ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: กถา, -กถา- |
กถา | (n) words, See also: statement, speech, talk, mention, Syn. ถ้อยคำ, เรื่อง, คำอธิบาย, คำกล่าว, Example: พระเป็นผู้กล่าวกถาในงานทำบุญบ้าน | กถามุข | (n) preface, See also: introduction, foreword, Syn. ความนำ, คำนำ, Example: หลวงพ่อท่านมักจะเขียนบทความเผยแพร่ความรู้ในทางที่ท่านถนัดเป็นต้นว่า กถามุข ปฎิจจสมุปบาท กหังปายา, Thai Definition: เบื้องต้นของเนื้อเรื่อง | ซักถาม | (v) question, See also: interrogate, inquire, ask, Syn. ไต่ถาม, ซักไซ้, Ant. ตอบ, Example: นักเรียนซักถามอาจารย์เรื่องการหักเหของแสงในน้ำ | ถากถาง | (v) lampoon, Syn. ค่อนว่า, Example: สมภพถากถางอดีตคู่หมั้นด้วยคำพูดที่เจ็บแสบ, Thai Definition: มีเจตนาว่าให้เจ็บใจ | ปาฐกถา | (n) speech, See also: sermon, lecture, Syn. คำปาฐกถา, Example: เมื่อกลับมาแล้วท่านให้พวกเราเที่ยวพูดปาฐกถาอภิปรายในแง่ต่างๆ แสดงถึงความสำคัญของเมืองสุโขทัยโบราณ, Count Unit: ครั้ง, คราว, Thai Definition: ถ้อยคำหรือเรื่องราวทางวิชาการที่กล่าวหรือบรรยายในที่ชุมนุมหรือในห้องเรียนขั้นอุดมศึกษา | ปาฐกถา | (v) lecture, See also: make a speech, Syn. บรรยาย, Example: นักวิชาการกำลังปาฐกถาเรื่องบทบาทของนักวิชาการต่อการบริหารประเทศ, Thai Definition: การกล่าวถ้อยคำหรือเรื่องราวทางวิชาการที่กล่าวหรือบรรยายในที่ชุมนุมหรือในห้องเรียนขั้นอุดมศึกษา, Notes: (บาลี) | ธรรมกถา | (n) gospel, See also: sermon, homily, religious discourse, Count Unit: บท, Thai Definition: การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อรรถกถา | (n) exegesis, See also: commentary, Example: เขาชอบอ่านอรรถกถาเหล่านั้นก่อนนอนทุกคืน, Thai Definition: คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก | ข้อซักถาม | (n) question, See also: query, Example: ฝ่ายบริหารของกทม.ได้มีการตอบชี้แจงข้อซักถามของสมาชิกสภากทม.ในทุกๆ ประเด็นจนมีความกระจ่างชัด, Thai Definition: คำถาม, ประเด็นหรือเรื่องที่ต้องการคำตอบ | พูดถากถาง | (v) say ironically, See also: say satirically, say sarcastically, Syn. พูดเหน็บแนม, Example: ผู้คนในซอยพูดถากถางหล่อนว่า ชอบแย่งสามีคนอื่น แต่เธอก็ไม่เคยโกรธ, Thai Definition: ค่อนว่า, หรือพูดมีเจตนาว่าให้เจ็บใจ | อารัมภกถา | (n) preface, See also: introduction, foreword, Syn. อารัมภบท, คำปรารภ, คำเริ่มต้น, คำนำ, บทนำ, Ant. คำลงท้าย, Example: เขาเริ่มอารัมภกถาคำปราศรัยของเขาด้วยภาษิตบทหนึ่ง | อรรถกถาจารย์ | (n) exegete, See also: commentator, Example: เขาเป็นเพียงอรรถกถาจารย์แต่งแก้และขยายความจากปรัชญาของเฮเกลเท่านั้น, Thai Definition: อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา | เยาะเย้ยถากถาง | (v) ridicule, See also: satirize, mock, jeer at, Syn. เย้ยหยัน, ค่อนขอด, แดกดัน, Example: ปรกติเขาชอบเยาะเย้ยถากถางผู้อื่นเสมอ |
| กถา | (กะ-) น. ถ้อยคำ, เรื่อง, คำอธิบาย, คำกล่าว. | กถามรรค | (-มัก) น. ลาดเลาแห่งกถา ได้แก่เรื่องที่แต่งตามอัตโนมัติของผู้แต่งว่าด้วยธรรมนั้น ๆ. | กถามรรคเทศนา | (-มักคะเทดสะหฺนา) น. เทศนาฝ่ายกถามรรค, คู่กับ สุตตันตเทศนา. | กถามุข | น. เบื้องต้นของเนื้อเรื่อง, ข้อความนำเรื่อง. | ขุดด้วยปากถากด้วยตา | ก. แสดงอาการเหยียดหยามทั้งด้วยวาจาและสายตา. | ซักถาม | ก. ถามและไล่เลียงให้ตอบ. | ถากถาง | ก. ค่อนว่า, มีเจตนาว่าให้เจ็บใจ. | ธรรมกถา | น. การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม. | ปาฐกถา | (-ถะกะถา) น. ถ้อยคำหรือเรื่องราวที่บรรยายในที่ชุมนุมชนเป็นต้น. | ปาฐกถา | (-ถะกะถา) ก. บรรยายเรื่องราวในที่ชุมนุมชนเป็นต้น. | สัมโมทนียกถา | (สำโมทะนียะกะถา) น. ถ้อยคำที่แสดงความชื่นชมยินดี เป็นที่ชุ่มชื่นใจแก่ผู้ฟังหรือผู้อ่าน. | อรรถกถา | (อัดถะกะถา) น. คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก. | อรรถกถาจารย์ | น. อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา. | อารัมภกถา, อารัมภบท | น. คำปรารภ, คำเริ่มต้น, คำนำ. | กรรมชวาต | (กำมะชะวาด) น. ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์ (ปฐมสมโพธิกถา), เขียนเป็น กรรมัชวาต ก็มี. | กระเห่อ | ก. เห่อ เช่น คนห่ามกระเห่อทำ อวดรู้ (พระนลคำหลวง อารัมภกถา). | กรุกกรัก | ว. เสียงดังกุกกัก เช่น ได้ยินเสียงกรุกกรักก็ทักถาม (ม. ร่ายยาว ชูชก). | กวะกวัก | (กฺวะกฺวัก) ก. กวัก เช่น กวะกวักคือกวักทักถาม (สรรพสิทธิ์). | แจ๋ว | ดีเยี่ยม เช่น ปาฐกถาวันนี้แจ๋ว. | ชีรณ-, ชีรณะ | (ชีระนะ-) ว. เก่า, แก่, ชำรุด, ยุ่ย, ย่อย, โบราณ เช่น ชีรณกถา ว่า นิทานโบราณ, ชีรณฎีกา ว่า ฎีกาโบราณ. | ซอกแซก | ก. ไปทั่วทุกแห่งทุกที่ที่ต้องการจะไปหรือที่คนอื่นไม่คิดจะไปด้วยความอยากรู้อยากเห็น ในความว่า ซอกแซกไป, เสาะค้นขึ้นมาถามในเรื่องที่ต้องการจะรู้หรือเรื่องที่คนอื่นไม่คิดจะถามด้วยความอยากรู้อยากเห็น ในความว่า ซอกแซกถาม. | ซัก ๒ | ก. ไล่เลียงให้กระจ่างแจ้ง เช่น ทนายซักพยาน ซักถาม. | ซักฟอก ๒ | ก. ซักถามให้ได้ความจะแจ้ง. | ฎีกา | ชื่อคัมภีร์หนังสือที่แก้หรืออธิบายคัมภีร์อรรถกถา | ตราชู | (ตฺรา-) น. เครื่องชั่งชนิดที่มีถาดชั่งห้อยอยู่ ๒ ข้างคันชั่งหรืออยู่ที่ปลายคาน ๒ ข้างของคันชั่ง ถาดหนึ่งสำหรับใส่ของที่จะชั่ง อีกถาดหนึ่งใส่ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน จนตุ้มน้ำหนักสมดุลกับของที่ชั่ง และคานอยู่ในระนาบ. | ตรีทศ | น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ไตรทศ ก็เรียก. | ติมิ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมิงคละ | (-คะละ) น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมินทะ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมิรปิงคละ | (ติมิระปิงคะละ) น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ไตรทศ | (-ทด) น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ตรีทศ ก็ว่า. | ถา ๑ | ก. ถลา, บินโฉบลงมา, เช่น นกถาไปเกาะกิ่งไม้ | ถาบ | ตบ, ตี, เช่น นกถาบปีก, ทาบ ก็ใช้. | ถามค้าน | ก. การที่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งซักถามพยาน เมื่อคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานได้ซักถามพยานเสร็จแล้ว, ซักค้าน ก็ใช้. | ถามติง | ก. การที่คู่ความฝ่ายที่อ้างพยานซักถามพยานอีกครั้งหนึ่ง เมื่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งถามค้านพยานเสร็จแล้ว. | ทุตวิลัมพิตมาลา | (ทุตะวิลำพิตะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ภ ภ ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นภา ภรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกภิปราย. | ธาตุ ๒ | ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาซึ่งว่าด้วยธาตุ เช่น ธาตุกถา ธาตุปาฐ. (ป., ส.) | บแรง, บ่แรง | ก. ไม่มีกำลัง, ไม่ไหว, เช่น มีลางสิ่งกินอันบ่แรงหลักถานเขา เนื้ออันบ่แรงนั้นกลัวเขา ก็แล่นไปเร้นที่ลับ (ไตรภูมิ). | ประชุม | ก. มารวมกันหรือเรียกให้มารวมกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, มาร่วมพบกันเพื่อปรึกษาหารือ, เช่น ประชุมกรรมการ, โดยปริยายใช้หมายถึงเอาสิ่งที่เป็นประเภทเดียวกันมารวมกัน เช่น ประชุมพงศาวดาร ประชุมปาฐกถา, บางทีใช้หมายความอย่างเดียวกับชุมนุม เช่น ประชุมพระบรมราชาธิบาย ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔. | ปาฐก | (ปาถก-) น. ผู้แสดงปาฐกถา. | มนิมนา, มนีมนา | (มะนิมมะนา, มะนีมมะนา) ว. เร็ว, ด่วน, ขมีขมัน, เช่น ก็มนิมนาการมาสู่สาลวัน (ปฐมสมโพธิกถา). | มหาติมิระ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ยังเลย | ใช้เป็นคำปฏิเสธกริยาที่ถูกถามอย่างสิ้นเชิง เช่น ถามว่า อ่านหรือยัง ตอบว่า ยังเลย. | ร้อยแก้ว | น. ความเรียงที่สละสลวยไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย เช่น ปฐมสมโพธิกถา, งานเขียนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่ร้อยกรอง. | ไล่ภูมิ | ก. ซักถามเพื่อสอบพื้นความรู้. | ว่าความ | ก. ดำเนินคดีหรือต่อสู้คดีในศาลอย่างทนายความ เช่น ทำคำฟ้อง คำให้การ ซักถามพยาน | สอบปากคำ | ก. ซักถามเพื่อให้บุคคลให้การโดยพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ เช่น สอบปากคำพยาน สอบปากคำผู้ต้องหา, กฎหมายใช้ว่า ถามปากคำ. | สอบปากเปล่า | ก. สอบโดยวิธีซักถามให้ตอบด้วยวาจา. | สอบพยาน | ก. ซักถามพยานเพื่อหาข้อเท็จจริง. | สะอึก | โดยปริยายหมายความว่า ชะงักงัน เช่น พอถูกถามปัญหาแทงใจดำเข้าก็สะอึกทันที. |
|
| | Frequently Asked Questions | คำถามที่ถูกถามบ่อย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Permanent magnet motor | มอเตอร์แม่เหล็กถาวร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Examination of witnesses | การซักถามพยาน [TU Subject Heading] | Nettiatthakath | เนตติอรรถกถา [TU Subject Heading] | Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] | Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] | Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | United Nations Security Council | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] | Bone, Nonexchangeable | กระดูกถาวร [การแพทย์] | alnico | แอลนิโค, โลหะผสมระหว่างอะลูมิเนียม นิกเกิล และโคบอลต์ ใช้ทำแม่เหล็กถาวรอย่างดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| - I have to ask you a question. - Sure. | - ผมอยากถามอะไรหน่อย Cool Runnings (1993) | You ask yourself why you make this? | ลูกถามตัวเองสิว่าลูกทำมันทำไม The Joy Luck Club (1993) | I see. "The only reality in the universe." Well, that's nice to know. | เข้าใจล่ะ ความเป็นจริง สิ่งเดียวที่นี่คือห้ามซักถาม Beneath the Planet of the Apes (1970) | Your Honor, I'd like permission to question this witness. | ผมขออนุญาตซักถามพยานคนนี้ครับ Oh, God! (1977) | Your Honor, I'd like permission to question this witness. | ผมขออนุญาตซักถามพยานคนนี้ครับ Oh, God! (1977) | Kaneda, you've always been a pain in the ass. | คาเนดะ แกชอบพูดจาถากถางแบบนี้เสมอเลย Akira (1988) | And now, I want to ask you a question. | ทีนี้ เรย์ คินเซลล่า ผมอยากถามคุณบ้าง Field of Dreams (1989) | I didn't really know till just now, but I think it's to ask you if you could do anything you wanted, if you could have a wish ... | ผมไม่รู้มาก่อนจนกระทั่งตอนนี้ แต่ผมอยากถามคุณว่า... ถ้าคุณสามารถทำอะไรก็ได้ ตามที่คุณต้องการ ถ้าคุณสามารถอธิษฐานได้ Field of Dreams (1989) | All inquiries should be forwarded to... | ข้อซักถามจะถูกส่งต่อไปยัง... The Jackal (1997) | It's about decent, hard-working Americans... falling through the cracks and getting the shaft... because their government cares more about the rights... of a bunch of people who aren't even citizens. | มันเกี่ยวข้องกับเกียรติยศ / คนอเมริกัน ที่ต้องทำงานหนัก เราต้องล้มเจ็บ / และยังถูกถากถาง... เพราะรัฐบาลของเรา / มัวแต่สนใจเรื่องสิทธิ... American History X (1998) | Why are you asking? | ทำไมลูกถามอย่างนั้นล่? Show Me Love (1998) | I'd like to ask some questions. | ผมอยากถามอะไรคุณหน่อย Brokedown Palace (1999) | Josie, I was wondering... | โจซี่... ฉันอยากถามว่า Never Been Kissed (1999) | - Could you ask Noel something for me, please? | ผมขอฝากถามโนเอลได้มั้ยครับ Unbreakable (2000) | I wanted to ask you a question. | ผมอยากถามคุณซักอย่าง Unbreakable (2000) | Okay. I just wanna ask you something, okay? | ฉันอยากถามอะไรคุณบางอย่าง Unbreakable (2000) | I just want to ask you something. | ผมแค่อยากถามอะไรคุณบางอย่าง Unbreakable (2000) | So, what are we gonna do about this? | -คุณอยากซักถามฉันหรอ? -ขอเวลาแค่สักแป๊บเดียว Valentine (2001) | I'd like to ask a couple of questions, Your Honor. | ผมอยากถาม อีกสัก 2-3 คำถามครับ ใต้เท้า Legally Blonde (2001) | I was gonna ask you the same thing. | ฉันก็อยากถามนายคำถามนั่นเหมือนกัน X-Ray (2001) | I wanted to ask you something because you're a doctor, right? | ฉันอยากถามบางอย่าง เพราะว่าคุณเป็นหมอใช่มั้ย? Punch-Drunk Love (2002) | -I want to ask you something. -Okay. | ผมอยากถามอะไรบางอย่าง / โอเค A Walk to Remember (2002) | We also need to make sure that the real Crabbe and Goyle can't burst in on us while we're interrogating Malfoy. | เราต้องแน่ใจว่า แครบกับกอยล์ตัวจริง ต้องไม่โผล่เข้ามา ตอนเรากำลังซักถามมัลฟอย Harry Potter and the Chamber of Secrets (2002) | Look, we have to ask you something. | คือเราอยากถามอะไรคุณหน่อยฮะ Harry Potter and the Chamber of Secrets (2002) | Yan, I want to ask you something | พี่ยาน ผมอยากถามพี่ Infernal Affairs (2002) | -Any questions so far? | - อยากถามอะไรมั้ย Mona Lisa Smile (2003) | I'm just asking if, after we had sex - if that's the way it went - would we take our clothes back off afterwards? | ผมแค่อยากถามว่า หลังจากที่เรามีเซ็กส์กัน ถ้ามันจะแบบนั้น... แล้วเราค่อยมาถอดกันอีกที หลังจากนั้นใช่มั้ย Hope Springs (2003) | Don't speak till you're spoken to. | อย่าพูด จนกว่าจะถูกถาม Girl with a Pearl Earring (2003) | How about twirlier than a party dress but seriously, it fucked with him. | ชั้นน่ะเวียนหัวกับคำถากถางของหล่อนๆนะยะ แล้วชั้นก็ได้เค้า Latter Days (2003) | They asked me if I would come and speak to that group and give them a kick off speech and launch this new task force with an environmental vision and I didn't have an environmental vision and I did not want to make that speech. | พวกเขาขอให้ผมมาร่วมประชุม และกล่าวปาฐกถาเปิดงาน โดยให้วิสัยทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อมแก่ภารกิจครั้งใหม่นี้ The Corporation (2003) | As for every question I have there seem to be five questions that come back tome. | ดูเหมือนทุกคำถามที่ฉันถามออกไป จะถูกถามย้อนกลับมา 5 คำถามเสมอ The Corporation (2003) | Do I know you well enough to call you fellow plunderers? | (เรย์ แอนเดอร์สัน ปาฐกถาต่อผู้นำภาคสังคมและธุรกิจ ที่มหาวิทยาลัยนอร์ธแคโรไลนา) The Corporation (2003) | I need to ask you about the secret talks scheduled with the Gavel Republic tomorrow. | ผมแค่อยากถามคุณเกี่ยวกับกำหนดการประชุมลับ ของสาธารณะรัฐแกเวลในวันพรุ่งนี้ Ghost in the Shell (1995) | Love and optimism versus cynicism and sex! | ความรักและมองในแง่ดีเมื่อเทียบกับการเยาะเย้ยถากถางและเพศ! The Birdcage (1996) | And many international observers ask why. | และผู้สังเกตการณ์ต่างประเทศ จำนวนมากถามว่าทำไม Contact (1997) | Cheap shot, Dad. | ถากถางเกินไปแล้วพ่อ 50 First Dates (2004) | - Doctor, I have a question. | - หมอครับ ผมมอยากถามอะไรหน่อย 50 First Dates (2004) | I was just asking more for informational purposes. | ชั้นแค่อยากถามเพื่อจะเก็บข้อมูล 50 First Dates (2004) | I'm done with the dismantling. | - ไม่อยากถามคำถามพวกนี้เหรอ I Heart Huckabees (2004) | Existential. | - ฉันอยากถามอะไรหน่อยด้วย I Heart Huckabees (2004) | Steven, I need to ask a question. | สตีเว่น ฉันอยากถามอะไรหน่อย ถึงได้มานี่ I Heart Huckabees (2004) | What if some local farmer decides to slash and burn the entire basin? | แล้วถ้าหากเกิดมีชาวบ้านแถวนี้ เข้ามาถากถางและเผามันจนหมดบาซินล่ะ? Anacondas: The Hunt for the Blood Orchid (2004) | Abe, I know that's the question, but it's not a real question, so why does it matter? | เอ๊บ ฉันรู้ว่าคุณอยากถาม แต่มันก็แค่เรื่องสมมติ จะถามไปทำไม Primer (2004) | I had some questions to ask him, I was curious about a few things.. | ฉันมีอะไรบางอย่างอยากถามเค้า ฉันอยากรู้อะไรนิดหน่อยน่ะ... Full House (2004) | Carrie, I was meaning to ask you... did you teach the boys to play? | แครี่, ช้นอยากถามว่า คุณสอนลูก เล่นดนตรียังไง Walk the Line (2005) | Oh, yes. I was wondering if there was a time you could drop in here? | ครับ ผมอยากถามว่า คุณพอจะมีเวลาแวะมาที่นี่ได้รึเปล่า Match Point (2005) | "When asked how they could possibly have known it would all work out... | "พอถูกถามว่ารู้ได้อย่างไร ว่าชีวิตคู่จะไปรอด.." Imagine Me & You (2005) | I have a question. The apartment upstairs, it belonged to a young woman. | ผมอยากถามอะไรหน่อย ชั้นบน ที่เคยมีผู้หญิงอยู่ Just Like Heaven (2005) | - Hey, man. I gotta ask you a question. | - นี่ ฉันอยากถามอะไรหน่อย Four Brothers (2005) | I wanna ask a question, Dominic. | ฉันอยากถามอะไรหน่อย, โดมินิค. V for Vendetta (2005) |
| อารัมภกถา | [āramphakathā] (n) EN: preface ; introduction ; foreword ; introductory words ; prologue ; preamble FR: préambule [ m ] ; prologue [ m ] ; introduction [ f ] ; préface [ f ] | อรรถกถา | [atthakathā] (n) EN: commentary ; exegesis | อรรถกถาจารย์ | [atthakathājān] (n) EN: commentator ; exegete FR: exégète [ m ] ; commentateur [ m ] | ห้องปาฐกถา | [hǿng pāthakathā] (n, exp) EN: lecture hall | การซักถาม | [kān sakthām] (n) EN: interrogation | กถา | [kathā] (n) EN: speech ; lecture ; discourse ; talk ; words FR: discours [ m ] | กถานำ | [kathā nam] (n) EN: preface ; foreword FR: préface [ f ] ; avant-propos [ m ] | ปาฐกถา | [pāthakathā] (n) EN: speech ; sermon ; lecture ; talk ; address ; spar FR: discours [ m ] ; adresse [ f ] ; conférence [ f ] | พูดถากถาง | [phūt thākthāng] (v, exp) EN: say ironically ; say satirically ; say sarcastically FR: parler avec ironie | แสดงปาฐกถา | [sadaēng pāthakathā] (v, exp) EN: give a lecture ; deliver a speech ; make an address FR: tenir une conférence ; prononcer un discours | ซักถาม | [sakthām] (v) EN: question ; interrogate ; inquire ; ask ; make an inquiry FR: questionner ; interroger | สมาชิกถาวร | [samāchik thāwøn] (n, exp) EN: permanent member | ถากถาง | [thākthāng] (v) EN: lampoon FR: railler | เยาะเย้ยถากถาง | [yǿyoēi thākthāng] (v, exp) EN: ridicule ; satirize ; mock ; jeer at |
| exegete | (n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator |
| caustic | (adj) ซึ่งถากถาง, Syn. acerb, acrid, bitter | cynic | (n) ผู้ที่ชอบเยาะเย้ยถากถาง | deliver | (vt) พูดสุนทรพจน์, See also: แสดงการบรรยาย, ปาฐกถา, Syn. tell, recite | discourse | (n) การบรรยายที่เคร่งเครียด, See also: การสนทนา, การปาฐกถา, การกล่าวสุนทรพจน์, Syn. speech, verbalization, address, monoloque | gibe at | (phrv) เยาะเย้ย, See also: หัวเราะเยาะ, ถากถาง, เสียดสี, Syn. jibe at, laugh at | gibe | (vi) คำพูดเยาะเย้ย, See also: คำถากถาง, คำแดกดัน, คำล้อเลียน, Syn. mockery, ridicule, Ant. praise | gibe | (vi) เยาะเย้ย, See also: ถากถาง, แดกดัน, หัวเราะเยาะ, Syn. sneer, ridicule | gibe | (vt) เยาะเย้ย, See also: ถากถาง, แดกดัน, หัวเราะเยาะ, Syn. sneer, ridicule | get the third degree | (idm) โดนซักถามเป็นเวลานาน | inquiring | (adj) ช่างซักถาม, See also: อยากรู้อยากเห็น, Syn. inquisitive, questioning | interrogate | (vi) ซักถาม, See also: ซักไซ้, ถาม, ซัก, ไต่ถาม, Syn. query, question, investigate, Ant. answer, reply | interrogate | (vt) ซักถาม, See also: ซักไซ้, ถาม, ซัก, ไต่ถาม, Syn. query, question, investigate, Ant. answer, reply | interrogation | (n) การซักถาม, See also: การซักไซ้, การไต่ถาม, Syn. questioning, inquiry, Ant. reply | interrogative | (adj) ที่เกี่ยวกับการซักถาม, See also: ที่เกี่ยวกับการไต่ถาม | interrogator | (n) ผู้ซักถาม, See also: ผู้ซักไซ้ | interrogatory | (adj) ที่แสดงออกมาเป็นคำถาม, See also: ที่เป็นการซักถาม | interview | (vt) สัมภาษณ์, See also: สนทนา, ซักถาม, Syn. talk, question | ironic | (adj) เชิงเยาะเย้ย, See also: แดกดัน, ถากถาง, เหน็บแนม, Syn. sarcastic, satirical, mocking, Ant. courtesy, esteem | ironical | (adj) เหน็บแนม, See also: แดกดัน, ถากถาง, เยาะเย้ย, Syn. sarcastic, satirical, mocking, Ant. courtesy, esteem | irony | (n) ถ้อยคำแดกดัน, See also: ถ้อยคำเย้ยหยัน, ถ้อยคำถากถาง, Syn. sarcasm, mockery, satire | lecture about | (phrv) บรรยาย, See also: สั่งสอน, ปาฐกถา | lecture on | (phrv) บรรยาย, See also: สั่งสอน, แสดงปาฐกถา | jeer | (n) คำเย้ยหยัน, See also: คำเยาะเย้ย, คำถากถาง, คำเหน็บแนม, Syn. derision, taunt, gibe, Ant. praise, laudation | jeer | (vi) เย้ยหยัน, See also: เยาะเย้ย, ถากถาง, เสียดสี, เหน็บแนม, Syn. scoff, gibe, ridicule, Ant. praise, applaud | jibe | (n) คำพูดเยาะเย้ย, See also: คำพูดเสียดสี, คำพูดถากถาง, Syn. gibe, sarcasm, taunt, Ant. praise, applause | jibe | (vi) เยาะเย้ย, See also: พูดเสียดสี, ถากถาง, Syn. gibe, jeer, scoff, Ant. laud, praise | lampoon | (n) ข้อเขียนที่เยาะเย้ยถากถาง, Syn. caricature | lampoon | (vt) ถากถาง, See also: เหน็บแนม | peck | (vt) ถากถาง, See also: เหน็บแนม, Syn. nag | platform | (n) การปราศรัยต่อมวลชน, See also: การปาฐกถา | querying | (adj) ช่างซักถาม, Syn. inquisitive | question | (vt) ตั้งคำถาม, See also: ซักถาม, สอบถาม | quip | (n) คำพูดเย้ยหยัน, See also: คำพูดถากถาง, Syn. gibe, m | quippish | (adj) ที่ชอบพูดถากถาง | quiz | (n) การถาม, See also: การซักถาม, Syn. questioning | sarcasm | (n) การถากถาง, See also: การพูดเหน็บแนม, การพูดเสียดสี, Syn. acerbity, causticity, mordancy | sardonic | (adj) เยาะเย้ย, See also: ถากถาง, เหน็บแนม, Syn. cynical, sarcastic, scornful | sarky | (adj) เสียดสี, See also: ถากถาง, เยาะเย้ย | satire | (n) การเหน็บแนม, See also: การเสียดสี, การเย้ยหยัน, การถากถาง, Syn. parody, spoof, farce | satirical | (adj) ซึ่งชอบถากถาง, See also: ชอบแดกดัน, Syn. ironic, mocking, satiric, snide | satirist | (n) ผู้ชอบถากถาง | satirize | (vt) ถากถาง, See also: เสียดสี, แดกดัน, เหน็บแนม, Syn. parody, caricature | talk | (vi) แสดงปาฐกถา, See also: บรรยาย | talk | (n) การแสดงปาฐกถา, Syn. oration, sermon |
| askrask | (อาสคฺ) vt., vi. ถาม, ถามข่าว, ขอร้อง, ขอ, เชื้อเชิญ, ซักถาม, Syn. entreat, crave | caustic | (คอส'ทิค) adj. ถากถางมาก, กัดกร่อน, ทำให้ไหม้, ซึ่งทำลาย -n. สารกัดกร่อน, See also: caustical adj. ดูcaustic causticity, caustiness n. ดูcaustic, Syn. corrosive, Ant. neutral | cavil | (แคฟ'วิล) { cavilled, cavilling, cavils } v., n. (การ) หาเรื่อง, จับผิด, ถากถาง., See also: cavil l er n. | cross-examine | (ครอส'อิกแซม'มิน) vi. ตรวจสอบโดยคำถาม, ตรวจสอบอย่างละเอียด, ซักถามพยานฝ่ายตรงข้าม, See also: cross-examination n. ดูcross-examine cross-examiner n. ดูcross-examine | cross-question | (ครอส'เควส'เชิน) vt. ไต่ถาม, ตรวจสอบโดยการถาม, ปัญหาที่ถามขึ้นมาในขณะซักถาม, See also: cross-questioning n. ดูcross-question | cynic | (ซิน'นิค) n. ผู้ที่ชอบเยาะเย้ยถากถาง, See also: Cynic n. ลัทธิที่เชื่อว่าคุณความดีของมนุษย์นั้นอยู่ที่การควบคุมตัวเอง adj. ชอบเยาะเย้ยถากถางคนอื่น, Syn. pessimist | cynical | (ซิน'นิเคิล) adj. ชอบเยาะเย้ยถากถางคนอื่น, See also: cynicalness n. ดูcynical, Syn. skeptical, Ant. optimistic -Conf. sceptical | dead cat | n. การด่าอย่างถากถาง | dissert | (ดิเซิร์ท') vi. สนทนา, ปาฐกถา, บรรยาย, สาธก, เขียนปริญญานิพนธ์, เขียนบทความ | epilog | (เอพ'พะลอก) n. ถ้อยคำส่งท้าย, ตอนส่งท้าย, เพลงส่งท้าย, ปัจฉิมกถา -vt. จัดให้มีถ้อยคำส่งท้าย., See also: epilogist n. ดูepilog | epilogue | (เอพ'พะลอก) n. ถ้อยคำส่งท้าย, ตอนส่งท้าย, เพลงส่งท้าย, ปัจฉิมกถา -vt. จัดให้มีถ้อยคำส่งท้าย., See also: epilogist n. ดูepilog | gibe | (ไจบฺ) { gibed, gibing, gibesว vi. เยาะเย้ย, ถากถาง, เสียด, See also: giber n. gibingly adv., Syn. jibe | heckle | (เฮค'เคิล) vt. รบกวนด้วยคำถาม, ตื้อถาม, ซักถาม, ขัดคอ, ไล่เสียง, หวี. n. หวี, หวีป่าน., See also: heckler n., Syn. challenge, bait | interrogate | (อินเทอ'ระเกท) vt., vi. สอบถาม, ซักถาม, ซักไซ้., See also: interrogatingly adv. | interrogation | (อินเทอระเก'เชิน) n. การสอบถาม, การซักถาม, การซักไซ้, เครื่องหมายคำถาม., Syn. inquiry | interrogator | (อินเทอระเก'เทอะ) n. ผู้สอบถาม, ผู้ซักถาม, ผู้ซักไซ้, เครื่องส่งสัญญาณวิทยุเพื่อให้ตอบทันที' | ironic | (ไอรอน'นิค, -เคิล) adj. เหน็บแนม, ประชด, เย้ยหยัน, เยาะเย้ย, ถากถาง., See also: ironically adv. ironicalness n. | ironical | (ไอรอน'นิค, -เคิล) adj. เหน็บแนม, ประชด, เย้ยหยัน, เยาะเย้ย, ถากถาง., See also: ironically adv. ironicalness n. | lampoon | (แลมพูน') n. ถ้อยคำเหน็บแนมอย่างรุนแรง vt. ถากถางอย่างรุนแรง., See also: lampooner n. ดูlampoon n. lampoonist n. ดูampoon lampoonery n. ดูlampoon, Syn. abuse, satire, satirize | lecture | (เลค'เชอะ) { lectured, lecturing, lectures } n. คำบรรยาย, คำปราศรัย, คำปาฐกถา. vi. บรรยาย, ปราศรัย, แสดงปาฐกถา | lecturer | (เลค'เชอะเรอะ) n. ผู้บรรยาย, ผู้ปราศรัย, ผู้แสดงปาฐกถา | manual feed | ป้อนด้วยมือหมายถึง การทำด้วยมือแทนการสั่งให้ทำงานอัตโนมัติ เป็นต้นว่า การส่งกระดาษเข้าไปในเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) ทีละแผ่นด้วยมือ แทนที่จะให้เครื่องพิมพ์ดึงกระดาษเองจากถาดใส่กระดาษ (tray) โดยปกติ จะใช้วิธีนี้ เมื่อต้องสั่งพิมพ์งานที่ไม่ใช้กระดาษขนาดมาตรฐาน เช่น ซองจดหมายฯ | nag | (แนก) v., n. (การ) ถากถาง, จู้จี้, ค่อนแคะ, หาเรื่องจับผิด, Syn. harass | platform | (แพลท'ฟอร์ม) n. แท่น, ชานชลาสถานี, เวทีสำหรับกล่าวคำปราศัย, ยกพื้น, ดาดฟ้า, แท่นยิง, แท่นปืนใหญ่, นโยบายของพรรคการเมือง, คำแถลงการณ์, การปราศรัยต่อมวลชน, การแสดงปาฐกถา | preach | (พรีช) vt., vi. เทศน์, แสดงธรรม, ธรรมกถา, สั่งสอน (แบบเลือกเข้ามาหรือยึดยาด), See also: preaching n. คำสอน | preamble | (พรีแอม'เบิล) n. อารัมภกถา, บทนำ, See also: preambled adj., Syn. preface | preface | (เพรฟ'ฟิส) n. อารัมภกถา, คำนำ, ส่วนนำ, สิ่งนำ, คำสวดมนต์นำ, เครื่องนำ. vt. จัดให้มีส่วนนำ, เป็นส่วนนำ., See also: prefacer n. | prelude | (เพรล'ลูด) n. การแสดงเบิกโรง, ฉากโหมโรง, การบรรเลงนำ, การกระทำเบื้องต้น, สภาพหรือผลงานเบื้องต้น, อารัมภกถา, นิมิต, สิ่งบอกเหตุ, คำนำ vt., vi. นำ, โหมโรง, บรรเลงนำ, เขียนคำนำ., See also: preluder n. preludial adj. preludious, adj. | public-speaking | n. การแสดงปาฐกถา, การกล่าวคำปราศรัย, การพูดในที่ชุมนุมชน | quibble | (ควิบ'เบิล) vi., n. (การ) พูดเล่นลิ้น, พูดสองนัย, การพูดคลุมเครือ, พูดตลบตะแลง, พูดถากถาง, พูดเสียดสี, See also: quibbler n., Syn. equivocate, dodge | quirk | (เควิร์ค) n. การเล่นสำนวน, การเล่นโวหาร, การกระทำหรือคำพูดที่ตลบตะแลง, พฤติการณ์ที่ประหลาด, การบิดหรือโค้งอย่างฉับพลัน, หางตัวอักษร, การเขียนตัวอักษรเล่นหาง, มุมแหลม vt. เล่นสำนวน, ถากถาง, เขียนตัวอักษรแบบเล่นหาง | quiz | (ควิซ) vt., n. (การ) ทดสอบ, สอบ, สอบถามอย่างใกล้ชิด, ซักไซ้, ซักถาม, เล่นตลก, หลอกลวง., See also: quizer n., Syn. examine, questioning | sarcasm | (ซาร์'คัสซึม) n. การถากถาง, การเหน็บแนม, การเสียดสี, การหัวเราะเยาะเย้ย., Syn. irony, satire | sarcastic | (ซาร์แคส'ทิค) adj. เกี่ยวกับ (การถากถาง, การเหน็บแนม, การเสียดสี, See also: sacrastically adv., Syn. sarcastical | sardonic | (ซารุดอน'นิค) adj. ถากถาง, เหน็บแนม, เสียดสี, เยาะเย้ย, หัวเราะเยาะเย้ย, พูดกระทบกระแทก., See also: sardonically adj. sardonicism n., Syn. scornful | satire | (แซท'ไทเออะ) n. การเหน็บแนม, การเสียดสี, การเย้ยหยัน, การถากถาง, เรื่องเหน็บแนม, เรื่องเสียดสี, บทประพันธ์เหน็บแนมหรือเสียดสี, See also: satiric al ซะเทอ'ริเคิล adj. satiricalness n. | satirise | (แซท'ทะไรซ) vt. เหน็บแนม, เสียดสี, เย้ยหยัน, เยาะเย้ย, ถากถาง., See also: satirisation n. satirization n. satiriser n. satirizer n., Syn. lampoon | satirist | (แซท'เทอริสทฺ) n. ผู้เหน็บแนม, ผู้เสียดสี, ผู้เย้ยหยัน, ผู้เยาะเย้ย, ผู้ถากถาง | satirize | (แซท'ทะไรซ) vt. เหน็บแนม, เสียดสี, เย้ยหยัน, เยาะเย้ย, ถากถาง., See also: satirisation n. satirization n. satiriser n. satirizer n., Syn. lampoon | security council | n. สภาความมั่นคงของสหประชาชาต'ประกอบด้วยสมาชิกถาวร5ประเทศ (สหรัฐอเมริกา, โซเวียต, ฝรั่งเศส, อังกฤษและจีน) และสมาชิกชั่วคราว10ประเทศที่มีวาระครั้งละ2ปี | sneer | (สเนียร์) vi., vt., n. (การ) หัวเราะเยาะ, เยาะเย้ย, เย้ยหยัน, ยิ้มเยาะ, ถากถาง, เหน็บแนม., See also: sneering adj., Syn. scoff, mock, gibe, jeer | speaking | (สพิค'คิง) n., adj. (เกี่ยวกับ) การพูด, การแถลง, การแสดงปาฐกถา, การบรรยาย, , See also: speakings หนังสือท่องจำ, หนังสืออาขยาน. | veto | (วี'โท) n. อำนาจยับยั้ง, ลัทธิยับยั้ง, การใช้สิทธิยับยั้ง, เอกสารแสดงการใช้สิทธิยับยั้งและเหตุผลที่ยับยั้ง, การยับยั้ง, การห้าม, การออกเสียงยับยั้งของสมาชิกหนึ่งในห้าเสียงของสมาชิกถาวรของสภาความมั่นคง (ในสหประชาชาติ) สามารถยับยั้งการปฎิบัติการหรือมติของที่ประชุมไ |
| caustic | (adj) กัดกร่อน, ถากถาง, เราะราย, เหน็บแนม | cavil | (vi) จับผิด, ถากถาง, หาเรื่อง, เสียดสี, เหน็บแนม | crossexamine | (vt) ไต่สวน, ถามค้าน, ซักถาม | cynic | (adj) ถากถาง, ดูถูก, เหยียดหยาม | cynic | (n) ผู้ถากถาง, ผู้เหยียดหยาม | cynical | (adj) ถากถาง, ดูถูก, เหยียดหยาม | cynicism | (n) การถากถาง, การเยาะเย้ยถากถาง | declaim | (vi) พูดในที่ชุมนุมชน, แสดงปาฐกถา, แสดงสุนทรพจน์ | declamation | (n) การพูดในที่ชุมนุมชน, ปาฐกถา, การแสดงสุนทรพจน์ | discourse | (n) การสนทนา, การบรรยาย, การอภิปราย, การพูด, ปาฐกถา | discourse | (vi) สนทนา, บรรยาย, อภิปราย, พูด, ปาฐกถา | disquisition | (n) การถกเถียง, การตรวจสอบ, การค้นคว้า, การบรรยาย, ปาฐกถา | epilogue | (n) บทส่งท้าย, คำส่งท้าย, ปัจฉิมกถา, บันทึกท้ายเล่ม | gibe | (n) การหัวเราะเยาะ, การเยาะเย้ย, การเสียดสี, การถากถาง | gibe | (vt) หัวเราะเยาะ, เยาะเย้ย, เสียดสี, ถากถาง | heckle | (vt) ถามยั่ว, ซักถาม, ซักไซ้ไล่เลียง, ขัดคอ | impugn | (vt) ซักถาม, แย้ง, กล่าวหา, ประณาม | inquisitor | (n) เจ้าพนักงานไต่สวน, เจ้าหน้าที่สอบสวน, คนซักถาม | jibe | (vt) เยาะเย้ย, ถากถาง, เสียดสี, เหยียดหยาม | lampoon | (vt) เขียนด่า, ถากถาง, เหยียดหยาม, เหน็บแนม | lecture | (n) ปาฐกถา, การเทศน์, การบรรยาย, คำปราศรัย, คำบรรยาย | lecture | (vi) แสดงปาฐกถา, บรรยาย, เทศน์, ปราศรัย | lyceum | (n) ห้องแสดงปาฐกถา | nag | (vt) ถากถาง, จู้จี้ | peck | (vt) จิก, ถากถาง, เหน็บแนม, เสียดสี | preamble | (n) คำนำ, อารัมภกถา, บทความเบื้องต้น, พระราชปรารถ | sarcasm | (n) การเสียดสี, การถากถาง, การเหน็บแนม, การเยาะเย้ย | sarcastic | (adj) เสียดสี, ถากถาง, เหน็บแนม, พูดเยาะเย้ย | sardonic | (adj) ถากถาง, เยาะเย้ย, เสียดสี, เหน็บแนม, แดกดัน | satire | (n) การเหน็บแนม, การเสียดสี, เรื่องเสียดสี, เรื่องถากถาง | satirical | (adj) เสียดสี, เปรียบเปรย, เหน็บแนม, ถากถาง, เยาะเย้ย | satirist | (n) ผู้เหน็บแนม, นักแต่งเรื่องเสียดสี, ผู้ถากถาง | satirize | (vt) เหน็บแนม, เสียดสี, ถากถาง, เยาะเย้ย | scoff | (n) การเยาะเย้ย, การหัวเราะเยาะ, การเสียดสี, การถากถาง | scoff | (vi) เยาะเย้ย, หัวเราะเยาะ, พูดเสียดสี, พูดถากถาง | scoffer | (n) ผู้เสียดสี, ผู้เยาะเย้ย, ผู้ถากถาง | sneer | (vi) เยาะเย้ย, ยิ้มเยาะ, ถากถาง, ดูถูก | speaking | (n) การแสดงสุนทรพจน์, การพูด, การบรรยาย, การแสดงปาฐกถา | talk | (n) การพูด, การสนทนา, การเจรจา, ปาฐกถา |
| 常任理事国 | [じょうにんりじこく, jouninrijikoku] (n) ประเทศสมาชิกถาวรประจำคณะมนตรีความมั่นคง |
| シニカル | [しにかる, shinikaru] ชอบเยาะเย้ยถากถาง |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |