ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สรรพนาม, -สรรพนาม- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ข้อย | [ข่อย] (pron) ฉัน (สรรพนามบุรุษที่ 1), See also: 16 | เจ้า | (pron) คุณ (สรรพนามบุรุษที่ 2) |
|
| ข้อย | (pron) ฉัน (สรรพนามบุรุษที่ 1), See also: S. ข้าน้อย |
| คิง | (pron) มึง (สรรพนามบุรุษที่สอง, หยาบ) | ตั๋ว | (pron) เธอ, ตัวเอง (สรรพนามบุรุษที่สอง) | ฮา | (pron) ข้า, กู (สรรพนามบุรุษที่หนึ่ง) | เปิ้น | (pron) เค้า, เรา (สรรพนามเรียกแทนตัวผู้พูด) |
| สู | (adj, pron) (สรรพนาม) เธอทั้งหลาย (คุณศัพท์) มีรสเปรี้ยวเกินไป |
| สรรพนาม | (n) pronoun | สรรพนาม | (n) pronoun, Syn. คำสรรพนาม, Example: การใช้สรรพนามเป็นเรื่องสำคัญในภาษาไทย ควรใช้ให้ถูกกาลเทศะ, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำแทนชื่อ, Notes: (ไวยากรณ์) | คำสรรพนาม | (n) pronoun, Example: การเลือกใช้คำสรรพนามในภาษาไทยนั้นต้องคำนึงถึงปัจจัยทางสังคมด้วย, Thai Definition: คำที่ใช้แทนคำนาม |
| ปฤจฉาสรรพนาม | น. คำแทนชื่อที่เป็นคำถาม เช่นคำ “ใคร” ฯลฯ. | สรรพนาม | น. คำที่ใช้แทนชื่อ นาม หรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อไม่ต้องกล่าวชื่อ นาม หรือข้อความนั้นซ้ำอีก เช่น ฉัน เขา เรา ท่าน. | กรรตุสัญญา | (กัดตุ-, กันตุ-) คำนำหน้านามหรือสรรพนามเป็นเครื่องหมายแสดงว่าคำนามหรือสรรพนามนั้นเป็นอาลปนะ เช่น ดูก่อนอานนท์ ข้าแต่พระคุณเจ้าทั้งหลาย, บางทีอาจเป็นคำร้องเรียกลอย ๆ โดยละเครื่องหมายนั้นไว้ก็ได้ เช่น อานนท์ ท่านผู้ฟังทั้งหลาย. | กระผม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | กระหม่อม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย ทูลพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าที่มิได้ทรงกรม และหม่อมเจ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, สรรพนามบุรุษที่ ๑ ที่หม่อมเจ้ามีรับสั่งระหว่างกัน. | กริยา | (กฺริยา, กะริยา) น. คำที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม. | กรุณา | ใช้ร่วมกับคำ พระ เป็นสรรพนามสำหรับพระมหากษัตริย์ เช่น กราบบังคมทูลพระกรุณา. | กัน ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้เสมอกันหรือผู้น้อยในทำนองกันเอง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, เช่น กันจะไปรอที่สถานีรถไฟ. | กู | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด ในปัจจุบันมักถือกันว่าไม่สุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | เกล้ากระผม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่ด้วยความเคารพมากหรือกับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, พูดสั้น ๆ ว่า เกล้า หรือเขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | เกล้ากระหม่อม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม พระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม และสมเด็จพระสังฆราช, ถ้าผู้พูดเป็นเพศหญิงใช้ว่า เกล้ากระหม่อมฉัน, เขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | แก ๒ | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยซึ่งเป็นผู้ที่สนิทสนม หรือผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ | แก ๒ | คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. | ขยม | (ขะหฺยม) ส. ขยุม, ฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ขยุม ๑ | (ขะหฺยุม) ส. ขยม, ฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้อย | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ขา ๔ | ส. เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓ แทนคำว่า เขาสองคน เช่น สองขาพ่อลูก หมายถึง เขาสองคนพ่อลูก. | ข้า ๒ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าเจ้า | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าน้อย | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าพเจ้า | (ข้าพะเจ้า) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด มักใช้อย่างเป็นทางการ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าพระพุทธเจ้า | (ข้าพฺระพุดทะเจ้า) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด กราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์ หรือกราบบังคมทูล กราบทูลเจ้านายชั้นสูง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ขึ้นมึงขึ้นกู | ก. ด่าทอด้วยอารมณ์โกรธโดยใช้สรรพนามว่า มึงกู. | เขา ๔ | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. | เขือ ๓ | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ (ลอ). | คุณ ๑, คุณ- | (คุน, คุนนะ-) ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นคำสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, (ปาก) คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึงด้วยความสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓, เช่น คุณอยู่ไหม ช่วยไปเรียนว่ามีคนมาหา. | เจ้าประคุณ | ส. คำที่ภิกษุสามเณรหรือคฤหัสถ์ใช้เรียกสมเด็จพระราชาคณะ, ใช้เต็มว่า ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | เจ้าพระคุณ | ส. คำที่ภิกษุสามเณรหรือคฤหัสถ์ใช้เรียกสมเด็จพระราชาคณะ, ใช้เต็มว่า ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, ใช้ว่า เจ้าประคุณ ก็มี. | เจ้าหล่อน | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓, บางทีผู้ใหญ่ใช้แก่ผู้น้อยในบุรุษที่ ๓. | เจ้า ๒ | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย สำหรับผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อยอย่างสุภาพหรือเอ็นดู, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น เจ้ามานี่, คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓, มักใช้เข้าคู่กับคำ นั่น เป็น เจ้านั่น เช่น เจ้านั่นจะไปด้วยหรือเปล่า. | ฉัน ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ฉาน ๒ | ส. ฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ดิฉัน | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคำสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, ดีฉัน ก็ว่า. | ดีฉัน | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคำสุภาพ, ดิฉัน ก็ว่า, โบราณผู้ชายใช้ว่า ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ดีฉาน | ส. ดิฉัน, ดีฉัน, เป็นคำที่เจ้านายผู้ชายมักใช้กับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ต้น ๔ | ส. สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้เรียกพระภิกษุสามัญ เช่น ต้นอยู่วัดไหน. | ตัวเอง | น. สรรพนามบุรุษที่ ๑ และบุรุษที่ ๒. | ตู ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ พหูพจน์, เช่น อันว่าพวกตูผู้เถ้า ก็จะน่งงเฝ้าแฝงหลัง (ม. คำหลวง ทศพร). | ตูข้า | ส. ตัวข้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ใต้เท้า | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยอย่างเคารพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้เท้ากรุณา | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับขุนนางที่มีศักดิ์สูงเช่นเจ้าพระยา, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้เท้ากรุณาเจ้า | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับขุนนางชั้นสมเด็จเจ้าพระยา, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้ฝ่าพระบาท | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้แก่เจ้านายชั้นพระองค์เจ้าและเจ้าฟ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้ฝ่าละอองพระบาท | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้แก่สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ท่าน | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นคำกลาง ๆ หรือแสดงความเคารพ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, ใช้แทนผู้ที่เราพูดถึงด้วยความเคารพ เช่น ท่านไม่อยู่ คุณพ่อท่านหลับแล้ว หรือโดยไม่เจาะจง เช่น อย่าลักทรัพย์ท่าน เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. | ธ ๒ | (ทะ) ส. ท่าน, เธอ, เช่น ธ ประสงค์ใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. | เธอ | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย มักใช้ในระหว่างเพื่อนผู้หญิงด้วยกัน หรือใช้กับผู้มีศักดิ์ตํ่ากว่า เช่นครูพูดกับศิษย์ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง ใช้กับผู้มีศักดิ์ตํ่ากว่าด้วยความยกย่องหรือเอ็นดูเป็นต้น เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. น. คำเติมท้ายคำนำพระนามเจ้านายที่แสดงความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ มาจากคำว่า ธ ซึ่งหมายถึงพระมหากษัตริย์ เช่น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระเจ้าหลานเธอ. | นาย | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้สำหรับเพื่อนฝูงในลักษณะที่เป็นกันเอง เช่น เย็นนี้นายจะไปด้วยไหม, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | บ้าง | ส. คำใช้แทนผู้หรือสิ่งที่พูดถึงในกรณีที่แยกกล่าวโดยเฉพาะ เช่น บ้างก็กิน บ้างก็เล่น, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. |
| Person | บุรุษสรรพนาม [TU Subject Heading] | Pronoun | สรรพนาม [TU Subject Heading] | Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] |
| They just got the pronoun wrong. | พวกเขาแค่ใช้สรรพนามผิดน่ะค่ะ The Da Vinci Code (2006) | A noun is a naming word, a pronoun is used instead of a noun, an adjective describes a noun, a verb describes the action of a noun, an adverb describes the action of a verb. | คำนามคือคำขนานนาม คำสรรพนามใช้แทนคำนาม คำคุณศัพท์นั้นใช้ขยายคำนาม คำกิริยาแสดงอาการของคำนาม คำวิเศษณ์นั้นช่วยขยายคำกิริยา Like Stars on Earth (2007) | A conjunction joins two sentences together, a preposition describes the relationship between a noun and a pronoun, and an interjection is a word thrown in to express feeling. | คำเชื่อมคอยเชื่อมสองประโยคเข้าด้วยกัน คำบุพบทใช้เพื่อบอกตำแหน่ง ของคำนามกับสรรพนาม และคำอุทานก็คือคำที่เอ่ยออกมา เพื่อแสดงความรู้สึก Like Stars on Earth (2007) | the writer switches pronouns from plural to singular. | คนเขียนเปลี่ยนสรรพนาม จากพหูพจน์เป็นเอกพจน์ Cradle to Grave (2009) | Incidentally, one can get beaten up in school simply by referring to oneself as "one. " | จะว่าไปแล้ว คนเราโดนซ้อมที่ร.ร. เพราะใช้สรรพนามแทนตัวว่าคนเรา The Lunar Excitation (2010) | That's the pronoun and this is the adverb. The grammar rules I've listed, you all need to memorize it. Okay? | นี่คือ สรรพนาม และนี่คือ adverb กฎของไวยากรณ์ พวกเธอต้องจำมันให้ได้นะ โอเค. God of Study (2010) | You don't have to use pronouns. You can say Stefan. | คุณไม่ต้องใช้สรรพนามเรียกแทนหรอก คุณแค่พูดว่า สเตฟาน Smells Like Teen Spirit (2011) | Watch out for the extra pronoun, though. | ระวังเรื่องการใช้สรรพนามด้วย The Smile (2012) | No, I'm just... Tired of using pronouns. | ไม่หรอก ผมแค่เบื่อที่จะใช้สรรพนาม Identity Crisis (2012) | And your choice of pronoun-- illuminating. | และการเลือกใช้สรรพนามของคุณ ก็ บรรเจิดมาก Mors Praematura (2013) | Yes, so that we can learn their names, if they have names, and then introduce pronouns later. | ใช่เพื่อให้เราสามารถเรียนรู้ชื่อ ของมันหากมันมีชื่อ แล้วแนะนำสรรพนามในภายหลัง Arrival (2016) | Your pronoun is the subject of the second clause. | สรรพนามคุณหมายความงั้น The Original (2016) |
| บุรุษสรรพนาม | [burut sapphanām] (n, exp) EN: personal pronoun FR: pronom personnel [ m ] | คำสรรพนาม | [kham sapphanām] (n) EN: pronoun FR: pronom [ m ] | นิยมสรรพนาม | [niyom sapphanām] (n, exp) EN: demonstrative pronoun FR: pronom démonstratif [ m ] | ประพันธสรรพนาม | [praphanthasapphanām] (n) EN: relative pronoun FR: pronom relatif [ m ] | ปฤจฉาสรรพนาม | [pritchāsapphanām] (n, exp) EN: interrogative pronoun FR: pronom interrogatif [ m ] | สรรพนาม | [sapphanām] (n) EN: pronoun FR: pronom [ m ] |
| demonstrative | (n) คำบ่งชี้, See also: คำสรรพนามที่ระบุว่าคน สัตว์ สิ่งของนั้นๆ แตกต่างจากสิ่งอื่น, Syn. determiner | I | (pron) คำสรรพนามเอกพจน์บุรุษที่1, See also: ผม, ดิฉัน, ข้าพเจ้า, หน, กระหม่อม | indefinite pronoun | (n) คำสรรพนามที่ไม่ชี้เฉพาะ, See also: เช่น someone, nothing, anything | interrogative | (n) สรรพนามที่ใช้เป็นคำถาม (ไวยากรณ์) | nominative | (n) รูปคำนาม/สรรพนาม/คุณศัพท์เมื่อเป็นประธานของประโยค | personal pronoun | (aux) บุรุษสรรพนาม | pronominal | (adj) ซึ่งได้จากคำสรรพนาม | pronoun | (n) คำสรรพนาม, See also: คำแทนนาม, Syn. reciprocal | reflexive | (adj) ซึ่งเป็นสรรพนามที่ย้อนกลับไปหาประธาน (ทางไวยากรณ์) | reflexive | (n) คำกริยาหรือสรรพนามย้อนกลับ | thine | (pron) บุรุษสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของของ thou (คำโบราณ) | un | (pron) คำสรรพนามใช้แทนคำนาม (ภาษาพูด), Syn. one |
| apposition | (แอพพะซิท'เชิน) n. การวางเข้าด้วยกัน, การวางเคียงข้างกัน, นามสรรพนามหรืออนุประโยคที่ขยายความหมายของนามสรรพนาม, อนุประโยคอื่น, Syn. juxtaposition | impersonal | (อิมเพอ' ซะเนิล) adj. ไม่ใช่ส่วนตัว, ไม่มีลักษณะของมนุษย์, ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม. -n. คำกริยาหรือคำนามที่ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม. | indefinite pronoun | สรรพนามที่ไม่กำหนดแน่ชัดเช่น any, some, somebody | personal pronoun | n. บุรุณสรรพนาม (I, we, you, he, she, it, they) | pronoun | (โพร'เนานฺ) n. สรรพนาม | she | (ชี) pron. หล่อน, เธอ, ตัวเมีย (ใช้นำชื่อสัตว์) , มัน (ใช้เป็นสรรพนามของเรือ, รัฐ, โลก, ดวงดาวเป็นต้น) .n. ผู้หญิง, สตรี, ตัวเมีย, เพศหญิง, สิ่งที่ถือเป็นเพศหญิง | substantive | (ซับสแทน'ทิฟว) n., adj. (เกี่ยวกับ) คำนาม, สรรพนาม, ถ้อยคำที่ใช้แทนคำนาม, อิสระ, มีการอยู่อย่างอิสระ, สำคัญ, แท้จริง, ธาตุแท้, มีแก่นสาร, มากมาย, ยิ่งใหญ่, (สีย้อม) ย้อมสีได้โดยไม่ต้องมีตัวเสริม., See also: substantival adj. substantiveness n. | their's | (แธร์ซ) pron. ของเขาเหล่านั้น (เป็นสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ they) | thine | (ไธนฺ) pron. บุรุษสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของของ thou, สิ่งที่เป็นของคุณ | thyself | (ไธ'เซลฟฺ) pron. ตัวของคุณเอง, ตัวของท่านเอง, เป็นสรรพนามย้ำที่ใช้แทนthouหรือthee |
| does | (vt กระทำ(ใช้กับสรรพนามบุรุษที่) 3) | pronoun | (n) คำสรรพนาม |
| His Eminence | (pron) พระคุณเจ้า เป็นคำสรรพนามสำหรับเรียกพระสงฆ์มีสมณศักดิ์ในศาสนาคริสต์ | His Grand Eminence | (jargon) พระคุณเจ้าสูงสุด เป็นคำสรรพนามสำหรับเรียกพระสงฆ์มีสมณศักดิ์ชั้นพิเศษในศาสนาคริสต์ |
| 俺 | [おれ, ore] (n, vulgar) สรรพนามใช้เรียกตัวเองของผู้ชาย ไม่สุภาพ | 僕 | [ぼく, boku] (n) สรรพนามบุรุษที่ 1 สำหรับผู้ชาย, สุภาพน้อยกว่า わたし | 君 | [きみ, kimi] (pron) สรรพนามบุรุษที่ 2 | 彼 | [かれ, kare] (pron) สรรพนามบุรุษที่สามที่เป็นเพศชาย, เขา (ผู้ชาย) |
| お前 | [おまえ, omae] TH: คำสรรพนามเรียกฝ่ายตรงข้าม ไม่สุภาพ EN: you (sing, fam) | ご主人 | [ごしゅじん, goshujin] TH: คำสรรพนามใช้เรียกสามีของผู้อื่น EN: husband (hon) |
| alle | (ind-pron) ทั้งหมด (มาจาก all ที่ถูกผันเมื่อตามด้วยคำนามพหูพจน์) เช่น alle Leute ทุกคน; all ไม่ถูกผันเมื่อตามด้วยคำนำหน้านามที่เฉพาะหรือคำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น all die/meine Sache สิ่งของของฉันทั้งหมด, See also: ganz, gesamt | allen | (ind-pron) ทั้งหมด (สรรพนามในรูปของ Dativ) เช่น in allen Fällen ในทุกกรณี | aller | (ind-pron) ทั้งหมด (สรรพนามในรูปของ Genetiv) เช่น in aller Form, หรือใช้เน้นคำคุณศัพท์ในการเปรียบเทียบขั้นสูงสุด เช่น das Beste aller Zeiten สิ่งที่เยี่ยมที่สุดในทุกสมัย | denen | (rel, pron) สรรพนามสำหรับนามพหูพจน์รูป Dativ ที่ใช้ในวลีที่เชื่อมกับประโยคหลัก เช่น Wir kümmern uns um die Personen, von denen ihr Geschäft abhängt. เราดูแลผู้คนที่มีความสำคัญต่อธุรกิจของเขาเอง | deren | (relpron) ของเธอ (เป็นสรรพนามสำหรับนามเอกพจห์เพศหญิงรูป Genetiv ที่ใช้แสดงความเป็นเจ้าของในวลีที่เชื่อมกับประโยคหลัก) เ เช่น Das ist Frau Schwarzkopf, deren Namen auf dem Schwarzbrett steht. นี่คือคุณชวาสคอร์ฟที่ชื่อของเธออยู่บนบอร์ด | dessen | (relpron) ของเขา เป็นสรรพนามสำหรับนามเอกพจห์เพศชายและเพศกลางรูป Genetiv, See also: deren | dies | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศกลาง ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น Wir haben eine Wanderung 7 Tage im Wald gemacht. Dies war für uns ein kleines Abendteuer. พวกเราไปเดินป่ามาเจ็ดวัน นี่เป็นการผจญภัยเล็กๆ เชียวนะ, See also: dieser, diese, Syn. dieses | diese | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศหญิง ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น diese Woche สัปดาห์นี้ | diesem | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศชายและเพศกลาง ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ รูป Dativ) เช่น das Bild von diesem Mann รูปของผู้ชายคนนี้, See also: dies | diesen | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศชายรูป Akkusativ และนามพหูพจน์รูป Dativ ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น 1. Wer hat in diesen Apfel gebissen? ใครกัดแอปเปิ้ลลูกนี้เนี่ย 2. Ich habe dir ein Geschenk mit diesen Früchten mitgebracht. ฉันเอาของขวัญพร้อมด้วยผลไม้เหล่านี้มาฝากเธอ | dieser | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศชายรูป Nominativ และนามเพศหญิงรูป Dativ และ Genetiv ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น dieser alte Mann, dieser alten Frau | dieses | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศกลางรูป Nominativ, Genetiv และ Akkusativ และนามเพศชายรูป Genetiv ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น dieses Jahr ปีนี้, die Haare dieses Mädchen เส้นผมของหญิงสาวคนนี้ | du | (pron) คุณหรือเธอ, สรรพนามบุรุษที่ 2 (สุภาพน้อยกว่า Sie, ใช้เวลาคุยกับคนที่สนิท หรือ ไม่เป็นทางการ) | er | (pron) เขา หรือ สรรพนามสำหรับคำนามเพศชายในรูปประธาน, See also: sie, es | es | มัน เป็นสรรพนามสำหรับคำนามเพศกลางทั้งรูปประธาน(Nominativ) และกรรมตรง (Akkusativ) | man | (n) |Singl.| ผู้คนหรือเรา เป็นคำสรรพนามที่ใช้บ่งถึงเหตุการณ์ทั่วไป เช่น Man spricht nicht mit vollem Mund. เราไม่ควรพูดขณะทานข้าวหรือมีข้าวเต็มปาก | deren | (relpron) เป็นสรรพนามสำหรับนามพหูพจห์เพศใดๆ รูป Genetiv (แสดงความเป็นเจ้าของ), Syn. derer ภาษาพูด | ich | (pron) ฉัน, ดิฉัน, ผม (คำสรรพนามบุรุษที่ 1รูปประธาน) เช่น Ich bin groß. | du | (pron) เธอ, นาย (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน) เช่น Du bist groß. | sie | (pron) หล่อน, เธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศหญิง) เช่น Sie ist groß. | es | (pron) มัน (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศกลาง) เช่น Es ist groß. | er | (pron) เขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศชาย) เช่น Er ist groß. | wir | (pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Wir sind groß. | sie | (pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Sie sind groß. | Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค)เช่น Sie sind groß. | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. | ihr | (pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ) เช่น Ihr seid groß. | dich | (pron) เธอ, นาย (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk.) เช่น Wer liebt dich? | Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? | ihn | (pron) เขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมตรง Akk. เพศชาย) เช่น Wer liebt ihn? | sie | (pron) หล่อน, เธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมตรง Akk. เพศหญิง) เช่น Wer liebt sie? | es | (pron) มัน (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมตรง Akk. เพศกลาง) เช่น Wer liebt es? | uns | (pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์) เช่น Wer liebt uns? | euch | (pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ) เช่น Wer liebt euch? | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? | mir | (pron) ฉัน, ดิฉัน, ผม (คำสรรพนามบุรุษที่ 1รูปกรรมรอง Dat.) เช่น Die Farbe gefällt mir. | Ihnen | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. | ihm | (pron) เขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมรอง Dat. เพศชาย) เช่น Die Farbe gefällt ihm. | ihr | (pron) หล่อน, เธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมรอง Dat. เพศหญิง) เช่น Die Farbe gefällt ihr. | ihm | (pron) มัน (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมรอง Dat. เพศกลาง) เช่น Die Farbe gefällt ihm (einem Kind). | uns | (pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์) เช่น Die Farbe gefällt uns. | euch | (pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์ ) เช่น Die Farbe gefällt euch. | Ihnen | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. | ihnen | (pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์) เช่น Die Farbe gefällt ihnen. | sie | (pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์) เช่น Wer liebt sie? | mich | (pron) ฉัน, ดิฉัน, ผม (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปกรรมตรง Akk.) เช่น Wer liebt mich? | dir | เธอ, นาย (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat.) เช่น Die Farbe gefällt dir. | mein | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น mein alter Tisch, mein altes Haus | meine | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น meine alte Hose | mein | 2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น mein altes Haus |
| me | สรรพนามบุรุษที่หนึ่งในรูปกรรมตรง เช่น Tu me comprends? เธอเข้าใจฉันไหม, Tu m'écoutes? เธอฟังฉันอยู่หรือเปล่า | te | สรรพนามบุรุษที่สองในรูปกรรมตรง เช่น Je te comprends. ฉันเข้าใจเธอนะ, Je t'invite. ฉันขอเชิญเธอ | nous | สรรพนามบุรุษที่หนึ่งพหูพจน์ในรูปกรรมตรง เช่น Tu nous accompagnes? เธอติดตามพวกเราไปไหม | vous | สรรพนามบุรุษที่สองในรูปกรรมตรง เช่น Je vous rejoins. ฉันตามพวกเธอไปละกัน | me | สรรพนามบุรุษที่หนึ่งในรูปกรรมรอง เช่น Tu me rends visite? เธอมาเยี่ยมฉันไหม, Tu m'apportes des disques? เธอนำ(เอา)แผ่นเสียงมาให้ฉันทีได้ไหม | te | สรรพนามบุรุษที่สองในรูปกรรมรอง เช่น Je te montre mes disques. ฉันโชว์(แสดง)เธอแผ่นเสียงของฉัน, Je t'offre un verre. ฉันเอาแก้วให้เธอนะ | nous | สรรพนามบุรุษที่หนึ่งพหูพจน์ในรูปกรรมรอง เช่น Tu nous offres l'entrée? เธออนุญาตให้พวกเราเข้าไปไหม | vous | สรรพนามบุรุษที่สองในรูปกรรมรอง เช่น Je vous réserve des places? ฉันจองที่ให้คุณ(พวกเธอ)ดีไหม | pronominalisation | (n) |f| การทำให้เป็นสรรพนาม, การเปลี่ยนรูปเป็นสรรพนาม, See also: transformation en pronom |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |