี่ปุ่น มักใช้กับคนญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศ | 韓国 | [かんこく, kankoku] (n) ประเทศเกาหลีใต้ | 首脳会談 | [しゅのうかいだん, shunoukaidan] (vt) การประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศ | 駝鳥 | [だちょう, dachou] (n) นกกระจอกเทศ |
| 開発途上国 | [かいはつとじょうこく, kaihatsutojoukoku] (n) ประเทศกำลังพัฒนา | 外務省 | [がいむしょう, gaimushou] (n) กระทรวงการต่างประเทศ | 小数点 | [しょうすうてん, shousuuten] (n) จุดทศนิยม | 小数点 | [しょうすうてん, shousuuten] (n) จุดทศนิยม | 国防省 | [こくぼうしょう, kokuboushou] (n) กระทรวงการต่างประเทศ, See also: R. กระทรวง | 外務省 | [がいむしょう, gaimushou] (n) กระทรวงการต่างประเทศ | 食糧 | [しょくりょう, shokuryou] (n) อาหารหลักของประเทศ, เสบียงอาหาร, See also: S. 食料 | 国際法 | [こくさいほう, kokusaihou] กฎหมายระหว่างประเทศ | 駐在員 | [ちゅうざいいん, chuuzaiin] (n) ผู้มาประจำการจากต่างประเทศ | 現地駐在員 | [げんちちゅうざいいん, genchichuuzaiin] (n) ผู้มาประจำการในประเทศ | 駐在員 | [ちゅうざいいん, chuuzaiin] ผู้มาประจำการจากต่างประเทศ | todai | [とうだい, toudai] (n) มหาวิทยาลัยโตเกียว (เป็นชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งของมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น) | 留学 | [りゅうがく, ryuugaku] ศึกษาต่อต่างประเทศ | 渡航 | [とこう, tokou] การข้ามน้ำข้ามทะเลไปต่างประเทศ | 市制 | [しせい, shisei] เทศบาล, นครบาล, เมือง | chocobo | [โจโคโบะ] (n) นกพันธุ์ขนาดใหญ่ในเทพนิยายกรีก โบร๊านโบราณ ! ลักษณะคล้ายกับนกกระจอกเทศแต่คอสั้นและหัวใหญ่ทั่วไปมักมีสีเหลือง นิสัยขี้กลัว ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง นกชนิดนี้เป็นสัตว์สังคม | 七夕祭 | [たなばたまつり, tanabatamatsuri] เทศกาลทานาบาตะ (เทศกาลดวงดาว) | bis | [たなばたまつり, bis] (abbrev) Bank for International Settlements ธนาคารเพื่อการชำระหนี้ระหว่างประเทศ หรือบีส | 漫画 | [まんが, manga] (n) หนังสือการ์ตูนใช้เรียกเฉพาะในรูปแบบของประเทศญี่ปุ่น | orientation | [オリエンテーション, oriente^shon] ปฐมนิเทศ | 風景 | [ふうけい, fuukei] (n) (ซี'เนอรี) n. ทิวทัศน์, ทัศนียภาพ, ภาพภูมิประเทศ, ฉากทั้งหลาย, สิ่งแวดล้อม | 知識工学 | [ちしきこうがく, chishikikougaku] (n) วิศวกรรมข้อมูลความรู้ วิศวกรรมสารสนเทศ | เรอกุโตะ | [ちしきこうがく] (n, vi, vt, modal, ver) เลิกกันในฉบับ ภาษา ประเทศ โอซาว่า, See also: S. เรกุโตะ | 日本 | [にほん, nihon] (n) ประเทศญี่ปุ่น | 再入国許可書 | [さいにゅうこくきょうかしょ, sainyuukokukyoukasho] (n) วีซ่าหรือใบอนุญาตให้เข้าประเทศได้อีกครั้ง | 再入国許可 | [さいにゅうこくきょか, sainyuukokukyoka] (n) การอนุญาตให้เข้าประเทศได้อีกครั้ง | 泰 | [たい, tai] (n) ปลอดภัย ; สงบ ; สันติ ประเทศไทย | 追放 | [ついほう, tsuihou] (n) การเนรเทศ, การขับไล่ | 異国情緒 | [いこくじょうちょ, ikokujoucho] (n) ความชอบของต่างประเทศ | 七味唐辛子 | [しちみとうがらし, shichimitougarashi] (n) เครื่องปรุงชนิดผงมีส่วนผสมจากเครื่องเทศ7ชนิด | 人 | [じん, jin] (n) ชาว คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่าสัญชาติ) | 人 | [じん, jin] (n) ชาว, คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่าสัญชาติ) | 人 | [じん, jin, jin , jin] (n) ชาว, คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่า "สัญชาติ") | 国 | [くに, kuni, kuni , kuni] (n) ประเทศ | 北海道 | [ほっかいどう, hokkaidou] (n, name) ฮอกไกโด(ชื่อจังหวัด เป็นจังหวัดที่อยู่ทางเหนือสุดของประเทศญีุ่ปุ่น และเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น มีเนื้อที่22เปอร์ของเป็นเทศญี่ปุ่น) | 雪祭り | [ゆきまつり, yukimatsuri] (n, name) เทศกาลหิมะ(สำหรับในประเทศญี่ปุ่นเทศกาลหิมะชื่อดังจะจัดขึ้นทุกปีที่เมืองซัปโปโร เรียกว่า "เทศกาลหิมะซัปโปโร" 札幌雪祭り | 地方自治法 | [ゆきまつり, chihoujichi hou] พระราชญัติว่าด้วยการปกครองตนเองของท้องถิ่น(พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองท้องถิ่น ประเภทต่างๆ เช่น จังหวัด เทศบาล และบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่นเหล่านั้นเป็นต้น) | 町内会 | [ちょうないかい, chounaikai] สมาคมของประชาชนที่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน(สมาคมแห่งนี้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกันแล้ว โดยทั่วไปแล้วทุกคนต้องเข้าร่วมและต้องจ่ายค่าสมาชิก โดยที่สมาคมจะเป็นคนกำหนดกฏเกณฑ์ภายในชุมชนแห่งนั้นเช่นการกำหนดสถานที่ิทิ้งขยะ และทำหน้าที่กระจายข่าวสารภายในชุมชน สมาคมแบบนี้จะมีอยู่ในทุกชุมชนทั่วประเทศญี่ปุ่น หากเทียบกับประเทศไทย ก็ให้นึกถึง "คณะกรรมการชุมชน" ก็น่าจะเทียบเคียงกันได้) | 一部事業組合 | [いちぶじぎょうくみあい, ichibujigyoukumiai] (n, name) สหการ (เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ที่เกิดจากการรวมตัวกันขององค์กรปกครองท้องถิ่นมากกว่าหนึ่งแห่งในการทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น สหการแข่งม้า ก็เป็นการรวมตัวขององค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อจัดการแข่งม้าและหารายได้เข้าสหการ จากนั้นสหการก็จะนำรายได้ที่เข้าสหการ นำไปแบ่งให้แก่เทศบาลหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกของสหการ | 国際経済 | [こくさいけいざい, kokusaikeizai] (n) เศรษฐกิจระหว่างประเทศ | ブラジル | [ぶらじる, burajiru] (n) ประเทศบราซิล | タイ | [たい, tai] (adv, name) ประเทศไทย | 暹羅 | [しゃむ、シャム, shamu , shamu] (n) สยาม (ชื่อเดิมของประเทศไทย) | 市役所 | [しやくしょ, shiyakusho] ที่ทำการเทศบาลเมือง, สำนักงานเขต | 日本感染症学会 | [にほんかんせんしょうがっかい, nihonkansenshougakkai] (n, name, uniq) สมาคมป้องกันโรคติดต่อประเทศญี่ปุ่่น the Japanese Association for Infectious Diseases | 為替予約 | [かわせよやく, kawaseyoyaku] (n) สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ | 自国 | [じこく, jikoku] (n) ประเทศบ้านเกิด |
| 国 | [くに, kuni] TH: ประเทศ EN: country | 時差 | [じさ, jisa] TH: ความต่างของเวลาระหว่างประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่ง EN: time difference | 海外 | [かいがい, kaigai] TH: ต่างประเทศ EN: foreign | 海外 | [かいがい, kaigai] TH: ข้ามประเทศ | タイ | [たい, tai] TH: ประเทศไทย EN: thailand | 渉外部 | [しょうがいぶ, shougaibu] TH: แผนกวิเทศสัมพันธ์ EN: liaison department | 全国 | [ぜんこく, zenkoku] TH: ทั่วประเทศ EN: country-wide | 全国 | [ぜんこく, zenkoku] TH: ทั้งประเทศ EN: whole country | 日本 | [にっぽん, nihon] TH: ประเทศญี่ปุ่น EN: Japan | 出国 | [しゅっこく, shukkoku] TH: การเดินทางออกจากประเทศ EN: exit from a country | 領事館 | [りょうじかん, ryoujikan] TH: สถานกงศุลที่ทำหน้าที่ดูแลเรื่องของประเทศตนในต่างแดน EN: consulate | 説く | [とく, toku] TH: เทศนา EN: to preach | 外米 | [がいまい, gaimai] TH: ข้าวนำเข้าจากต่างประเทศ EN: foreign rice | 東京 | [とうきょう, toukyou] TH: โตเกียว(เมืองหลวงปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น) EN: Tokyo (pl) | 外交 | [がいこう, gaikou] TH: การฑูตระหว่างประเทศ EN: diplomacy | 南アルプス | [みなみあるぷす, minamiarupusu] TH: เทือกเขาแอลป์ใต้(ในประเทศญี่ปุ่น) EN: southern alps (of Japan) | 都市 | [とし, toshi] TH: เทศบาลนคร EN: municipal | タイ国 | [たいこく, taikoku] TH: ชื่อเรียกประเทศไทย, เมืองไทย EN: Thailand | 国外 | [こくがい, kokugai] TH: นอกประเทศ EN: outside the country | 日本 | [にほん, nihon] TH: ประเทศญี่ปุ่น EN: Japan | 一国 | [いっこく, ikkoku] TH: ทั้งประเทศ EN: whole country | 国々 | [くにぐに, kuniguni] TH: บรรดาประเทศต่าง ๆ EN: countries | 米 | [べい, bei] TH: คำเรียกประเทศอเมริกา EN: Bei (pl) |
| Ausland | (n) |das| ต่างประเทศ | Bundesrepublik | (n) |die| ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ย่อมาจาก Bundesrepublik Deutschland | Deutschland | ประเทศเยอรมนี | Land | (n) |das, pl. Länder| ประเทศ | Länder | (n) |pl.| ประเทศต่างๆ, See also: Land | Russland | ประเทศรัสเซีย | aus | (präp) จาก เช่น aus Thailand จากประเทศไทย, aus Metall จากโลหะ | besonders | โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เช่น Ich esse Tomaten besonders gern. ฉันชอบทานมะเขือเทศเป็นพิเศษ | international | (adj) ระหว่างประเทศ, นานาชาติ เช่น internationaler Flughafen สนามบินนานาชาติ | Gewürz | (n) |das, pl. Gewürze| เครื่องเทศที่ใช้ไส่ในอาหาร เช่น พริกไทย อบเชย | Landkarte | (n) |die, pl. Landkarten| แผนที่, แผนที่ประเทศ | Gelände | (n) |das, pl. Gelände| ภูมิประเทศ เช่น ein bergiges Gelände ภูมิประเทศที่เป็นภูเขา | ausländisch | (adj, adv) ต่างประเทศ, ต่างแดน เช่น ausländische Firmen บริษัทของต่างประเทศ | Gipfel | (n) |der, pl. Gipfel| การเจรจาระหว่างผู้นำชั้นสูงระดับประเทศ เช่น Gipfeltreffen | Herz | (n) |das, nur Sg.| ใจกลาง, ศูนย์กลาง เช่น Bangkok liegt im Herzen Thailands. กรุงเทพตั้งอยู่ตรงใจกลางของประเทศไทย | sich an etw./jmn. anpassen | (vt) ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์หรือผู้คน เช่น Er hat kein Problem, sich an das Leben in Deutschland anzupassen. เขาไม่มีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับชีวิตในประเทศเยอรมนี | anpflanzen | (vt) |pflanzte an, hat angepflanzt| ปลูกต้นไม้ เช่น Mein Nachbar hat viele Rosen und Tomaten angepflanzt. เพื่อนบ้านของฉันปลูกต้นกุหลาบและมะเขือเทศมากมาย | thailändisch | (adj) ที่เกี่ยวกับประเทศไทย เช่น die thailändische Nationalität สัญชาติไทย, See also: Thailand | Vereinigte Staaten von Amerika | (n, uniq) |pl.| ประเทศสหรัฐอเมริกา | China | (uniq) ประเทศจีน, See also: Related: chinesisch | Frankreich | (uniq) ประเทศฝรั่งเศส | Thailand | (uniq) ประเทศไทย, See also: Related: thailändisch | Japan | (uniq) ประเทศญี่ปุ่น, See also: Related: japanisch | Schweiz | (uniq) |die, nur Sg.| ประเทศสวิสเซอร์แลนด์, See also: Related: schweizerisch | Italien | (uniq) ประเทศอิตาลี, See also: Related: italienisch | Elend | (n) |das, nur Sg.| ความเดือดร้อน, ความลำบาก, ความเสียใจ, ความทุกข์ เช่น das Elend der Kinder in der dritten Welt = ความยากจน, ความลำบากของเด็กๆในประเทศโลกที่สาม | Bodenschätze | (n) |nur Pl.| ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในดิน เช่น Thailand ist reich an Bodenschätze. ประเทศไทยร่ำรวยทรัพย์สินในดิน | Fremdsprache | (n) |die, pl. Fremdsprachen| ภาษาต่างประเทศ, ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาแม่, See also: A. die Muttersprache | verblüffen | (vi, vt) |verblüffte, hat verblüfft| ทำให้ประหลาดใจ โดยที่เขาไม่ได้คาดคิดมาก่อน เช่น Ich habe Mama und Papa mit Informationen über Länder und Leute in Afrika verblüfft. พ่อและแม่ประหลาดใจที่ผมรู้เรื่องเกี่ยวกับประเทศและผู้คนในทวีปแอฟริกา, Syn. überraschen | in | (prep) |+D เมื่อกริยาไม่บ่งอาการเคลื่อนไหว| ที่ เช่น Der Zug hält in Spanien. รถไฟจอดที่สเปน (ชื่อประเทศส่วนใหญ่ไม่มีคำนำหน้านามหรือ Artikel) | zerstören | (vt) |zerstörte, hat zerstört| ทำลาย, ทำให้เสียหายพินาศ เช่น Der zweite Weltkrieg hat Deutschland total zerstört. สงครามโลกครั้งที่สองได้ทำความเสียหายแก่ประเทศเยอรมนีเป็นอย่างมาก | wieviele | |+ นามนับได้| เท่าไหร่ เช่น Wieviele Länder haben Sie schon besucht? คุณไปเที่ยวมาแล้วกี่ประเทศ, See also: Related: wieviel | nicht | (adv) ไม่ (ใช้บ่งการปฏิเสธของประโยค) เช่น Thailand ist nicht in Europa. ประเทศไทยไม่ได้อยู่ในทวีปยุโรป | Marker | (n) |der, pl. Marker| ปากกาเน้นข้อความ (ซึ่งถ้าได้ยินคนเยอรมันเรียกหา Edding ก็หมายถึงสิ่งนี้เพราะ Edding เป็นยี่ห้อปากกาเน้นข้อความที่เริ่มคิดค้นใช้ที่ประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ.1960 โดย Carl-Wilhelm Edding และ Volker Detlef Ledermann) | Autobahn | (n) |die, pl. Autobahnen| ทางด่วน, ถนนแบบมีสองฝั่ง รถสวนกันวิ่งคนละฝั่ง ไม่มีสี่แยกไฟแดงหรือรถเลี้ยวตัด ทางแยกออก หรือแยกเข้า จะทำเป็นทางยกระดับ หรือไม่ก็ลอดใต้ดินไป รถวิ่งได้ตลอดไม่มีหยุด เริ่มสร้างครั้งแรกในประเทศเยอรมนี ปัจจุบันในประเทศอื่นๆ เรียกกันด้วยชื่อต่างๆ กันไป เช่น Express way (ทางด่วน), Motorway (ทางสำหรับรถ), Freeway (แปลตรงตัวคือ ทางที่วิ่งแล้วไม่ต้องเสียตังค์), Tollway (แปลตรงตัวก็คือวิ่งแล้วต้องเสียต้งค์), highway, superhighway | Ostern | (n, uniq) |das, pl. Ostern, ส่วนใหญ่ใช้เป็น Pl.| เทศกาลอีสเตอร์ มีความสำคัญทางศาสนาคริสต์ กล่าวคือ เป็นเทศกาลที่ชาวคริสต์ระลึกถึงการฟื้นคืนชีพของพระเยซู นอกจากนี้ Ostern ยังจัดเป็นเทศกาลฉลองความเขียวชอุ่มและความอุดุมสมบูรณ์ที่ฤดูใบไม้ผลินำมาด้วย | innerhalb | (präp) |+ etw. (D)| ภายใน(สิ่งใดสิ่งหนึ่ง) เช่น innerhalb des Systems ภายในระบบนี้, innerhalb des Landes ภายในประเทศ | Staat | (n) |der, pl. Staaten| รัฐ, ประเทศ, มลรัฐ (หรือชุมนุมชนที่มีการปกครองเดียวกัน) เช่น Die Europäische Gemeinschaft (EG) besteht aus zwölf Staaten. | England | (uniq) |คำนามเฉพาะ ถูกใช้ไม่ระบุ Artikel| ประเทศอังกฤษ, See also: Related: englisch | Bioinformatik | (n) |die| ชีวสารสนเทศศาสตร์ | Taktlosigkeit begehen | (phrase) ทำเรื่องโง่เขลา, ทำเรื่องที่ไม่ถูกกาละเทศะ, ไม่รอบคอบ, ไม่ระวัง, เลินเล่อ | Jahrzehnt | (n) |das, pl. Jahrzehnte| ทศวรรษ, รอบ 10 ปี เช่น Was er sagte, war im Irak Jahrzehnte Gesetz. | Staatvertrag | (n) |der, pl. Staatverträge| สัญญาระหว่างประเทศ, สนธิสัญญา | Adventskalender | (n) |der, pl. Adventskalender| ปฏิทินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของการมาจุติของพระเยซู เริ่มเฉลิมกันในเดือนธันวาคม ซึ่งผู้ใหญ่มักให้เป็นของขวัญแก่เด็กๆ ปฏิทินนี้ประกอบด้วยแผ่นกระดาษสองแผ่นซ้อนทับกัน มีช่องที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อให้เป็นประตูเปิดได้จากกระดาษชั้นบน ประตูเหล่านี้มีตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 24 ธันวาคม ก่อนถึงวันคริสต์มาส ซึ่งแต่ละช่องจะบอกเล่าถึงเรื่องราวของการประสูติของพระเยซู และอาจมีขนม ของขวัญชิ้นเล็กๆซ่อนอยู่ด้วยก็ได้ | Außenminister | (n) |der, pl. Außenminister| รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ | Verbannung | (n) |die, pl. Verbannungen| การขับไล่, การเนรเทศ | Polen | (n, uniq) |die, nur Sg.| ประเทศโปแลนด์ เช่น Polen hat sich zum siebten Mal für die Endrunde einer FußballWeltmeisterschaft qualifiziert., Syn. die Republik Polen | Nationalstaat | (n) |der, pl. -staaten| ประเทศที่มีประชากรเพียงชนชาติเดียว, See also: A. Vielvölkerstaat | Vielvölkerstaat | (n) |der, pl. -staaten| ประเทศที่ประกอบไปด้วยประชากรหลากหลายชนเผ่า, See also: A. Nationalstaat | wohlhabend | (adj) ที่เจริญรุ่งเรือง, ที่ร่ำรวย เช่น die wohlhabenden Staaten ประเทศที่เจริญแล้ว |
| auswertig | (adj) ต่างประเทศ das auswärtige Amt กระทรวงการต่างประเทศ | blitghty | (n, slang) ประเทศอังกฤษ | das Entwicklungsland, die Entwicklungsländer | (n) ประเทศกำลังพัฒนา | glühwein | (n) ไวน์ผสมเครื่องเทศ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากไวน์แดงอุ่นให้ร้อนผสมเครื่องเทศและผลไม้เช่นส้มฝานบาง เสิร์ฟร้อนหรืออุ่น นิยมดื่มกันระหว่างฤดูหนาวในหลายประเทศโดยเฉพาะในเยอรมนีและประเทศต่างๆ ในยุโรป (ข้อมูลจาก wikipedia.org) | Margrave | (n) ขุนนางระดับมาร์คกราฟ (ของเยอรมัน) หรือขุนนางระดับพระยาประเทศราช (ของไทย) |
| Etats-Unis | (n) |pl.| ประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น Je vais aux Etats-Unis. ฉันไปอเมริกา, See also: adj. americain | Angleterre | (n) |f| ประเทศอังกฤษ, See also: anglais | Allemagne | (n) |f| ประเทศเยอรมนี, See also: allemand | Danemark | |m| ประเทศเดนมาร์ก, See also: danois | Espagne | |f| ประเทศสเปน, See also: espagnol | Italie | |f| ประเทศอิตาลี, See also: italien | Autriche | |f| ประเทศออสเตรีย, See also: autrichien | Tunisie | (n) |f| ประเทศตูนีเซีย, See also: tunesien | Russie | (n) |f| ประเทศรัสเซีย, See also: russe | Belgique | (n) |f| ประเทศเบลเยียม, See also: belge | Suisse | (n) |f| ประเทศสวิตเซอร์แลนด์, See also: suisse Image: | Thaïlande | (n) |f| ประเทศไทย, See also: thaïlandais Image: | anglais | (adj) |-aise| ที่เกี่ยวกับประเทศอังกฤษ | allemand | (adj) |-ande| ที่เกี่ยวกับประเทศเยอรมนี | danois | (adj) |-oise| ที่เกี่ยวกับประเทศเดนมาร์ก | espagnol | (adj) |-e| ที่เกี่ยวกับประเทศสเปน | italien | (adj) |-ienne| ที่เกี่ยวกับประเทศอิตาลี | tunisien | (adj) |-ienne| ที่เกี่ยวกับประเทศตูนีเซีย | autrichien | (adj) |-ienne| ที่เกี่ยวกับประเทศออสเตรีย | russe | (adj) |ใช้รูปเดียวกันทั้งที่ขยายนามเพศชายและหญิง|ที่เกี่ยวกับประเทศรัสเซีย | belge | (adj) |ใช้รูปเดียวกันทั้งที่ขยายนามเพศชายและหญิง| ที่เกี่ยวกับประเทศเบลเยียม | suisse | (adj) |ใช้รูปเดียวกันทั้งที่ขยายนามเพศชายและหญิง| ที่เกี่ยวกับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ | pays | (n) |m, pl. pays| ประเทศ | France | (n) |f| ประเทศฝรั่งเศส | thaïlandais | (adj) |-aise| ที่เกี่ยวกับประเทศไทย | aller | (vi) |je vais, tu vas, il va, nous allons, vous avez, ils vont| (1) ไป เช่น aller à pied ไปด้วยเท้า, aller à l'étranger ไปต่างประเทศ (2) ใช้เป็นกิริยาช่วยในประโยคที่บ่งอนาคตอันใกล้รูป futur proche โดย aller + infinitif เช่น Je ne vais pas sortir ce soir. เย็นนี้ฉันจะไม่ออกจากบ้าน (3) ในประโยคทักทาย แปลว่า สบายดีหรือเป็นเช่นใด เช่น Comment vas-tu? = (Comment) ca va? เธอสบายดีไหม หรือ เธอเป็นอย่างไรบ้าง | monnaie étrangère | (n) la, = สกุลเงินต่างประเทศ | en | (prep) ที่ (ใช้ตอบคำถาม ไปที่ไหน หรือ อยู่ที่ไหน) เช่น Le Chili, c'est en Amérique. ประเทศชิลีอยู่ในทวีปอเมริกา, Elle va à la fac chaque jour. เธอไปที่มหาวิทยาลัยทุกวัน | en | (prep) ที่ (บุพบทระบุสถานที่ ส่วนใหญ่ตามด้วยชื่อประเทศ) เช่น Je viens assez souvent en France. ผมไปฝรั่งเศสค่อนข้างบ่อย | en | (prep) ใน (บุพบทระบุสถานที่ ส่วนใหญ่ตามด้วยชื่อประเทศ) เช่น Mon fils habite en France depuis des années. ลูกชายของฉันอยู่ที่ฝรั่งเศสมาหลายปี | tomate | (n) |f, pl. tomates| มะเขือเทศ | joconde | (n) |f| ชื่อในภาษาฝรั่งเศสของภาพวาดเหมือนสตรีคนหนึ่ง ที่คนทั่วไปเรียกภาพนี้ว่า Mona Lisa ผลงานของ Leonardo Da Vinci จิตรกรชื่อก้องชาวอิตาลี ปัจจุบันภาพนี้อยู่ที่พิพิธภัณฑ์ Louvre กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส | calendrier de l'Avent | (n) |m| ปฏิทินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของการมาจุติของพระเยซู เริ่มเฉลิมกันในเดือนธันวาคม ซึ่งผู้ใหญ่มักให้เป็นของขวัญแก่เด็กๆ ปฏิทินนี้ประกอบด้วยแผ่นกระดาษสองแผ่นซ้อนทับกัน มีช่องที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อให้เป็นประตูเปิดได้จากกระดาษชั้นบน ประตูเหล่านี้มีตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 24 ธันวาคม ก่อนถึงวันคริสต์มาส ซึ่งแต่ละช่องจะบอกเล่าถึงเรื่องราวของการประสูติของพระเยซู และอาจมีขนม ของขวัญชิ้นเล็กๆซ่อนอยู่ด้วยก็ได้ | carte | (n) |f| การ์ด, บัตร, แผนที่(ประเทศ), ไพ่ |
| Benin [ geogr. ] | (n) ประเทศบนฝั่งทะเลทางด้านตะวันตกของแอฟริกา ในอดีตเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |