ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: หู่, -หู่- |
หดหู่ | (v) depress, See also: deject, be dispirit, Syn. เศร้า, หม่นหมอง, ทุกข์ใจ, เศร้าสร้อย, Ant. ชื่นบาน, ร่าเริง, Example: เมื่อได้ฟังเรื่องราวอันชวนให้อ่อนใจ ตัวเราก็พลอยหดหู่ไปกับเขาด้วย | หดหู่ใจ | (v) depress, See also: dejected, dispirit, Syn. หดหู่, เศร้า, เศร้าโศก, เศร้าสลด, ซึมเซา, ห่อเหี่ยว, Ant. เบิกบานใจ, ชุ่มชื่นใจ, Example: ระหว่าเดินออกจากโรงพยาบาล ช่วงนั้นเป็นช่วงที่ผมรู้สึกหดหู่ใจเหลือเกิน | น่าหดหู่ | (adj) depressed, See also: gloomy, sad, Syn. น่าสลด, น่าสลดหดหู่, น่าเศร้า, Ant. น่ายินดี, Example: ฉันไม่ชอบบรรยากาศที่น่าหดหู่เช่นนี้เลย, Thai Definition: ที่ห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน | น่าหดหู่ | (v) be depressed, See also: be gloomy, be dejected, be sad, Syn. น่าสลด, น่าสลดหดหู่, น่าเศร้า, Ant. น่ายินดี, Example: สำหรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ผมคิดแล้วก็น่าหดหู่อยู่มาก | ความหดหู่ | (n) melancholy, See also: depression, sadness, dejection, despondency, Syn. ความสลดใจ, Example: ข่าวเรื่องอาการป่วยของคุณพ่อสร้างความหดหู่ให้แก่เขาเป็นอันมาก, Thai Definition: การห่อเหี่ยวไม่ชื่นบานใจ |
|
| กินหู้ | ก. ผิดคาด. | เต้าหู้ | น. ถั่วเหลืองที่โม่เป็นแป้งแล้วทำเป็นแผ่นหนา ๆ ใช้เป็นอาหาร มี ๒ ชนิด คือ เต้าหู้ขาว และเต้าหู้เหลือง. | เต้าหู้ยี้ | น. อาหารเค็มของจีน ใช้ถั่วเหลืองทำเป็นเต้าหู้แล้วหมัก มี ๒ ชนิด คือ เต้าหู้ยี้ขาว และเต้าหู้ยี้แดง. | ฟองเต้าหู้ ๑ | น. ชื่อหนึ่งของหินยิปซัม เรียกว่า หินฟองเต้าหู้, เกลือจืด ก็ว่า. | ฟองเต้าหู้ ๒ | น. ฝ้าหรือเยื่อที่ลอยอยู่บนน้ำเต้าหู้แล้วนำมาตากแห้ง ใช้เป็นอาหาร. | หดหู่ | ก. ห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน, สลดใจ, เช่น เห็นสภาพบ้านเมืองทรุดโทรมแล้วใจคอหดหู่. | หดหู่ | ว. อาการที่รู้สึกห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน เช่น วันนี้เขาพบแต่เรื่องเศร้า ๆ จึงรู้สึกหดหู่. | หินฟองเต้าหู้ | น. ยิปซัมหรือเกลือจืด. | หู่ | ก. ยู่เข้า, หดเข้า, ห่อเข้า. | หู่หี่ | ว. ย่นยู่ยี่. | เกลือจืด | น. เกลือที่ตกผลึกก่อนเกลือชนิดอื่น ๆ ในการทำนาเกลือ มีปนอยู่กับเกลือที่ใช้ในการปรุงอาหารเสมอ ไม่มีรส หรือเกลือที่ได้จากการเผายิปซัม, ยิปซัม หรือ หินฟองเต้าหู้ ก็เรียก. | ข้าวเม่า ๑ | น. ข้าวเปลือกข้าวเหนียวที่ยังไม่แก่จัดเอามาคั่วแล้วตำให้แบน, ข้าวเม่าที่เอามาคั่วให้กรอบ เรียกว่า ข้าวเม่าราง, ข้าวเม่ารางทอดแล้วใส่เครื่องปรุง มีกุ้งแห้งทอด ถั่วลิสงทอด เต้าหู้หั่นทอด เรียกว่า ข้าวเม่าหมี่. | ซึมเศร้า | อาการที่มีอารมณ์เศร้า หดหู่ ว้าเหว่ ซึม มีความรู้สึกท้อถอย สิ้นหวัง เป็นต้น. | นิวรณ์ | น. สิ่งที่ขัดขวางจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม มี ๕ ประการ คือ ความพอใจในกามคุณ ๑ ความพยาบาท ๑ ความหดหู่ซึมเซา ๑ ความฟุ้งซ่านรำคาญ ๑ ความลังเลใจ ๑. | เปาะเปี๊ยะ | น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง โดยนำแป้งสาลีมาทำให้สุกเป็นแผ่นกลมบาง ๆ เรียกว่า แผ่นเปาะเปี๊ยะ แล้วห่อถั่วงอกลวก หมูตั้งหรือกุนเชียง ชิ้นเต้าหู้ต้มเค็ม และแตงกวา ราดด้วยน้ำปรุงรสข้น ๆ รสหวานเค็ม โรยหน้าด้วยเนื้อปูและไข่หั่นฝอย หรือห่อรวมไว้ในแผ่นเปาะเปี๊ยะก็ได้ กินกับต้นหอมและพริกสด เรียกว่า เปาะเปี๊ยะสด, ชนิดที่ใช้แผ่นเปาะเปี๊ยะห่อไส้ที่ประกอบด้วยวุ้นเส้น ถั่วงอก เนื้อไก่หรือหมูสับ เป็นต้นที่ลวกสุก แล้วนำไปทอด กินกับผักสดต่าง ๆ เช่น ใบโหระพา สะระแหน่ และน้ำจิ้มใสรสหวานอมเปรี้ยว เรียกว่า เปาะเปี๊ยะทอด. | แป้ว | อาการที่ใจฝ่อหรือหดหู่ลง ในคำว่า ใจแป้ว. | ผัดไทย | น. อาหารคาวอย่างหนึ่ง ใช้ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กผัดกับเครื่องปรุงมีน้ำมะขามเปียก เต้าหู้เหลือง หัวไช้โป๊ กุ้งแห้งหรือกุ้งสด ใบกุยช่าย ถั่วงอก เป็นต้น. | เม่า ๑ | น. เรียกข้าวเปลือกข้าวเหนียวที่ยังไม่แก่จัดเอามาคั่วแล้วตำให้แบน ว่า ข้าวเม่า, ข้าวเม่าที่เอามาคั่วให้กรอบ เรียกว่า ข้าวเม่าราง นิยมกินกับน้ำกะทิ, ข้าวเม่ารางทอดแล้วใส่เครื่องปรุง มีกุ้งแห้งทอด ถั่วลิสงทอด เต้าหู้ทอด กระเทียมเจียว น้ำตาล เกลือ เรียกว่า ข้าวเม่าหมี่, ข้าวเม่าที่พรมน้ำเกลือให้นุ่มคลุกกับมะพร้าวขูดแล้วโรยน้ำตาลทราย เรียกว่า ข้าวเม่าคลุก นิยมกินกับกล้วยไข่, ข้าวเม่าผสมน้ำตาล มะพร้าวขูด พอกกล้วยไข่ ชุบแป้งทอดน้ำมันให้ติดกันเป็นแพแล้วโรยด้วยแป้งทอด เรียกว่า ข้าวเม่าทอด. | ยิปซัม | น. แร่ชนิดหนึ่ง ชื่อไฮเดรเทดแคลเซียมซัลเฟต (hydrated calcium sulphate) มีสูตร CaSO4∙2H2O เมื่อนำมาเผาให้ร้อนถึง ๑๒๐˚- ๑๓๐˚ซ. จะได้ผงสีขาว เรียกว่า ปูนปลาสเตอร์, หินฟองเต้าหู้ หรือ เกลือจืด ก็เรียก. | เย็นตาโฟ, เย็นเตาโฟ | น. อาหารแบบจีนอย่างหนึ่งคล้ายก๋วยเตี๋ยว แต่ใส่ผักบุ้ง ปลาหมึกแช่ด่าง เต้าหู้ เลือดหมู ลูกชิ้นปลา แมงกะพรุน และน้ำเต้าหู้ยี้หรือซอสมะเขือเทศ. | เศร้าใจ | ว. มีความรู้สึกสลดหดหู่ใจ เช่น เห็นป่าถูกบุกรุกทำลายแล้วเศร้าใจ. | สลดใจ | ก. รู้สึกเศร้าใจแกมสังเวช, รู้สึกหดหู่ใจ, เช่น ข่าวแผ่นดินไหวคนตายเป็นหมื่น ๆ ฟังแล้วสลดใจ เห็นสุนัขถูกรถทับตาย รู้สึกสลดใจ. | สังเวช, สังเวช- | (สังเวด, สังเวชะ-) ก. รู้สึกเศร้าสลดหดหู่ต่อผู้ที่ได้รับทุกขเวทนา หรือต้องตายไป หรือต่อผู้ที่ตนเคารพนับถือซึ่งประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นต้น เช่น เห็นผู้คนประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตกแล้วสังเวช พอรู้ข่าวว่าญาติผู้ใหญ่ของตนพัวพันคดีฉ้อราษฎร์บังหลวงก็สังเวช. | สุกียากี้ | น. ชื่ออาหารแบบญี่ปุ่นชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยเนื้อสัตว์ เต้าหู้ และผักบางชนิด, ไทยนำมาดัดแปลงโดยใช้เนื้อสัตว์ ผักต่าง ๆ วุ้นเส้น และไข่ เป็นต้น ลวกในน้ำซุป กินกับน้ำจิ้ม, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า สุกี้. | หมูแดง | น. เนื้อหมูคลุกนํ้าซีอิ๊วหรือเต้าหู้ยี้เป็นต้นแล้วย่างให้สุกระอุ. | หลน | (หฺลน) น. อาหารประเภทเครื่องจิ้มชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยกะทิ หัวหอม หมูหรือกุ้งสับ เคี่ยวรวมกันแล้วใส่ปลาร้าหรือเต้าเจี้ยวแห้งเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกชื่อตามนั้น ปรุงรสให้เปรี้ยว เค็ม หวาน เช่น ปลาร้าหลน เต้าเจี้ยวหลน เต้าหู้ยี้หลน ปลากุเลาหลน รับประทานกับผักสด. | ห่อเหี่ยว | ว. มีความรู้สึกหดหู่, สลดใจ, เช่น หมู่นี้อ่านหนังสือพิมพ์มีแต่ข่าวร้าย ๆ ทำให้รู้สึกห่อเหี่ยว. | เหี่ยวแห้ง | ก. ขาดความสดชื่นเพราะหดหู่ใจ เช่น จิตใจเหี่ยวแห้ง, แห้งเหี่ยว ก็ว่า. | แห้งเหี่ยว | ก. ขาดความสดชื่นเพราะหดหู่ใจ เช่น จิตใจแห้งเหี่ยว, เหี่ยวแห้ง ก็ว่า. | ฮ่อยจ๊อ | น. ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อปู มันหมูแข็งต้มสุก ผสมกับแป้งมันและเครื่องปรุงรส บดหรือโขลกจนเหนียวแล้วห่อด้วยฟองเต้าหู้เป็นท่อน กลม ๆ ยาว ๆ มัดเป็นเปลาะ ๆ นึ่งแล้วทอดให้สุก กินกับน้ำจิ้ม. | แฮ่กึ๊น | น. ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อกุ้งผสมแป้งมันและเครื่องปรุงรส บดหรือโขลกจนเหนียวแล้วห่อด้วยฟองเต้าหู้เป็นท่อนกลม ๆ ยาว ๆ นึ่งแล้วทอดให้สุกกินกับน้ำจิ้ม. |
| | Calendar, Lahu | ศักราชล่าหู่ [TU Subject Heading] | Lahu language | ภาษาล่าหู่ [TU Subject Heading] | Lahu (Asian people) | ชาวล่าหู่ [TU Subject Heading] | Depression | การกด, กดลง, ความซึมเศร้า, โรคซึมเศร้า, อาการซึมเศร้า, ซึมเศร้า, การซึมเศร้า, จิตใจหดหู่, อารมณ์ซึมเศร้า, อารมณ์เศร้า, เศร้าเสียใจ, อารมณ์เศร้าซึม, โรคซึมเศร้า, ซึม, การซึมเศร้า, ความเศร้า, อาการทางระบบประสาทคล้ายคนเสียสติ, การเป็นคนเงียบเหงาซึมเศร้า, อาการหดหู่ใจ [การแพทย์] | Depression, Mental | จิตใจหดหู่, อารมณ์ซึมเศร้า, การซึมเศร้า [การแพทย์] | myxedema | มิกซีดีมา, โรคที่เกิดจากร่างกายขาดฮอร์โมนไทรอกซินในระยะโตเต็มวัยแล้วอาการสำคัญของโรคคือ อ่อนแอ จิตใจหดหู่ ความคิดเชื่องช้า อ้วนง่ายแม้กินอาหารน้อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Mental Disorders | โรคทางจิต, จิตผิดปกติ, จิตใจหดหู่, ความแปรปรวนทางจิตใจ, ความผิดปกติทางจิต, ความผิดปกติทางด้านจิตใจ, ความแปรปรวนทางจิด [การแพทย์] |
| หดหู่ | [hothū] (v) EN: depress ; deject ; be dispirit FR: être déprimé ; être découragé | หดหู่ | [hothū] (adj) EN: shrunken in spirit ; downhearted ; depressed | กากเต้าหู้ | [kāk tāohū] (n) EN: soybean residue | กะหล่ำปลีพันเต้าหู้ | [kalam-plī phan taohū] (xp) EN: bean curd wrapped in cabbage | ข้าวผัดเต้าหู้ยี้ | [khāo phat tāohū-yī] (xp) EN: fried rice with fermented curd cake | ความหดหู่ | [khwām hothū] (n) EN: depression ; melancholy | น้ำเต้าหู้ | [nām taohū] (n, exp) EN: soybean milk | เต้าหู้ | [taohū] (n) EN: soybean curd ; bean curd ; bean cake ; soybean cake ; tofu FR: tofu [ m ] ; pain de pois de soja [ m ] | เต้าหู้ขาวชนิดอ่อน | [taohū khāo chanit øn] (n, exp) EN: soft white bean curd | เต้าหู้เหลือง | [taohū leūang] (n, exp) EN: yellow soybean curd | เต้าหู้ทอด | [taohū thøt] (n, exp) EN: fried bean curd | เต้าหู้ทอดผัดเต้าเจี้ยว | [taohū thøt phat taojīo] (n, exp) EN: fried bean curd with soybean paste | เต้าหู้ยี้ | [tāohū-yī] (n, exp) EN: fermented bean curd ; pickled bean curd |
| dark | (adj) สลดใจ, See also: ไม่เบิกบาน, หมดหวัง, ใจคอเหี่ยวแห้ง, หดหู่, ซึมเซา, หม่นหมอง, Syn. gloomy, hopeless | deject | (vt) ทำให้ผิดหวัง, See also: ทำให้เศร้าใจ, ทำให้หดหู่ใจ | dejectedly | (adv) อย่างผิดหวัง, See also: อย่างเศร้าใจ, อย่างหดหู่ใจ, Syn. gloomily, unhappily, sadly, despondently | dejection | (n) ความผิดหวัง, See also: ความเศร้าใจ, ความหดหู่ใจ, Syn. despondency | depress | (vt) ทำให้หดหู่ใจ, See also: ทำให้เศร้าใจ, Syn. depress, sadden, Ant. gladden, elate | depressed | (adj) เศร้าสลด, See also: ห่อเหี่ยว, หดหู่, หมดกำลังใจ, สิ้นหวัง, ไร้ความสุข, Syn. unhappy, hopeless, depressive, Ant. hopeful, cheerful | depressing | (adj) ทำให้ผิดหวัง, See also: ทำให้โศกเศร้า, ทำให้หดหู่, Syn. mournful, gloomy, Ant. happy, joyful | depressingly | (adv) อย่างผิดหวัง, See also: อย่างโศกเศร้า, อย่างหดหู่ใจ, Syn. unhappily, gloomily | depression | (n) ความสะเทือนใจ, See also: ความเศร้าสลด, ความหดหู่, Syn. unhappiness, gloom, Ant. hopefulness, cheerfulness | desolate | (adj) หดหู่ใจ, See also: หดหู่, เหี่ยวแห้ง, ไร้ความสุข, Syn. dispirited, heartsick, Ant. hopeful, cheerful | desolately | (adv) อย่างหดหู่ใจ, See also: อย่างไม่มีความสุข | desolation | (n) ความหดหู่ใจ, See also: ความสิ้นหวัง, Syn. despair, hopelessness | disconsolate | (adj) เศร้าใจ, See also: หดหู่ใจ, Syn. sad | disconsolately | (adv) อย่างเศร้าใจ, See also: อย่างหดหู่ใจ, Syn. sadly | dismal | (adj) หดหู่, See also: สิ้นหวัง, ท้อแท้, Syn. funereal, somber, Ant. happy, joyful | dispirit | (vt) ทำให้ท้อใจ, See also: ทำให้หดหู่, ทำให้สิ้นหวัง, Syn. dishearten, depress, Ant. encourage | dispirited | (adj) ท้อใจ, See also: หดหู่, สิ้นหวัง, Syn. depressed, hopeless, Ant. hopeful | dispiritedly | (adv) อย่างท้อแท้, See also: อย่างหดหู่, อย่างสิ้นหวัง, Syn. hopelessly | dour | (adj) เศร้าหมอง, See also: เศร้าใจ, ไม่สบายใจ, หดหู่ใจ, Syn. gloomy, depressed, cheerless | downcast | (adj) หดหู่ใจ, See also: โศกเศร้า, ซึมเศร้า, Syn. discouraged, unhappy, sad, desolate, Ant. hopeful, cheerful | glum | (adj) หม่นหมอง, See also: หดหู่, เศร้าสร้อย, Syn. moody, sullen | grief-stricken | (adj) หดหู่ใจ, See also: เสียใจ, สลดใจ, เศร้าโศก, Syn. sad | heavy-hearted | (adj) เศร้า, See also: เสียใจ, หดหู่ใจ, สลดใจ, Syn. depressed, melancholy, sad, Ant. cheerful, happy, joy | low | (adj) หดหู่ใจ, See also: หดหู่, เศร้าใจ, Syn. sad, depressed, unhappy, Ant. happy | low-spirited | (adj) เศร้าใจ, See also: หดหู่ใจ, Syn. sad, heartsore, dispirited, blue | melancholy | (adj) เศร้า, See also: เศร้าโศก, ตรอมใจ, ใจคอห่อเหี่ยว, สลดหดหู่, Syn. sad, woeful, Ant. happy | melancholy | (n) ภาวะเศร้าโศก, See also: ภาวะจิตใจห่อเหี่ยว, ความหดหู่, Syn. sadness, gloominess, Ant. happiness, joy | mope | (vi) เศร้าโศก, See also: เศร้าซึม, หดหู่ใจ, Syn. fret, grieve, despond, droop | blah | (sl) ห่อเหี่ยว, See also: หดหู่ใจ | blue funk | (sl) ความหดหู่ใจ, See also: ความซึมเศร้า | bring-down | (sl) สิ่งที่ทำให้หดหู่ใจ | seedy | (adj) ไม่สบาย, See also: เสื่อม, หดหู่, เหนื่อยอ่อน, Syn. sick, poorly, weakly |
| cheerless | adj. ไม่ร่าเริง, ไม่มีเสียงโห่ร้องสนับสนุน, เศร้าซึม, หดหู่ใจ. | damp | (แดมพฺ) { damped, damping, damps } adj., vi., vt., n. (ความ, ทำให้, กลายเป็น) ชื้น, หมาด, หดหู่, ไร้ชีวิตชีวา -Phr. (damp off เน่า, เปื่อย, เหี่ยว), See also: dampness n. ดูdamp ., Syn. humidity | dampen | (แดม'เพิน) vt. ทำให้ชื้น, ทำให้หมาด, ทำให้หดหู่ใจ vt. กลายเป็นชื้น | dash | (แดช) { dashed, dashing, dashes } vt. กระแทก, ทุบแตก, ชน, สาดอย่างแรง, ผสมหรือเจือปน, ทำลาย, ทำให้หดหู่ใจ, ทำให้ยุ่งเหยิง, ทำให้เสร็จโดยเร็ว vi. กระแทก, ชน, โถมเข้าไป, พุ่งเข้าชน, พุ่งไปอย่างรวดเร็ว n. การสาดน้ำ, เสียงสาดน้ำ, ปริมาณน้อย ๆ ที่ผสมเข้าสิ่งอื่น, เครื่องหมาย (๛) , ข | dejected | (ดิเจค'ทิด) adj. หดหู่ใจ, เศร้าซึม., See also: dejectedness n. ดูdejected | dejection | (ดิเจค'เชิน) n. ความหดหู่ใจ, ความเศร้าซึม, การขับอุจจาระ, อุจจาระ, Syn. depression | depress | (ดีเพรส') vt. ลดลง, กด, กดต่ำ, ระงับ, ยับยั้ง, ทำให้หดหู่ใจ, ทำให้ค่าหรือระดับต่ำลง | depressant | (ดีเพรส'เซินทฺ) adj. ซึ่งกดประสาท, ซึ่งระงับ, ซึ่งทำให้หดหู่ใจ. n. ยากดประสาท | depressed | (ดีเพรสดฺ') adj. หดหู่ใจ, เศร้า, ถูกกดลง, ตกต่ำ (เศรษฐกิจ) , ซึ่งอยู่ต่ำ, Syn. sad, Ant. cheerful | depressing | (ดีเพรส'ซิง) adj. เศร้าโศก, หดหู่ใจ, ตกต่ำ (เศรษฐกิจ) , ซึ่งถูกกดขี่ | depressive | (ดีเพรส'ซิฟว) adj. มีความโน้มเอียงในการกดต่ำ, หดหู่ใจ, See also: depressiveness n. ดูdepressive | desolate | (เดส'ซะลิท) adj. โดดเดี่ยว, ว่างเปล่า, อ้างว้าง, ไร้ผู้คน, หดหู่ใจ. vt. ทำให้อ้างว้าง, ทำให้ไร้ผู้คน, ทอดทิ้ง, ทำให้หดหู่ใจ, See also: desolator n.ดูdesolate, Syn. abandoned | despondence | (ดิสพอน'เดินซี, -เดินซฺ) n. ความหดหู่ใจ, ความท้อแท้, Syn. dejection, Ant. cheedrfulness | despondency | (ดิสพอน'เดินซี, -เดินซฺ) n. ความหดหู่ใจ, ความท้อแท้, Syn. dejection, Ant. cheedrfulness | despondent | (ดิสพอน'เดินทฺ) adj. หมดหวัง, ท้อแท้ใจ, หดหู่ใจ, Syn. depressed | dingy | (ดิน'จี) adj. ทึมทึบ, สลัว, สกปรก, มอซอ, หดหู่ใจ, ดูdinghy, See also: dingily adv. ดูdingy dinginess n. ดูdingy, Syn. dull, Ant. bright | disconsolate | (ดิสคอน'ซะลิท) adj. หดหู่ใจ, เศร้า | dismal | (ดิส'เมิล) adj. ใจหดหู่, ไม่เบิกบาน, กลัดกลุ้ม, จืดชืด. n. ความหดหู่ใจ, อารมณ์ห่อเหี่ยว, ทางตมตามชายฝั่ง, Syn. sad, gloomy, dreary, cheerless, Ant. pleasing, joyful | dispirited | (ดิสเพอ'ริทิด) adj. ท้อใจ, หมดกำลังใจ, ซึมเศร้า, หดหู่ใจ., See also: dispiritedness n., Syn. sad, glum | downcast | (ดาว'คาสทฺ) adj. หดหู่ใจ, ตาละห้อย, คอตก n. การล้มลง, การฉิบหาย, ความหายนะ, Syn. despondent, Ant. joyful, merriful | downhearted | adj. หดหู่ใจ, ท้อใจ, เศร้า, ท้อแท้, See also: downheartedness n. ดูdownhearted, Syn. dejected | funk | (ฟังคฺ) n. ความกลัว, อารมณ์หดหู่, อารมณ์เศร้าสลด., กลิ่นฉุน vt. ทำให้กลัว, หดถอย vi. หลบหลีก, See also: funker n. | funky | (ฟัง'คี) adj. ตื่นตระหนก., น่ากลัว, หดหู่ใจ, เหม็น, คล้ายดิน, ดีเยี่ยม, ยั่วยวน. | joyless | (จอย'ลิส) adj. ไม่มีความสุข, ไม่รื่นเริง, เศร้า, หดหู่ใจ, หม่นหมอง | languish | (แลง'กวิช) { languished, languishing, languishes } vi. อ่อนกำลัง, อ่อนเพลีย, อ่อนเปลี้ย, หดหู่, ไม่ไยดี, อิดโรย, ร่วงโรย, ละห้อย, โรยรา, ทำหน้าตาเศร้าหมอง., See also: languisher n. languishing adj. ดlanguishู | low | (โล) adj., adv. ต่ำ, น้อย, เตี้ย, หย่อน, งอลง, อ่อนเพลีย, อ่อนแรง, ค่าต่ำ, หดหู่ใจ, ต่ำต้อย, เลว, ชั่ว, หยาบช้า, เกียร์ต่ำ, เสียงต่ำ, เสียงแผ่ว n. สิ่งที่อยู่ต่ำ, ราคาต่ำ, ค่าต่ำ, เกียร์แรก, เกียร์ต่ำ, ความเลว, ความหยาบคาย. vi. (วัว) ร้อง, เปล่งเสียงคล้ายเสียงวัว n. การร้องเสี | lowering | (โล'เออริง) adj. มืดฟ้า, อากาศทำท่าจะมีฝน, ขมวดคิ้ว, บูดบึ้ง, หดหู่ใจ, โกรธ., Syn. louring, dark | megrim | (มี'กริม) n. จิตใจที่เศร้า, ความหดหู่ใจ, การเอาแต่ใจ, การตามอำเภอใจ, อาการปวดศีรษะ ข้างเดียว | melancholia | (เมลเลินโค'เลีย) n. โรคจิตที่มีอาการหดหู่ใจหรือซึมเศร้า., See also: melancholic adj. | melancholy | (เมล'เลินคอลลี) n. ภาวะจิตใจหดหู่, ใจคอเหี่ยวแห้ง, อาการครุ่นคิดมาก adj. หดใจหู่ใจ, สลดใจ, ครุ่นคิดหนัก, Syn. gloomy, dismal, gloom | mopish | (โม'พิช) adj. เซื่องซึม, หดหู่ใจ. | prostration | (พรอสเทร'เชิน) n. การนอนคว่ำ, การหมอบราบ, การนอนราบ, การหมดกำลัง, ภาวะหดหู่ใจเป็นที่สุด, Syn. exhaustion | taking | (เทค'คิง) n. การเอา, การหยิบ, สิ่งหยิบ, สิ่งจับ, สิ่งที่ถูกจับหรือเก็บ adj. ดึงดูดใจ, ชนะใจ, แพร่เชื้อได้., See also: takings n. ใบรับ, ภาวะกังวลใจหรือหดหู่ใจ. takingly adv. takingness n. |
| adust | (adj) ไหม้, เกรียม, เศร้า, สลดหดหู่ | damp | (adj) ชื้น, หมาด, เปียก, แฉะ, หดหู่, ไม่มีชีวิตชีวา | damp | (n) ความชื้น, อากาศชื้น, ความหดหู่ใจ, ความสลดใจ | damp | (vt) ทำให้ชื้น, ทำให้หมาดๆ, ทำให้หดหู่ใจ, ทำให้บรรเทา | dampen | (vt) ทำให้ชื้น, ทำให้หมาด, ทำให้หดหู่, ทำให้สลด, ต้าน, ทำให้เบาบาง | dejected | (adj) หดหู่ใจ, สลดใจ, เศร้าใจ | dejection | (n) ความหดหู่ใจ, ความเศร้าใจ, ความสลดใจ | depress | (vt) กดลง, ทำให้หดหู่, ลดลง, เหลือบตาลง, ยับยั้ง | desolate | (vt) ทำให้ไม่สบายใจ, ทำให้เศร้าสลด, ทำให้หดหู่ใจ, ทำให้อ้างว้าง | despond | (vi) ทุกข์ใจ, เสียใจ, สลดใจ, หดหู่ใจ, เศร้าโศก | despondence | (n) ความเสียใจ, ความสลดใจ, ความหดหู่ใจ, ความเศร้าโศก | despondent | (adj) เศร้าใจ, สลดใจ, สิ้นหวัง, ท้อแท้, หมดกำลังใจ, หดหู่ใจ | dingy | (adj) มอซอ, สกปรก, สลัว, ทึมๆ, หดหู่ใจ | disconsolate | (adj) สิ้นหวัง, เศร้าสลด, สิ้นหวัง, หดหู่, กลัดกลุ้ม | dismal | (adj) สลดใจ, ห่อเหี่ยว, หดหู่, มืดมัว, ไม่เบิกบาน, ไม่สดชื่น, กลุ้มใจ | downcast | (adj) เศร้าใจ, หดหู่ใจ, คอตก, ตาละห้อย | downhearted | (adj) ท้อใจ, ท้อแท้, หดหู่, เศร้า | dump | (n) ความเศร้า, ความทุกข์ใจ, ความหดหู่ใจ, ความกลัดกลุ้ม | heartsick | (adj) เศร้าใจ, หดหู่ใจ, เสียใจ, ช้ำใจ, เป็นไข้ใจ | melancholy | (adj) เศร้าโศก, หดหู่ใจ | melancholy | (n) ความเศร้าโศก, ความหดหู่ใจ | morose | (adj) ใจคอหดหู่, พื้นเสีย, บูดบึ้ง, อารมณ์ไม่ดี | slouchy | (adj) หดหู่, อิดโรย, หงอ, ห่อเหี่ยว | wilt | (vi) หดหู่, เหี่ยวแห้ง, สลด, ร่วงโรย, อับเฉา |
| 憂鬱 | [ゆううつ, yuuutsu] (n) ความเศร้าสลด, ความหดหู่ |
| 沈む | [しずむ, shizumu] TH: หดหู่ EN: to feel depressed |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |