ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: จกล, -จกล- |
ใจกลาง | (n) center, See also: heart, middle, core, Syn. ศูนย์กลาง, แกนกลาง, แก่น, จุดศูนย์กลาง, Example: ห้างสรรพสินค้าใหญ่ที่อยู่ในใจกลางของเมืองกำลังลดราคากางเกงยีนส์ครั้งใหญ่ | ใจกล้า | (v) be brave, See also: dare, be bold, be courageous, be fearless, be plucky, Syn. กล้าหาญ, องอาจ, กล้า, Ant. ใจเสาะ, Example: หล่อนใจกล้ามากที่เข้าไปหาสามีตามลำพังถึงในคุก, Thai Definition: ไม่หวาดกลัว, ไม่ขลาดกลัว | ใจกล้า | (adj) fearless, See also: bold, brave, daring, plucky, courageous, valiant, Syn. กล้าหาญ, องอาจ, กล้า, Ant. ใจเสาะ, Example: เธอเป็นสาวใจกล้าคนแรกที่ได้เปิดเผยความจริงแก่สายตาประชาชน | กุญแจกล | (n) combination lock, Thai Definition: กุญแจที่เปิดโดยใช้รหัส | อัจกลับ | (n) brass lantern, Syn. โคม, โคมไฟ, โคมระย้า, Count Unit: ช่อ, ดวง, พะวง, Thai Definition: โคมอย่างหนึ่งทำด้วยทองเหลือง บางทีมีระย้าห้อย ใช้ในสมัยโบราณ | ตกใจกลัว | (v) be frightened, See also: be startled, be scared, be shocked, panic, Example: น้องสาวตกใจกลัวเสียงประทัดที่เขาจุดกันอยู่หน้าบ้าน, Thai Definition: อาการที่ใจหายหรือสะดุ้งขึ้นอย่างไม่รู้ตัวเพราะหวาดต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง |
| กุญแจกล | น. กุญแจที่เปิดโดยใช้รหัส. | เกียจกล | ก. ซ่อนกล. | ใจกลาง | น. ศูนย์กลาง. | อัจกลับ | (อัดจะกฺลับ) น. โคมอย่างหนึ่งทำด้วยทองเหลือง บางทีมีระย้าห้อยด้วย ใช้ในสมัยโบราณ. | ก กา | น. เรียกแม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระโดยไม่มีตัวสะกด ว่า มาตรา ก กา หรือแม่ ก กา. | กระดก ๒ | ก. ตระหนก, กลัว, เช่น ก็กระดกตกใจกลววแก่มรณภยานตราย (ม. คำหลวง ชูชก). | กษัตรี | เจ้าผู้หญิง เช่น สองกษัตรีเจ้าหล้า แกล้วกว่าแกล้วใจกล้า กว่ากล้ากลัวอาย (ลอ). | กำลังภายใน | น. กำลังที่เร้นอยู่ภายใน, กำลังที่เกิดจากการฝึกจิต โดยเฉพาะในลัทธิเต๋าและพระพุทธศาสนาบางนิกาย เพื่อให้จิตใจกล้าแข็งจนสามารถทำสิ่งที่คนทั่วไปทำไม่ได้. | กึ่งกลาง | ว. ใจกลาง, ตรงกลาง. | โกหก | ก. จงใจกล่าวคำที่ไม่จริง, พูดปด, พูดเท็จ, (มักใช้ในที่ไม่สุภาพ). | ขนลุกขนชัน, ขนลุกขนพอง | น. ขนตั้งชันขึ้นเพราะความขยะแขยงหรือตกใจกลัวเป็นต้น. | ขวัญ | ทำพิธี เช่น รดนํ้ามนตร์ให้ เสกเป่าให้ หรือกล่าวปลุกใจต่าง ๆ เพื่อให้ขวัญดีมีใจกล้าหาญ เรียกว่า บำรุงขวัญ | ขี้ขึ้นขมอง, ขี้ขึ้นสมอง | น. ความรู้สึกตกใจกลัวจนไม่คิดหน้าคิดหลัง เช่น พอได้ยินเสียงตวาดก็ขี้ขึ้นสมองแล้ว, มักใช้ประกอบคำ กลัว ว่า กลัวจนขี้ขึ้นขมอง หรือ กลัวจนขี้ขึ้นสมอง. | จก | ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย ทำอย่างนี้พรุ่งนี้ก็ไม่ได้สักหลุม, คุ้ย, สับ เช่น เอาจอบจกลงไปตรงนั้นซิ | จุดศูนย์กลาง | น. จุดที่อยู่ตรงใจกลางของวงกลมหรือวงรี ซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางของคอร์ดทุกเส้นที่ผ่านจุดนั้น, จุดรวม. | ใจนักเลง | น. มีใจกล้าสู้ | ดีฝ่อ | ว. ตกใจกลัวมาก, มักใช้เข้าคู่กับคำ ขวัญหนี เป็น ขวัญหนีดีฝ่อ. | ต้อลม | น. โรคตาซึ่งเชื่อว่าเกิดจากการถูกลมและแดดบ่อย เป็นผลให้เยื่อหุ้มหัวตาหนาตัว มีสีเหลืองอ่อน อาจกลายเป็นต้อเนื้อได้. | ตัวเมือง | น. ย่านใจกลางเมือง มักมีแม่นํ้าหรือกำแพงล้อมรอบ. | ตาเหลือกตาพอง | ว. อาการที่แสดงความตกใจกลัวมาก. | ตาลยอดด้วน | พระภิกษุที่ต้องอาบัติปาราชิกไม่อาจกลับมาบวชใหม่ได้. | ตีนจก | น. ชื่อเชิงซิ่นที่ทอด้วยวิธีจกลายโดยใช้ขนเม่นควักด้ายเส้นยืน แล้วสอดไหมหรือด้ายทำเป็นลวดลาย แล้วนํามาเย็บติดกับตัวซิ่น, เรียกซิ่นที่มีเชิงเช่นนั้น ว่า ซิ่นตีนจก. | เทียน ๑ | น. เครื่องตามไฟที่ฟั่นหรือหล่อด้วยขี้ผึ้งหรือไขเป็นต้น มีไส้อยู่ตรงใจกลาง, ลักษณนามว่า เล่ม. | นิวเคลียส | น. ส่วนใจกลางของอะตอมของธาตุทุกชนิด ส่วนนี้ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่สำคัญ ๒ ชนิด คือ โปรตอน และ นิวตรอน (สำหรับอะตอมของไฮโดรเจนธรรมดา นิวเคลียสมีแต่โปรตอนเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน), ส่วนที่สำคัญยิ่งของเซลล์ ลักษณะเหนียวข้นเป็นก้อนประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ อีกหลายชนิด มักอยู่ตอนกลางของเซลล์ที่ยังอ่อนอยู่ และอาจร่นไปอยู่ริมเซลล์เมื่อแก่เข้า. | บำรุงขวัญ | ก. ทำพิธีเช่นรดนํ้ามนต์ให้ เสกเป่าให้ หรือทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นกล่าวปลุกใจเพื่อให้ขวัญดี มีใจกล้าหาญ. | แบกหน้า | ก. จำใจกลับมาแสดงตัวหรือติดต่อกับผู้ที่ตนเคยทำไม่ดี ไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะสมมาก่อน, ทนอายทำสิ่งที่จำเป็นต้องทำ, เช่น แบกหน้าไปกู้เงินเขา. | ปด, ปดโป้ | ก. โกหก, พูดเท็จ, จงใจกล่าวคำที่ไม่จริง, โป้ปด ก็ว่า. | ปล่อยเสือเข้าป่า | ก. ปล่อยศัตรูไปอาจกลับมาทำร้ายภายหลังอีก, มักใช้เข้าคู่กับ ปล่อยปลาลงนํ้า เป็น ปล่อยเสือเข้าป่า ปล่อยปลาลงนํ้า. | ปั๊ม | ใช้เครื่องสูบหรือดูดของเหลวหรือแก๊ส เช่น ปั๊มน้ำ ปั๊มลม, ใช้เครื่องช่วยทำให้หัวใจกลับเต้นเป็นปรกติ เรียกว่า ปั๊มหัวใจ. | ปั๊ม | น. เรียกเครื่องยนต์สำหรับสูบน้ำ ว่า เครื่องปั๊มน้ำ, เรียกเครื่องยนต์สำหรับสูบลมหรือแก๊ส ว่า เครื่องปั๊มลม, เรียกเครื่องอุปกรณ์ที่ช่วยทำให้หัวใจกลับเต้นเป็นปรกติว่า เครื่องปั๊มหัวใจ | โป้ปด | ว. จงใจกล่าวคำที่ไม่จริง. | ผวา | (ผะหฺวา) ว. อาการที่หวาดสะดุ้งเพราะตกใจกลัวเป็นต้น เช่น นอนผวากลัวโจรมาปล้น, อาการที่เด็กนอนสะดุ้งยกมือไขว่คว้า ในคำว่า เด็กนอนผวา, อาการที่อ้าแขนโผเข้ากอดกัน เช่น เด็กวิ่งผวาเข้าหาแม่. | มอน | น. ใจกลาง, ส่วนสำคัญ, เช่น มอนไข่ คือ ไข่แดง. | มาตรา | แม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระโดยไม่มีตัวสะกด เรียกว่า มาตรา ก กา หรือ แม่ ก กา, หลักเกณฑ์ที่วางไว้เพื่อให้กำหนดได้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใดบ้างเป็นตัวสะกดอยู่ในมาตราใดหรือแม่ใด คือ ถ้ามีตัว ก ข ค ฆ สะกด จัดอยู่ในมาตรากกหรือแม่กก, ถ้ามีตัว ง สะกด จัดอยู่ในมาตรากงหรือแม่กง, ถ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด จัดอยู่ในมาตรากดหรือแม่กด, ถ้ามีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด จัดอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน, ถ้ามีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด จัดอยู่ในมาตรากบหรือแม่กบ, ถ้ามีตัว ม สะกด จัดอยู่ในมาตรากมหรือแม่กม, ถ้ามีตัว ย สะกด จัดอยู่ในมาตราเกยหรือแม่เกย, ถ้ามีตัว ว สะกด จัดอยู่ในมาตราเกอวหรือแม่เกอว | ร้อน ๆ หนาว ๆ | ก. ครั่นเนื้อครั่นตัว, มีอาการคล้ายจะเป็นไข้เพราะเดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว, โดยปริยายหมายความว่า มีความเร่าร้อนใจกลัวว่าจะถูกลงโทษหรือถูกตำหนิเป็นต้น, สะบัดร้อนสะบัดหนาว หรือ หนาว ๆ ร้อน ๆ ก็ว่า. | ศูนย-, ศูนย์ | จุดกลาง, ใจกลาง, แหล่งกลาง, แหล่งรวม, เช่น ศูนย์วัฒนธรรม ศูนย์หนังสือ ศูนย์รวมข่าว. | สะบัดร้อนสะบัดหนาว | ก. ครั่นเนื้อครั่นตัว, มีอาการคล้ายจะเป็นไข้เพราะเดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว, โดยปริยายหมายความว่า มีความเร่าร้อนใจกลัวว่าจะถูกลงโทษหรือถูกตำหนิเป็นต้น เช่น ผู้ที่ทำความผิดไว้ พอเห็นผู้บังคับบัญชามาก็รู้สึกสะบัดร้อนสะบัดหนาว, ร้อน ๆ หนาว ๆ หรือ หนาว ๆ ร้อน ๆ ก็ว่า. | สู้คน | ก. มีใจกล้าไม่ยอมแพ้ใคร เช่น เขาเป็นคนสู้คน, บางทีก็ใช้เรียกคนที่ขี้ขลาดไม่ยอมสู้ใครว่า เป็นคนไม่สู้คน. | สู้ครู | เรียกคนที่ดวงชะตามีพฤหัสอยู่ในราศีสิงห์มีอาทิตย์เป็นเจ้าเรือนว่า พฤหัสสู้ครู ซึ่งหมายความว่า มีใจกล้า มีใจเข้มแข็งพอที่จะสู้กับผู้รู้หรือผู้ชำนาญชั้นครูได้. | หนาว ๆ ร้อน ๆ | ก. ครั่นเนื้อครั่นตัว, มีอาการคล้ายจะเป็นไข้เพราะเดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว, โดยปริยายหมายความว่า มีความเร่าร้อนใจกลัวว่าจะถูกลงโทษหรือถูกตำหนิเป็นต้น, ร้อน ๆ หนาว ๆ หรือ สะบัดร้อนสะบัดหนาว ก็ว่า. | หลอกหลอน | ก. เกิดปรากฏการณ์ที่ทำให้สะดุ้งตกใจกลัว เช่น ถูกผีหลอกหลอน, อาการที่ภาพหรือเสียงอันน่ากลัว น่าหวาดเสียว หรือสะเทือนใจที่ตนเคยประสบมา คอยรบกวนจิตใจอยู่ เช่น ภาพเด็กที่ถูกรถชนตายมาคอยหลอกหลอนจิตใจอยู่ตลอดเวลา. | หวาดผวา | ก. หวาดสะดุ้งเพราะตกใจกลัว. | หวานนอกขมใน | ก. พูด ทำ หรือแสดงให้เห็นว่าดีแต่ภายนอก แต่ในใจกลับตรงข้าม. | เหงื่อกาฬ | โดยปริยายหมายถึงเหงื่อแตกด้วยความตกใจกลัวเป็นต้น. | อกสั่นขวัญแขวน, อกสั่นขวัญหนี, อกสั่นขวัญหาย | ก. ตกใจสุดขีด, ตกใจกลัวอย่างยิ่ง. |
|
| | พระโกศ | ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระศพในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ พระโกศสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งานได้ ๒ ประเภท ๑. พระโกศสำหรับทรงพระบรมศพหรือพระศพ ๒. พระโกศพระบรมอัฐิหรือพระอัฐิ, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-01.JPG" alt="พระโกศ"> <p>ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ [ศัพท์พระราชพิธี] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Centroid of Solid Waste Generation | ใจกลางแหล่งผลิตขยะ, Example: ใจกลางของพื้นที่ซึ่งรวบรวมขยะจากชุมชน ใจกลางนี้อาจจะกำหนด จากสภาพภูมิประเทศหรือจากความหนาแน่นของประชากร หรืออุตสาหกรรม [สิ่งแวดล้อม] | Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] | New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] | Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] | Organization of European Economic Cooperation | คือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป สัญญาที่ก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ.1948 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี โดยแม่ทัพของฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที่ประจำอยู่ในเขตยึดครองในเยอรมนี (หลังเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง)จุดประสงค์สำคัญที่สุดขององค์การนี้คือ ต้องการให้ทวีปยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจกลับคืนมาใหม่อย่างมั่นคง ด้วยการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสอย่างไรก็ดี บัดนี้ได้มีองค์การตั้งขึ้นใหม่แทนองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป เรียกว่า องค์การร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development ) หรือ OECD สำหรับสัญญาจัดตั้งองค์การโอดีซีดีนี้ ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1961จุดประสงค์สำคัญขององค์การโออีซีดี มีดังนี้1. เพื่อให้บรรดาประเทศสมาชิกได้มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ มีแรงงาน อาชีพ และมาตรฐานการครองชีพให้มากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาเสถียรภาพทางการคลังไว้เพื่อเป็นการเกื้อกูลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของโลก2. ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกมีโอกาสขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง รวมทั้งในประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกด้วย3. ต้องการมีส่วนเกื้อกูลต่อการขยายตัวทางการค้าในรูปพหุภาคี และปราศจากการกีดกันแต่อย่างใด ตามพันธกรณีระหว่างประเทศองค์การสำคัญในองค์การโออีซีดีคือคณะมนตรี ( Council ) ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด มีคณะกรรมการบริหารรวมทั้งเลขาธิการ สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | Biopsy, Muscle | การตัดตรวจกล้ามเนื้อ, ตัดกล้ามเนื้อไปตรวจทางพยาธิวิทยา, ตัดตรวจกล้ามเนื้อ [การแพทย์] | Central Clearing Zone | ผิวหนังตรงใจกลางเริ่มหายเป็นปกติ [การแพทย์] | Cross-Match | ความเข้ากันได้, การตรวจกลุ่มเลือด [การแพทย์] | Electrodiagnosis | การวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า, การตรวจด้วยไฟฟ้า, วิธีตรวจกล้ามเนื้อด้วยไฟฟ้า, เครื่องที่ใช้เพื่อการวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า, การตรวจระบบประสาทกล้ามเนื้อด้วยไฟฟ้า [การแพทย์] | census | การสำมะโน, การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยของประชากรในเรื่องที่สนใจศึกษา เช่น สำมะโนประชากรของประเทศไทย เป็นการนับจำนวนประชากรทั้งหมด ที่อาศัยอยู่ในประเทศ จำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ที่สำคัญ และสนใจศึกษา เช่น เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา อาจกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า การ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Laryngoscope | เครื่องส่องตรวจกล่องเสียง, เครื่องตรวจกล่องเสียง, เครื่องตรวจดูกล่องเสียง [การแพทย์] | Microphthalmia | ต้อกระจกลูกตาเล็ก, นัยน์ตาเล็ก, ลูกตาเล็ก [การแพทย์] | Myocardial Infarction | กล้ามเนื้อหัวใจตาย, การอุดตาย, โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย, การตายของกล้ามเนื้อหัวใจ, การอุดตายของกล้ามเนื้อหัวใจกล้ามเนื้อหัวใจตายเพราะขาดเลือดกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด, โรคหัวใจวาย, กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด, โรคหัวใจ, โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด, กล้ามเนื้อหัวใจตาย, กล้ามเนื้อหัวใจอุดตาย, การตายของกล้ามเนื้อหัวใจ, การอุดตายของกล้ามเนื้อหัวใจ, โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายอย่างปัจจุบัน, กล้ามเนื้อหัวใจตายบางส่วน [การแพทย์] |
| ใจกล้า | [jaiklā] (adj) EN: fearless ; bold ; brave ; daring ; plucky ; courageous ; valiant ; adventuresome | ใจกลาง | [jaiklāng] (n) EN: center ; heart ; middle ; core FR: centre [ m ] ; milieu [ m ] ; coeur [ m ] ; sein [ m ] (litt.) | ใจกลางย่านธุรกิจ | [jaiklāng yān thurakit] (n, exp) EN: commercial district | ความตกใจกลัว | [khwām tokjai klūa] (n, exp) EN: panic | ตกใจกลัว | [tokjai klūa] (v, exp) EN: be frightened ; be startled ; be scared ; be shocked ; panic FR: être effrayé ; paniquer |
| ballsy | (adj) ใจกล้า (คำสแลง), See also: ก้าวร้าว | brass | (n) ความกล้า, See also: ความใจกล้า | bull's-eye | (n) ใจกลางเป้า | center | (n) ศูนย์กลาง, See also: ใจกลาง, แกนกลาง, Syn. centre, heart, middle | center | (n) สถานที่ที่เป็นศูนย์รวม, See also: ศูนย์รวม, ใจกลาง, จุดรวม, จุดศูนย์รวม, ที่รวม | centre | (n) ศูนย์กลาง, See also: ใจกลาง, แกนกลาง, Syn. center, heart, middle | centre | (n) สถานที่ที่เป็นศูนย์รวม, See also: ศูนย์รวม, ใจกลาง, จุดรวม, จุดศูนย์รวม, ที่รวม | cold sweat | (n) ภาวะความตื่นตกใจกลัว | fling up | (idm) ตกใจกลัว, Syn. throw up | fling up | (idm) ตกใจกลัว, Syn. throw up | downtown | (adv) ตัวเมือง, See also: ใจกลางเมือง, ในเมือง, Syn. uptown | downtown | (n) ตัวเมือง, See also: ใจกลางเมือง, ย่านดาวน์ทาวน์, Syn. uptown | downtown | (adj) ตัวเมือง, See also: ใจกลางเมือง, ในเมือง | fearless | (adj) กล้าหาญ, See also: ปราศจากความกลัว, ใจกล้า, ใจเด็ด, Syn. brave, resolute, unafraid, Ant. cowardly | gritty | (adj) กล้าหาญ, See also: อาจหาญ, ใจกล้า, Syn. courageous, brave, Ant. fearful | hardy | (adj) ใจกล้า, See also: เด็ดเดี่ยว | heart | (n) ส่วนสำคัญ, See also: ใจกลาง, แก่น, Syn. center, core, kernel | midtown | (n) ใจกลางเมือง, Syn. downtown, central, inner-city, Ant. suburban, rural | nub | (n) จุดสำคัญ, See also: แก่น, ใจกลาง, Syn. core, essence, heart, gist, kernel | nucleus | (n) ใจกลาง, See also: แกนกลาง, ส่วนสำคัญ, Syn. center, core, essence, heart, nub, heart | panic-stricken | (adj) ตกใจกลัว, Syn. frightened, hysterical, Ant. calm, serene | polar | (adj) สำคัญยิ่ง, See also: สำคัญ, ซึ่งเป็นศูนย์กลาง, เป็นใจกลาง, Syn. central, pivotal | seat | (n) ศูนย์กลางอำนาจ, See also: ศูนย์รวมอำนาจ, ใจกลาง, Syn. center, capital | spook | (vi) ตกใจกลัว, See also: ตกอกตกใจ, Syn. be frightened, scare | spunky | (adj) ใจกล้า (คำไม่เป็นทางการ), See also: กล้าหาญ, Syn. brave, courageous, plucky | spook at | (phrv) ตกใจกลัว, See also: ตกอกตกใจกับ | valiant | (adj) กล้าหาญ, See also: อาจหาญ, ใจกล้า, Syn. bold, brave, courageous, Ant. coward, craven, fearful |
| acentric | (อะเซน' ทริค) adj. ไม่อยู่ตรงกลาง, ไร้ศูนย์กลาง, ห่างใจกลาง (not centered) | alarmist | (อะลาร์ม' มิสทฺ) n. พวกกระต่ายตื่นตูม, ผู้ชอบทำให้ตกใจกลัวด้วยเรื่องเล็ก | awestruck | (ออ'สทรัค) adj. รู้สึกกลัว, ตกใจกลัว, ประหม่า. -awe-struck, awe-stricken, awestricken adj. (filled with awe, awe-inspiring) | bold | (โบลดฺ) adj. กล้าหาญ, ใจกล้า, กล้า, หน้าด้าน, ถนัด, เด่น, ชัดเจน, หยาบใหญ่, ชั้น, See also: boldness n., Syn. courageous, Ant. timid | bombshell | n. ลูกระเบิด, สิ่งที่น่าตกใจ, ผู้ที่น่าตกใจกลัว | bull's eye | (บูล'ซอาย) n. ใจกลางเป้า, ขีปนาวุธที่ยิงถูกกลางเป้า., See also: bull's-eyed adj. ดูbull's eye | central | (เซน'ทรัล) adj. ใจกลาง, สำคัญ -n. สำนักงานระบบชุมสายโทรศัพท์, See also: centrality n., Syn. middle, Ant. outer | centre | (เซน'เทอะ) n. ศูนย์กลาง, ใจกลาง, จุดสำคัญ, หัวใจ, เป้า -v. รวมศูนย์, อยู่ตรงกลาง, | courage | (เคอ'ริจฺ) n. ความกล้าหาญ, ความกล้า, ความห้าวหาญ, ความมีใจกล้า, กำลังใจ. | frightened | (ไฟร'เทินดฺ) adj. ตกใจ, สะดุ้งตกใจกลัว., See also: frightenedly adv., Syn. scared | intown | (อิน'เทาน์) adj. ในตัวเมือง, ใจกลางเมือง, ในเมือง | nucleus | (นิว'เคลียส) n. นิวเคลียส ใจกลาง, แก่นกลาง pl. nuclei | num lock key | เป็นแป้น ๆ หนึ่งอยู่ในกลุ่มแป้นตัวเลข (numeric keypad) มีคำ Num Lock อยู่บนแป้น ถ้ากดแป้นนี้ไว้ก่อนตั้งแต่เริ่มเปิดเครื่อง (กดครั้งเดียว) จะทำให้การกดแป้นในกลุ่มนี้ ได้ผลออกมาเป็นตัวเลข ถ้าไม่กดแป้นนี้ แป้นเหล่านี้จะทำหน้าที่เป็นแป้นลูกศร หรืออาจกลายเป็นอักขระอื่น (เช่นในโปรแกรม CUWRITER) | outermost | (เอา'เอทโมสทฺ) adj. นอกสุด, ไกลสุด, ห่างใจกลางที่สุด | panic | (แพน'นิค) n. ความตกใจกลัว, หญ้า -v. ตกใจกลัว, See also: panicky adj, Syn. alarm | panic-stricken | adj. ตกใจกลัว | pulp cavity | เป็นช่องเล็ก ๆ ภายในไส้หรือใจกลางของเนื้อฟัน มีลักษณะอ่อน มีเส้นโลหิตฝอย เส้นประสาท | undaunted | (อันดอน'ทิด) adj. ไม่สะทกสะท้าน, ไม่กลัว, ใจกล้า, ไม่ท้อใจ. | venturesome | (เวน'เชอะเซิม) adj. เสี่ยง, เสี่ยงภัย, ผจญภัย, มีภัย, ใจกล้า, See also: venturesomeness n., Syn. daring, bold, risky, chancy, tricky | venturous | (เวน'เชอะเริส) adj. ชอบเสี่ยง, ชอบเสี่ยงภัย, ใจกล้า, องอาจ, ชอบผจญภัย, มีภัย, อันตราย, See also: venturousness n., Syn. venturesome |
| aghast | (adj) ตกใจกลัว, อกสั่นขวัญหนี, ตกตะลึง | alarm | (n) สัญญาณเตือนภัย, ความตกใจกลัว | alarm | (vt) ทำให้ตื่นตกใจ, ปลุก, ทำให้ตกใจกลัว | awestruck | (adj) ตกใจกลัว, ประหม่า | center | (n) ศูนย์กลาง, ใจกลาง, เป้า, หัวใจ, จุดสำคัญ | central | (adj) ใจกลาง, เกี่ยวกับศูนย์กลาง, ส่วนกลาง, สำคัญ, เป็นหัวใจ, ตรงกลาง | centre | (n) ศูนย์กลาง, ใจกลาง, เป้า, หัวใจ, จุดสำคัญ | core | (n) แกน, ไส้, แก่นแท้, ใจกลาง | courage | (n) ความกล้าหาญ, ความห้าวหาญ, ความใจกล้า | courageous | (adj) กล้าหาญ, ใจป้ำ, ใจกล้า | cower | (vi) ตกใจกลัว, หัวหด | dare | (adj) กล้าหาญ, ใจกล้า, อาจหาญ, บังอาจ | daring | (adj) กล้าหาญ, ใจกล้า, อาจหาญ, บังอาจ | daring | (n) ความกล้าหาญ, ความใจกล้า, ความอาจหาญ, ความบังอาจ | HIGH-high-spirited | (adj) ฉุนเฉียว, ใจกล้า, ใจแข็ง, คึกคะนอง | nuclear | (adj) ที่เป็นใจกลาง, เกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร์ | nucleus | (n) ใจกลาง, แก่นกลาง, นิวเครียส | PANIC-panic-stricken | (adj) ตื่นตกใจ, ขวัญหนีดีฝ่อ, แตกตื่น, ตกใจกลัว | terror | (n) ความตกใจกลัว, ความน่ากลัว, ความสยองขวัญ | terrorism | (n) การทำให้ตกใจกลัว, ลัทธิก่อการร้าย | terrorize | (vt) ทำให้ตกใจกลัว, ทำให้สยองขวัญ, คุกคาม, ข่มขวัญ |
| adventist | (n) ผู้ที่รอคอยการเสด็จกลับมาครั้งที่สองของพระเยซูคริสต์ (เพื่อรับพวกเขาไปอยู่กับพระองค์บนสวรรค์ ตามพระสัญญาที่พระองค์ได้ให้ไว้ใน พระธรรมยอห์น 14:1-3 ในพระคัมภีร์ไบเบิ้ล) Image: | assertive | (adj) มั่นใจกล้าแสดงออก | macula lutea | (n) พื้นที่สีค่อนข้างเหลืองรูปกรวยใจกลางเยื่อชั้นในของลูกตา, See also: retina | to be intimidated | ถูกขู่ ทำให้ตกใจกลัว |
| 生意気 | [なまいき, namaiki] (adv) อย่างไม่อาย, อย่างหน้าด้านๆ, อย่างใจกล้าหน้าด้าน, อย่างไร้ยางอาย<BR> <BR> Eg.<BR> 彼の生意気態度は我慢できない。<BR> ทนลักษณะท่าทางหน้าด้านของเขาไม่ได้แล้ว<BR> <BR> 生意気を言うようですが、そうしない方がいいでしょう。<BR> ดูเหมือนว่าจะพูดอย่างไม่อายเลยนะ ไม่ทำแบบนั้นน่าจะดีกว่านะ<BR> | 勇気 | [ゆうき, yuuki] (n) (เคอ'ริจฺ) n. ความกล้าหาญ, ความกล้า, ความห้าวหาญ, ความมีใจกล้า, กำลังใจ. |
| Mitte | (n) |die, pl. Mitten| ใจกลาง, ศูนย์กลาง, See also: das Zentrum | Zentrum | (n) |das, pl. Zentren| จุดศูนย์กลาง, ใจกลางเมือง | Wochenmarkt | (n) |der, pl. Wochenmärkte| ตลาดสดประจำอาทิตย์ โดยทั่วไปที่เยอรมนีตลาดสดจะถูกจัดขึ้นตามใจกลางเมือง อาจมีอาทิตย์ละ 1-2 ครั้ง ส่วนมากขายผัก ผลไม้ ดอกไม้ ต้นไม้ ไม่ค่อยมีเนื้อสัตว์วางขาย Image: | Herz | (n) |das, nur Sg.| ใจกลาง, ศูนย์กลาง เช่น Bangkok liegt im Herzen Thailands. กรุงเทพตั้งอยู่ตรงใจกลางของประเทศไทย | tapfer | (adj, adv) ใจกล้า, กล้าหาญ, แน่วแน่, Syn. mutig | Tapferkeit | (n) |die, nur Sg.| ความกล้าหาญ, ความใจกล้า, ความแน่วแน่, Syn. der Mut | historisch | (adj) ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เช่น die historische Innenstadt ใจกลางเมืองที่มีความสำคัญด้านประวัติศาสตร์ |
| centre-ville | (n) |m| ใจกลางเมือง, ตัวเมือง | au milieu de | (prep) ตรงกลาง, ใจกลาง (บุพบทระบุสถานที่) เช่น Au milieu du jardin, il y a une fontaine. ตรงกลางของสวนมีน้ำพุ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |