มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ธรรมเนียม | (n) custom, See also: tradition, manner, way, mode, method, system, Syn. ประเพณี, จารีต, ขนบธรรมเนียม, แบบแผน, แบบอย่าง, Example: ธรรมเนียมของคนไทยถือยึดถือระบบอาวุโส, Count Unit: อย่าง, แบบ, Notes: (บาลี, สันสกฤต) | ค่าธรรมเนียม | (n) charge, See also: fee, due, duty, Syn. ค่าบำรุง, Example: ธนาคารพาณิชย์ให้บริการเพื่อประโยชน์ของลูกค้า โดยลูกค้าอาจจะเสียค่าธรรมเนียมสำหรับบริการบางอย่างหรือไม่เสียเลยก็ได้, Thai Definition: ค่าบริการที่เรียกเก็บตามกฎหมาย | ค่าฤชาธรรมเนียม | (n) cost, See also: fee, charge, Example: ศาลสั่งให้จ่ายค่าฤชาธรรมเนียมให้ฝ่ายโจทย์ด้วย, Thai Definition: ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดำเนินคดี รวมถึงค่าป่วยการพยาน ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมในการส่งเอกสารและบังคับคดี และค่าธรรมเนียมอื่นๆ บรรดาที่กฎหมายบังคับให้เสีย, Notes: (กฎหมาย) | ธรรมเนียมประเพณี | (n) custom, See also: tradition, convention, Syn. ประเพณี, ขนมธรรมเนียม, ธรรมเนียม, Example: การไหว้เป็นธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย, Count Unit: แบบ, อย่าง, Notes: (บาลี, สันสกฤต) | เสียค่าธรรมเนียม | (v) pay for fee, Example: ผู้แจ้งหายต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นจำนวนเงิน 20 บาทตามกฎ |
|
| ขนบธรรมเนียม | (ขะหฺนบทำ-) น. แบบอย่างที่นิยมกันมา. | ค่าธรรมเนียม | น. เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่เรียกเก็บตามกฎหมาย เนื่องจากการให้บริการของหน่วยงานของรัฐ เช่น ค่าธรรมเนียมศาล ค่าธรรมเนียมการส่งออกตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน. | ค่าธรรมเนียมศาล | น. ค่าธรรมเนียมที่ต้องชำระให้แก่ศาลในการดำเนินคดี. | ค่าฤชาธรรมเนียม | (-รึชา-) น. ค่าธรรมเนียมที่กฎหมายบังคับให้ต้องเสียและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการดำเนินคดี รวมถึงค่าป่วยการพยาน ค่าทนายความ และค่าธรรมเนียมศาลอื่น ๆ. | ธรรมเนียม | (ทำ-) น. ประเพณี, แบบแผน, แบบอย่าง. | ธรรมเนียมประเพณี | น. ประเพณีเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญ ถ้าฝ่าฝืนก็ไม่ถือว่าผิดหรือชั่ว. | เสียธรรมเนียม | ก. ผิดไปจากแบบแผนที่เคยปฏิบัติกันมา เช่น เมื่อเวลาไปไหว้พระควรมีดอกไม้ธูปเทียนไปด้วย อย่าให้เสียธรรมเนียม. | ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ | น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔). | ข้านอกเจ้าบ่าวนอกนาย | น. ผู้ที่กระทำหรือประพฤตินอกเหนือคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมา. | เขตประกอบการเสรี | น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวเนื่องกัน โดยของที่นำเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี อากร และค่าธรรมเนียมเป็นพิเศษ. | เข้าเจ้าเข้านาย | ก. รู้จักธรรมเนียมเข้าเฝ้าเจ้านาย และเข้าไปหาผู้หลักผู้ใหญ่อย่างเหมาะสม. | เข้าตามตรอกออกตามประตู | ก. ทำตามธรรมเนียมในเรื่องการสู่ขอ. | คดีอนาถา | น. คดีแพ่งที่โจทก์หรือจำเลยได้รับอนุญาตจากศาลให้ฟ้องหรือต่อสู้คดีได้ โดยไม่ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งหมดหรือบางส่วน. | ค่าขึ้นศาล | น. ค่าธรรมเนียมศาลในการยื่นคำฟ้อง. | ค่าปากเรือ | น. ค่าธรรมเนียมที่เก็บจากเรือบรรทุกสินค้าขาเข้าโดยวัดขนาดกว้างตอนกลางเรือเป็นกำหนด, ภาษีปากเรือ หรือ จังกอบเรือ ก็เรียก. | ค่าเผา | น. ค่าธรรมเนียมดูเงินโดยใช้วิธีเผาเงินตราเพื่อพิสูจน์. | โคตรภู | (โคดตฺระพู) น. บุคคลผู้ตั้งอยู่ในญาณซึ่งเป็นลำดับอริยมรรค, พระสงฆ์ที่ไม่เคร่งครัดในศาสนา มีขนบธรรมเนียมห่างจากธรรมวินัย แต่ยังถือตนว่าเป็นภิกษุสงฆ์อยู่ เรียกว่า โคตรภูสงฆ์. | จัด ๑ | ว. ยิ่ง, เต็มที่, เกินปรกติมาก, มากหรือหนักไปในทางใดทางหนึ่ง, เช่น ระเบียบจัด ธรรมเนียมจัด หิวจัด ร้อนจัด หนาวจัด แดดจัด | จับมือ | ก. ทักทายตามธรรมเนียมตะวันตกโดยบุคคล ๒ คน ประสานมือขวาของกันและกันแล้วเขย่า, เรียกอาการที่ครูสอนโดยจับมือผู้เริ่มเรียนให้ทำตามในการสอนบางวิชาเช่น ฟ้อนรำ ดนตรี หรืองานฝีมือบางอย่าง เช่น จับมือรำ จับมือตีระนาด, โดยปริยายหมายถึงร่วมมือกัน เช่น ชาวบ้านจับมือกันพัฒนาแหล่งน้ำ. | ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน. | ดวงตราไปรษณียากร | น. ดวงตราที่ใช้ปิดเป็นค่าธรรมเนียมที่ต้องเสียสำหรับส่งจดหมายหรือไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ทางไปรษณีย์. | ตราไปรษณียากร | น. แสตมป์, (กฎ) บัตรตราใด ๆ ซึ่งจัดให้มีขึ้น เพื่อใช้เป็นค่าไปรษณียากร หรือค่าธรรมเนียมอื่น หรือจำนวนเงินที่จะต้องเสียในการส่งไปรษณียภัณฑ์ รวมทั้งตราไปรษณียากรสำหรับผนึก หรือตราไปรษณียากรที่พิมพ์ ดุน หรือแสดงไว้โดยวิธีอื่นบนซอง กระดาษห่อ ไปรษณียบัตร หรือสิ่งอื่น ๆ. | ตะวันตก | เรียกประเทศที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริกาว่า ประเทศตะวันตก, เรียกประชาชนโดยเฉพาะพวกผิวขาว ตลอดจนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า ชาวตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น. | ทำวัตร | ก. กระทำกิจที่พึงกระทำตามหน้าที่หรือธรรมเนียมเช่นไหว้พระสวดมนต์เช้าคํ่าของพุทธบริษัท, ทำวัตรพระ ก็ว่า | ทำวัตร | ทำสามีจิกรรมตามธรรมเนียมของพระภิกษุ เช่น ก่อนเข้าพรรษาพระภิกษุต้องไปทำวัตรพระอุปัชฌาย์ที่อยู่ต่างจังหวัด. | ทำเนียม | น. ธรรมเนียม. | เทศาจาร | น. ธรรมเนียมของบ้านเมือง. | นอกคอก | ว. ประพฤติไม่ตรงตามแบบตามธรรมเนียมประเพณีของบรรพบุรุษ. | นิติ | (นิ-ติ, นิด) น. นีติ, กฎหมาย, กฎปฏิบัติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. | นีติ | น. นิติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฎหมาย, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. | เนติ | (เน-ติ) น. นิติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฎหมาย, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. | แนะนำ | บอกให้รู้จักกันตามธรรมเนียม. | บทอัศจรรย์ | น. บทร้อยกรองตามธรรมเนียมนิยมในวรรณคดี พรรณนาเพศสัมพันธ์ของชายหญิง มักกล่าวให้เป็นที่เข้าใจโดยใช้โวหารเป็นสัญลักษณ์หรืออุปมาอุปไมยเป็นต้น. | บัตรเครดิต | บัตรหรือสิ่งอื่นใดที่ผู้ประกอบการออกให้แก่ลูกค้าเพื่อใช้ชำระค่าสินค้า ค่าบริการหรือค่าอื่นใดแทนการชำระด้วยเงินสด หรือเพื่อใช้เบิกถอนเงินสด โดยลูกค้าต้องชำระค่าธรรมเนียม ค่าบริการ ดอกเบี้ย หรือค่าอื่นใด แต่ไม่รวมถึงบัตรที่ได้มีการชำระค่าสินค้า ค่าบริการหรือค่าอื่นใดไว้ล่วงหน้าแล้ว. | แบบแผน | น. ขนบธรรมเนียมที่กำหนดใช้หรือที่เคยประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา. | ประเพณี | น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี. | ปเวณี | (ปะ-) น. ขนบธรรมเนียม, แบบแผน | ปเวณี | เชื้อสาย, การเป็นสามีภรรยากันตามธรรมเนียม. | ปุโรหิต | น. พราหมณ์ที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ในทางนิติ คือ ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี. | ไปรษณียากร | ค่าธรรมเนียมที่ต้องเสียสำหรับส่งไปรษณียภัณฑ์ทางไปรษณีย์. | พรต | มรรยาท, เขตแห่งความประพฤติ, ธรรมเนียม, ประเพณี, การสมาทานหรือประพฤติตามลัทธิศาสนา, การจำศีล (เช่น การเว้นบริโภค เว้นเมถุนธรรม) | พลากร ๒ | น. อากรที่เรียกเก็บจากจำนวนต้นของไม้ผลยืนต้น ๗ ชนิด คือ ขนุน สะท้อน (กระท้อน) เงาะ ส้มต่าง ๆ มะไฟ ฝรั่ง สาเก และไม้ล้มลุกคือสับปะรด (ลัทธิธรรมเนียม). | พิธี | น. งานที่จัดขึ้นตามลัทธิหรือความเชื่อถือตามขนบธรรมเนียมประเพณีเพื่อความขลังหรือความเป็นสิริมงคลเป็นต้น เช่น พิธีพระราชทานปริญญาบัตร พิธีมงคลสมรส พิธีประสาทปริญญา | พิธี | แบบอย่าง, ธรรมเนียม, เช่น ทำให้ถูกพิธี | พิธีรีตอง | น. งานพิธีตามแบบตามธรรมเนียม. | ระบอบ | น. แบบอย่าง, ธรรมเนียม, เช่น ทำถูกระบอบ | ฤชา | (รึ-) น. ค่าธรรมเนียม. | ฤชากร | (รึชากอน) น. เงินที่ได้จากค่าธรรมเนียม. | ฤต | ธรรมเนียม, ความจริง, ความชอบธรรม. | ลูกนอกคอก | น. ลูกที่ประพฤติไม่ตรงตามที่พ่อแม่สั่งสอน หรือตามธรรมเนียมประเพณีของบรรพบุรุษ. |
| policy fee | ค่าธรรมเนียมกรมธรรม์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | pantage | ค่าธรรมเนียมผ่านสะพาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | premium | ๑. ค่ากำนัล๒. ค่าธรรมเนียมพิเศษ๓. เบี้ยประกันภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | advance the costs | ออกเงินทดรองค่าฤชาธรรมเนียม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | court fees | ค่าธรรมเนียมศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | costs | ค่าฤชาธรรมเนียม, ค่าธรรมเนียม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | costs of action | ค่าฤชาธรรมเนียมในการฟ้องคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | costs of execution | ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | cess; cesse | ภาษี, ค่าธรรมเนียมผ่านทาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | cesse; cess | ภาษี, ค่าธรรมเนียมผ่านทาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | convention | ๑. การประชุมใหญ่ (ก. ปกครอง)๒. อนุสัญญา (ก. ระหว่างประเทศ)๓. ขนบธรรมเนียม, ประเพณีนิยม (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | chiminage | ค่าธรรมเนียมผ่านทางในป่า (ก. เก่าอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | convention | ๑. การประชุมใหญ่๒. อนุสัญญา๓. ขนบธรรมเนียม, สัญนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | carrying charge | ค่าธรรมเนียมที่ต้องเสียเพิ่มต่างหากจากดอกเบี้ย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | costs of redemption | ค่าฤชาธรรมเนียมในการไถ่ทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | costs to abide the event | ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความที่ฝ่ายแพ้ต้องจ่ายแทน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | carry costs | เสียค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความฝ่ายที่ชนะคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | differential duty; duty, differential | อากรเพิ่มพิเศษ, ค่าธรรมเนียมพิเศษ, อากรอัตราต่างกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | differential duty | อากรเพิ่มพิเศษ, ค่าธรรมเนียมพิเศษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | duty, differential; differential duty | อากรเพิ่มพิเศษ, ค่าธรรมเนียมพิเศษ, อากรอัตราต่างกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | gratis | ทำให้เปล่า, ยกเว้นค่าธรรมเนียม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fee | ค่าธรรมเนียม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | fee | ค่าธรรมเนียม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fee, equalization | ค่าธรรมเนียมชดเชย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | equalization fee | ค่าธรรมเนียมชดเชย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | turnpike | ด่านเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | taxation of costs | การเก็บค่าฤชาธรรมเนียม (ศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trade usage | ธรรมเนียมการค้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | keelage | ค่าธรรมเนียมท่าจอดเรือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | keyage | ค่าธรรมเนียมท่าขนถ่ายสินค้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | usage | ขนบธรรมเนียม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | usage | ธรรมเนียม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | usage of trade | ธรรมเนียมการค้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | usance | กำหนดเวลาใช้เงินตามธรรมเนียม (สำหรับตั๋วเงิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wharfage | ค่าธรรมเนียมท่าเทียบเรือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | with costs | พร้อมด้วยค่าฤชาธรรมเนียม, ตลอดทั้งค่าฤชาธรรมเนียม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Administrative fee | ค่าธรรมเนียมการบริหาร [เศรษฐศาสตร์] | Front end fee | ค่าธรรมเนียมในการจัดหาเงินกู้ [เศรษฐศาสตร์] | Port congestion surcharge | ค่าธรรมเนียมพิเศษกรณีท่าเรือคับคั่ง [เศรษฐศาสตร์] | Import charge and surcharge | ค่าภาระและค่าธรรมเนียมพิเศษสินค้าเข้า [เศรษฐศาสตร์] | Irrigation charge | ค่าธรรมเนียมชลประทาน [เศรษฐศาสตร์] | Road user charge | ค่าธรรมเนียมการใช้ถนน [เศรษฐศาสตร์] | Syndication fee | ค่าธรรมเนียมในการให้กู้ยืมร่วม [เศรษฐศาสตร์] | Maintenance Fees | ค่าธรรมเนียมเพื่อรักษาสิทธิในสิทธิบัตรที่ได้รับจดทะเบียนแล้ว [ทรัพย์สินทางปัญญา] | นอกคอก | ประพฤติไม่ตรงตามแบบตามธรรมเนียมประเพณีของบรรพบุรุษ, Example: คำที่มักเขียนผิด นอกครอก [คำที่มักเขียนผิด] | Commission | ค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์, Example: ค่าธรรมเนียมในการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ผู้ลงทุนจะต้องชำระให้แก่บริษัทที่เป็นนายหน้า ในอัตราที่ตกลงกันระหว่างลูกค้าและบริษัท แต่ต้องไม่ต่ำกว่าอัตราที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กำหนดไว้โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 (ช่วง 3 ปีแรก) ระหว่างวันที่ 14 มกราคม 2550 – 13 มกราคม 2553 ให้คิดค่าธรรมเนียมขั้นต่ำที่ 0.25% และการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านอินเทอร์เน็ตให้คิดขั้นต่ำที่ 0.15% ของมูลค่าการซื้อขาย ช่วงที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2553- 31 ธันวาคม 2554 ให้คิดค่าธรรมเนียมแบบขั้นบันได (Sliding Scale) คือ มีอัตราค่าธรรมเนียมแปรผันลดลงตามปริมาณธุรกรรมที่เพิ่มขึ้น สำหรับค่าธรรมเนียมซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ตจะไม่เกิน 60% ของอัตราปกติ และช่วงที่ 3 คือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป ค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านอินเทอร์เน็ตจะเป็นแบบต่อรองกันอย่างเสรี [ตลาดทุน] | Customs and practices | ประเพณีและธรรมเนียมปฏิบัติ [TU Subject Heading] | Fees, Administrative ; Fees ; Port charges ; Service charges | ค่าธรรมเนียม [TU Subject Heading] | User charges | ค่าธรรมเนียมการใช้ [TU Subject Heading] | Waste Disposal Fees | ค่าธรรมเนียม(ในการ)กำจัดของเสีย [สิ่งแวดล้อม] | Disposal Fee | ค่าธรรมเนียมกำจัด(ขยะ) [สิ่งแวดล้อม] | Surcharge | ค่าธรรมเนียมพิเศษ, Example: ค่าธรรมเนียมที่เพิ่มขึ้นจากอัตราค่าธรรมเนียม หรือภาษีตามปกติ เช่น ค่าธรรมเนียมพิเศษการนำเข้ากากถั่วเหลือง เป็นค่าธรรมเนียมที่เก็บเพิ่มขึ้นหลังจากที่มีการเรียก เก็บภาษีนำเข้าถั่วเหลืองในอัตราปกติแล้ว [สิ่งแวดล้อม] | Import Surcharge | ค่าธรรมเนียมพิเศษนำเข้า, Example: ภาษีพิเศษที่รัฐาบาลเรียกเก็บจากสินค้านำเข้า บางชนิดเพิ่มเติมจากอัตราภาษีปกติ ค่าธรรมเนียมพิเศษนำเข้านี้มักใช้เป็นมาตรการชั่วคราว เพื่อแก้ไขปัญหาการค้าที่เกิดขึ้นในประเทศ เช่น ในช่วงที่ผลิตผลเกษตรออกสู่ตลาดมาก รัฐบาลก็อาจเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษนำเข้ากับผลิตผลเกษตรชนิดเดียวกันจากต่าง ประเทศ เพื่อป้องกันมิให้ราคาสินค้าเกษตรชนิดนี้ตกลงไปอีก [สิ่งแวดล้อม] | Condolences | เมื่อใดที่ประมุขของรัฐผู้รับ หรือบุคคลในครอบครัวของประมุขนั้นถึงแก่กรรม เป็นธรรมเนียมที่ผู้แทนทางการทูตซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ ประจำอยู่ในรัฐนั้น หลังจากที่ได้รายงานให้กระทรวงการต่างประเทศของผู้แทนทางการทูตนั้นก่อนทาง โทรเลขหรือโทรสารจะไปเยี่ยมหรือพบกับเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมของรัฐนั้นเพื่อ แสดงความเสียใจในนามของประมุขของรัฐของตน โดยมิต้องรอรับคำสั่งเป็นพิเศษจากกระทรวงการต่างประเทศก่อนตามปกติ โทรเลขหรือโทรสารแสดงความเสียใจนั้นจะส่งจากประมุขของรัฐ ไปยังบุคคลที่เหมาะสมในครอบครัวที่ประสบความทุกข์โศกนั้นโดยตรง [การทูต] | Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] | Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] | National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] | Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] | Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | Wives of Diplomats | ภรรยาของนักการทูต ในประเทศที่มีกษัตริย์ และเอกอัครราชทูตจัดถวายพระราชสาส์นตราตั้งต่อกษัตริย์หรือราชินีในฐานะ ประมุขของรัฐนั้น มักจะให้ภรรยาเข้าเฝ้าด้วยต่างหาก แต่การเข้าเฝ้านั้นจะมีพิธีรีตองน้อยกว่าของเอกอัครราชทูตในอดีตกาล ภรรยาของเอกอัครราชทูตมักจะไม่ได้รับการพิจารณารับรองและยกย่องเหมือนกับที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน อาทิเช่น ที่กรุงเวนิส ตามกฎหมายปี ค.ศ. 1268 ไม่อนุญาตให้ภรรยาของเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย ไม่ว่าจะไปประจำแห่งไหน เพราะเกรงว่าภรรยาอาจจะปากโป้งเกี่ยวกับการงานของสามี แต่กฎหมายได้กำหนดให้เอกอัครราชทูตนำพ่อครัวของตนเองติดตามไปด้วย เพื่อกันมิให้เอกอัครราชทูตต้องถูกวางยาพิษในอาหารที่รับประทานกล่าวโดยทั่ว ไปแล้ว ทุกวันนี้ภรรยาของเอกอัครราชทูตได้อุปโภคเอกสิทธิ เกียรติ ลำดับอาวุโส และความคุ้มกันต่าง ๆ เหมือนกับสามี ถึงแม้ในบางกรณีเอกอัครราชทูตกับภรรยาอาจแยกกันอยู่ก็ตาม ภรรยาของเอกอัครราชทูตที่เพิ่งยื่นสารตราตั้ง มักจะหาโอกาสไปเยี่ยมคารวะภรรยาของเอกอัครราชทูตอื่น ๆ ด้วย แม้ว่าในทุกวันนี้ธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าวอาจจะไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัย ก่อน อนึ่ง ในบางประเทศได้มีระเบียบข้อบังคับ ห้ามมิให้ผู้แทนทางการทูตและทางการกงสุลที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ แต่งงานกับคนต่างชาติโดยมิได้รับอนุมัติจากรัฐบาลของตนก่อน [การทูต] | Bank charge | ค่าธรรมเนียมธนาคาร [การบัญชี] | Hire charge | ค่าธรรมเนียมรถบรรทุกสินค้า [การบัญชี] |
| การเก็บค่าฤชาธรรมเนียม | [kān kep khāreuchāthamnīem] (n, exp) EN: taxation of costs | ขนมธรรมเนียม | [khanom thamnīem] (n, exp) EN: custom | ขนบธรรมเนียม | [khanop thamnīem] (n) EN: customs ; wont ; convention FR: tradition [ f ] ; coutume [ f ] ; usage [ m ] ; convention [ f ] | ขนบธรรมเนียมสากล | [khanop thamnīemsākon] (n, exp) EN: international practice FR: usage international [ m ] ; pratique internationale [ f ] | ค่าฤชาธรรมเนียม | [khāreuchāthamnīem] (n) EN: cost | ค่าธรรมเนียม | [khā thamnīem] (n) EN: fee ; charge ; due ; duty FR: prix [ m ] ; honoraires [ mpl ] ; droits [ mpl ] ; frais [ mpl ] | ค่าธรรมเนียมบรรทุก | [khā thamnīem banthuk] (n, exp) EN: haulage | ค่าธรรมเนียมศาล | [khā thamnīem sān] (n, exp) EN: court fees | ค่าธรรมเนียมธนาคาร | [khā thamnīem thanākhān] (n, exp) EN: bank charges FR: frais bancaires [ mpl ] | คิดค่าธรรมเนียม | [khit khā thamnīem] (v) EN: charge FR: comptabiliser | เป็นธรรมเนียม | [pen thamnīem] (adj) EN: habitual | ผิดธรรมเนียม | [phit thamnīem] (v, exp) EN: go against a tradition | ตามธรรมเนียม | [tām thamnīem] (adv) EN: traditionally FR: traditionnellement ; par tradition | ธรรมเนียม | [thamnīem] (n) EN: custom ; tradition ; manner ; way ; mode ; method ; system ; common practice ; convention ; use ; habit FR: coutume [ f ] ; usage [ m ] ; tradition [ f ] ; habitude [ f ] ; pratique courante [ f ] | ธรรมเนียมปฏิบัติ | [thamnīem patibat] (n, exp) EN: tradition | ธรรมเนียมประเพณี | [thamnīem praphēnī] (n, exp) EN: custom ; tradition ; convention | ธรรมเนียมระหว่างประเทศ | [thamnīem rawāng prathēt] (n, exp) EN: international practice FR: pratique internationale [ f ] | อย่างเป็นธรรมเนียม | [yāng pen thamnīem] (adv) EN: habitually | ยกเว้นค่าธรรมเนียม | [yokwen khā thamnīem] (x) EN: free of charge |
| annual fee | (n) ค่าธรรมเนียมหรือบริการรายปี | gross income | (n) รายได้รวม (รายได้ก่อนหักภาษี ค่าธรรมเนียม รวมทั้ง อากรอื่นๆ), See also: A. net income | ethnocentrism | (n) ความเชื่อที่ว่าชนชาติ ประชาชน ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ เชื้อชาติของตนนั้น ดีเลิศกว่าชนชาติอื่น |
| admission | (n) ค่าธรรมเนียมในการเข้า, Syn. entrance fee | capitation | (n) ค่าธรรมเนียมต่อคน | carrying charge | (n) ค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาทรัพย์สิน | cellarage | (n) ค่าธรรมเนียมสำหรับการเก็บของในห้องเก็บของ | charge | (n) ค่าธรรมเนียม, Syn. fee, price | conventional | (adj) เกี่ยวกับประเพณีนิยม, See also: เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. customary | conventionalise | (vt) ทำให้เป็นธรรมเนียม, See also: ทำให้เป็นแบบฉบับ, Syn. conventionalize | conventionality | (n) การปรับให้เข้ากับธรรมเนียมปฏิบัติ | conventionalize | (vt) ทำให้เป็นธรรมเนียม, See also: ทำให้เป็นแบบฉบับ, Syn. conventionalise | conventioneer | (n) ผู้ที่ปฏิบัติตามธรรมเนียม | custom | (n) ขนบธรรมเนียม, See also: ประเพณี, Syn. tradition, folkways | customarily | (adj) ตามธรรมเนียม, Syn. traditionally | customary | (adj) เป็นธรรมเนียม | dockage | (n) ค่าธรรมเนียมจอดเรือหรือเอาเรือเข้าอู่ | due | (n) ค่าธรรมเนียม, See also: ค่าสมาชิก, Syn. toll, earnings, credits | etiquette | (n) มารยาท, See also: สมบัติผู้ดี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จรรยา, Syn. custom, decorum, manners | fee | (n) ค่าธรรมเนียม, See also: ค่าตอบแทน, ค่าบริการ, ค่าเล่าเรียน, Syn. charge, payment | formal | (adj) ตามธรรมเนียมปฏิบัติ, See also: ตามประเพณีนิยม, Syn. ceremonious, conventional | habit | (n) ธรรมเนียม, See also: ประเพณี | Hebraic | (adj) ด้านภาษา หรือขนบธรรมเนียมของชาวฮิบรู (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์), Syn. Hebraical | Hebraically | (adv) ที่เกี่ยวข้องกับภาษา หรือขนบธรรมเนียมของชาวฮิบรู (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์), Syn. Hebraic | honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ | honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ | pay one's dues | (idm) จ่ายค่าธรรมเนียม | imposition | (n) การเก็บภาษี, See also: การเก็บค่าธรรมเนียม, การกำหนดโทษ, Syn. injunction, superaddition | institution | (n) ธรรมเนียม, See also: ขนบประเพณี, สิ่งที่ปฏิบัติกันมานาน, Syn. convention, custom, practice | mannerism | (n) ธรรมเนียมปฏิบัติ, See also: การยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ, วิธีปฎิบัติ, ระเบียบแบบแผน, ลักษณะเฉพาะ, Syn. idiosyncrasy, pecularity | mannerist | (n) ผู้มีมารยาท (ดีหรือเลว), See also: ผู้ยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ, วิธีปฎิบัติ, ระเบียบแบบแผน | manneristic | (adj) ซึ่งมีธรรมเนียมปฏิบัติ | manners | (n) ขนบธรรมเนียมประเพณี, See also: รูปแบบการดำเนินชีวิต, ธรรมเนียมปฎิบัติ, วิถีชีวิต, วิถีทาง, ขนบธรรมเนียม, Syn. culture, etiquette, decorum | nonconformist | (n) คนไม่ยอมทำตามขนบธรรมเนียมของสังคม, Syn. rebel, loner, Ant. ordinary | offbeat | (adj) ซึ่งไม่ใช่ธรรมเนียมนิยม | oral tradition | (n) ประวัติและขนมธรรมเนียมถ่ายทอดสู่รุ่นต่อไปโดยเล่าปากเปล่า | overcharge | (n) ค่าธรรมเนียมที่แพงเกินไป | pattern | (n) แบบแผน, See also: รูปแบบ, ธรรมเนียม, รูปแบบ, แบบพิมพ์, แบบฉบับ, Syn. practice | pattern | (n) ธรรมเนียมปฏิบัติ, See also: ประเพณีนิยม, จารีตประเพณี, Syn. custom | pike | (n) ถนนที่มีด่านเก็บค่าธรรมเนียมภาษีผ่านทาง, See also: ภาษีด่าน, Syn. roadway, turnpike | practice | (n) กิจวัตร, See also: ธรรมเนียมปฏิบัติ, นิสัย | practise | (n) กิจวัตร, See also: ธรรมเนียมปฏิบัติ, นิสัย | precedent | (n) ตัวอย่างหรือแบบอย่างที่มีมาก่อน, See also: เรื่องราวแต่ก่อน, ขนบธรรมเนียมหรือประเพณีที่มีมาก่อน, Syn. pattern, authoritative example | revenue | (n) รายได้ของรัฐซึ่งได้จากภาษีอากรและค่าธรรมเนียม, See also: ภาษีอากร, Syn. dues, taxs | tariff | (n) ค่าธรรมเนียม | tariff | (vt) จัดเก็บภาษี, See also: จัดเก็บค่าธรรมเนียม | toll | (n) ค่าธรรมเนียมใช้ถนน, Syn. duty, fee, tollage | tollbooth | (n) ห้องเล็กๆ ที่ด่านเก็บค่าธรรมเนียม | Tom Thumb | (n) คอกสำหรับเก็บค่าธรรมเนียม, See also: ที่เก็บค่าธรรมเนียม | tradition | (n) ประเพณี, See also: ขนบธรรมเนียม, วัฒนธรรม, ธรรมเนียม, ขนบธรรมเนียมประเพณี | wharfage | (n) ค่าธรรมเนียมในการใช้ท่าเทียบเรือ, See also: ค่าธรรมเนียมการใช้ท่าเรือ |
| agio | (แอจ' จิโอ) n., (pl. -os) ค่าธรรมเนียมในการแลกเปลี่ยนเงินตรา (premium on money) | anglicise | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. | anglicize | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. | archaicism | (อาร'์ คีอิส'ึม, อาร์เค'อิส'ซึม) n. สิ่งที่โบราณ (ศัพท์, ภาษา, ธรรมเนียม) , การใช้สิ่งที่โบราณ. -archaist n., archaistic adj. (archaic word, usage, etc.) | archaism | (อาร'์ คีอิส'ึม, อาร์เค'อิส'ซึม) n. สิ่งที่โบราณ (ศัพท์, ภาษา, ธรรมเนียม) , การใช้สิ่งที่โบราณ. -archaist n., archaistic adj. (archaic word, usage, etc.) | brokerage | (โบร'เคอริจฺ) n. กิจการนายหน้า, ค่านายหน้า, ค่าธรรมเนียม | buoyage | (บอย'อิจฺ) n. กลุ่มทุ่นลอยน้ำ, การทำให้ลอย, ค่าธรรมเนียมการยึดเกาะทุ่น | convention | (คันเวน'เชิน) n. การประชุม, การประชุมพรรคการเมือง, สัญญา, สนธิสัญญา, อนุสัญญา, ระเบียบแบบแผน, จารีตประเพณี, ธรรมเนียมปฎิบัติ, การประชุมที่มีกำหนด, Syn. meeting, custom | conventional | (คันเวน'เชินเนิล) adj. เกี่ยวกับธรรมเนียมปฎิบัติหรือประเพณีนิยม, ธรรมดา, สามัญ, เกี่ยวกับข้อตกลงหรือสัญญา, See also: conventionalist n. ดูconventional, Syn. usual, Ant. unusual | conventionalize | (คันเวน'?ะเนิลไลซ) vt. ทำให้เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ, เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ., See also: conventionalisation n. ดูconventionalize conventionalization n. ดูconventionalize | conventionlise | (คันเวน'?ะเนิลไลซ) vt. ทำให้เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ, เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ., See also: conventionalisation n. ดูconventionalize conventionalization n. ดูconventionalize | cost | (คอสทฺ) { cost, cost, costing, costs } n. ทุน, ต้นทุน, ทุนที่ซื้อมา, ค่าโสหุ้ย, ค่าใช้จ่าย, ค่าตอบแทน, ค่าเสียหาย, ค่าฤชาธรรมเนียม, ค่าธรรมเนียมฟ้องร้อง. -at all costs โดยทุกวิถีทาง vt. เป็นมูลค่า, เป็นราคา, ต้องใช้, ต้องเสีย vi. หมดเปลือง, สิ้นเปลือง, หาค่าประเมิน -Conf. | custom | (คัส'เทิม) n. ประเพณี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จารีตประเพณี, กิจวัตร, ความเคยชิน, การอุดหนุน, ภาษี -Phr. (customs พิกัดอัตราภาษีอากร, ลูกค้า, ขาประจำ) adj. ซึ่งสั่งตัด, ซึ่งสั่งทำ, Syn. habit, tariff, duty | customary | (คัส'เทิมมะรี) adj. เกี่ยวกับประเพณี, เป็นขนบธรรมเนียม, ตามปกติ, เคยชิน, เป็นกิจวัตร, Syn. normal | decency | (ดี'เซินซี) n. ความเหมาะสม, ความสุภาพ, ความมีสมบัติผู้ดี., See also: decencies n., pl.หลักปฎิบัติที่สอดคล้องกับธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. decorum, Ant. impropriety | dock charge | n. ค่าจอดเรือ, ค่าธรรมเนียมท่าเรือ | dock dues | n. ค่าจอดเรือ, ค่าธรรมเนียมท่าเรือ | dockage | (ดอค'คิจ) n. ค่าจอดเรือ, ค่าธรรมเนียมจอดเรือในอู่, ค่าธรรมเนียมท่าเรือ, การจอดเรือในอู่, เครื่องมือในอู่เรือ, การตัดให้สั้น, การตัดให้น้อยลง, ส่วนที่ไร้ประโยชน์ของข้าว | domesticate | (ดะเมส'ทะเคท) vt. ทำให้ชอบอยู่ในบ้าน, ทำให้เป็นขนบธรรมเนียม, ทำให้เชื่อง, ทำให้เคยชิน, See also: domesticable adj. ดูdomesticate domestication n. ดูdomesticate domesticative adj. ดูdomesticate domesticator n. ดูdomesticate คำที่มีความหม | due | (ดิว) adj. เหมาะสม, สมควร, พอเพียง, พอควร, ครบกำหนด, ถึงกำหนด, ถูกต้อง, ถูกทำนองคลองธรรม, ตรง, หลีกเลี่ยงไม่ได้. n. สิทธิที่ควรได้รับ, หนี้, เงินที่พึงชำระ, ค่าธรรมเนียม, ความยุติธรรม. -adv. โดยตรง, แน่นอน. -Phr. (due to เนื่องจาก, เนื่องด้วย, เพราะ) ., See also: d | etiquette | (เอท'ทะเค็ท, -คิท) n. สมบัติผู้ดี, มารยาท, จรรยาบรรณ, ธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. decorum | fee | (ฟี) { feeed, feeing, fees } n. ค่าธรรมเนียม, ค่าเล่าเรียน, เงินรางวัล, ค่าตอบแทน, ค่าบริการ. vt. ให้ค่าธรรมเนียม, Syn. stipend | feoff | (เฟฟ, ฟืฟ) vt. มอบที่ดิน (ศักดินา) ให้แก่, ให้ค่าธรรมเนียม. -feoffor, feofer n. | folklore | (โฟล์ค'ลอร์) n. คติชาวบ้าน, ความเชื่อหรือขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวบ้าน. -folkloric adj., See also: folklorist n. folkloristic adj. | formality | (ฟอร์แมล'ลิที) n. ระเบียบ, ระเบียบแบบแผน, พิธีรีตอง, ความเคร่งครัดในระเบียบ, ความเข้มงวด, ธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. orthodoxy | freight | (เฟรท) n. ค้ำระวาง, ค่าขนส่ง, ของบรรทุก, การขนส่งสินค้า, ขบวนรถสินค้า. vt. บรรทุกสินค้า, ขนส่งสินค้า, ทำให้เต็มไปด้วย -Phr. (dead, See also: freight ค่าธรรมเนียมห้องบรรทุกว่าง | haulage | (ฮอล'ลิจฺ) n. การดึง, การลาก, การสาว, การฉุด, ค่าธรรมเนียมบรรทุก | hebraic | (ฮิเบร'อิค) adj. เกี่ยวกับชาวอิสราเอลภาษาหรือขนบธรรมเนียมของเขา. -Hebraism n. -Hebraist n. ผู้เชี่ยวชาญภาษาอิสราเอล | japanism | n. ความนิยมญี่ปุ่นขนบธรรมเนียมประเพณีของญี่ปุ่น | legitimacy | (ลิจิท'ทะมะซี) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, ความชอบด้วยกฎหมาย, ความถูกต้องสมควร, ความมีสิทธิตามกฎหมาย, ความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ความถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี | legitimate | (ลิจิท'ทะเมท) adj. ถูกต้องตามกฎหมาย, ถูกต้องสมควร, มีสิทธิตามกฎหมาย, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี, โดยการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย vt.ทำให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย, ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย, มอบอำนาจ., See also: legitimateness n. ดูlegitimate legitimation n. ดูlegimate, Syn. lawful, legal, licit | lese majesty | (ลิซ แมจ'เจสทิ) n. ความผิดอาญาฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ, ความผิดฐานหมิ่นประมุขของรัฐ, การหักหาญจารีตประเพณีหรือธรรมเนียมปฏิบัติ., Syn. lesemajeste | manner | (แมน'เนอะ) n. กิริยา, ลักษณะท่าทาง, มารยาท, วิธีการกระทำ., See also: manners ขนบธรรมเนียมประเพณี, กิริยาท่าทาง, ชนิด, จำพวก, ประเภท, ลักษณะ, แฟชั่น, สมบัติผู้ดี | mores | (โม'เรซ, มอ'เรซ) n., pl. ประเพณี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. customs | observance | (อับเซิร์ฟ'เวินซฺ) n. การสังเกต, การปฏิบัติตาม, การฉลอง, พิธี, พิธีการ, ขบวนการ, ธรรมเนียมปฏิบัติ, กฎ, วินัยศาสนา (ของนิกายโรมันคาทอลิก) | orthodox | (ออร์'ธะดอคซฺ) adj. ดั้งเดิม, ขนานแท้, ต้นตำรับ, ถูกต้อง, อย่างปกติชนทั้งหลาย, เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ, ซึ่งตกทอดมาจากโบราณกาล, เป็นทางราชการ, เป็นประเพณี. | premium | (พรี'เมียม) n. เบี้ยประกันภัย, ค่าธรรมเนียมนายหน้า, เงินแถม, เงินพิเศษ, เงินรางวัล, ค่าบริการ, เงินค่าจ้าง -Phr. (at a premium ในราคาที่สูงผิดปกติเป็นที่ต้องการ), Syn. reward, bonus | propriety | (โพรไพร'อะที) n. ความเหมาะสม, ความถูกต้อง, ความสมควร, สิทธิ, กรรมสิทธิ์., See also: proprieties n., pl. มารยาทหรือขนบธรรมเนียมประเพณี, Syn. decorum, decency | ratepayer | (เรท'เพเออะ) n. (ผู้ชำระภาษี, ผู้ชำระค่าโดยสาร, ผู้ชำระค่าธรรมเนียม, See also: ratepaying n., adj., Syn. taxpayer | rite | (ไรทฺ) n. พิธีศาสนา, พิธีบูชา, พิธีการ, พิธี, พิธีกรรม, ธรรมเนียมปฏิบัติ, ประเพณี | squeeze | (สควีซ) vt., vi., n. (การ) บีบ, รัด, เบียด, คั้น, กด, อัด, รีด, ขูดรีด, บังคับ, ทำให้ลดน้อยลง, สกัด, ดัน, กอด, จำนวนเล็กน้อย, สิ่งที่บีบหรือคั้นออก, ค่าธรรมเนียม, เงินหักเก็บ, กลุ่มคนที่เบียดเสียดกัน, See also: squeezer n., Syn. press, compr | tariff | (แทร'ริฟ) n., vt. (จัดเก็บ) อัตราภาษีศุลกากร, ภาษีศุลกากร, ค่าธรรมเนียม, ค่าโดยสาร | toll | (โทล) vt., vi. ตีระฆัง (ใหญ่) , เคาะระฆัง, ล่อ, ล่อลวง, ส่งเสียงดังต่อเนื่อง, จัดเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียม. n. การตีระฆัง, เสียงระฆัง, ภาษี, ส่วย, ค่าบำรุง, ค่าผ่านถนน, ค่าวางของขาย, ค่าธรรมเนียมบริการ, ค่าธรรมเนียมขนส่ง, ปริมาณความเสียหาย, จำนวนคนที่เสียชีวิต | toll bar | n. ประตูหรือด่านเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียม., Syn. toll gate | toll bridge | n. สะพานที่มีการจัดภาษ'หรือค่าธรรมเนียม | toll call | n. โทรศัพท์ทางไกลที่เก็บค่าธรรมเนียม | tollgate | (โทล'เกท) n. ประตูที่จัดเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียม | tollkeeper | n. n. พนักงานเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมที่ด่านเก็บ | tradition | (ทระดิช'เชิน) n. ธรรมเนียม, จารีต, ประเพณี, จารีตนิยม, , See also: traditional adj., Syn. custom, usage | turnpike | (เทิร์น'ไพคฺ) n. ถนนสำหรับรถยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็วสูง (โดยเฉพาะถนนที่มีด่านเก็บเงินบำรุงถนน) , ด่านเก็บเงินบำรุงถนน, คอกสำหรับเก็บค่าธรรมเนียมบนถนน |
| charge | (n) หน้าที่, ความรับผิดชอบ, ภาระ, ค่าธรรมเนียม, มูลค่า, การฟ้องร้อง | conventional | (adj) ตามประเพณีนิยม, ตามแบบแผน, ตามธรรมเนียม | custom | (n) จารีตประเพณี, ประเพณี, ขนบธรรมเนียม, การอุดหนุน, กิจวัตร, ภาษี | due | (n) หนี้, เงินที่ต้องชำระ, ความยุติธรรม, ค่าธรรมเนียม | etiquette | (n) มารยาท, สมบัติผู้ดี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จรรยาบรรณ | fee | (n) ค่าบริการ, ค่าตอบแทน, ค่าธรรมเนียม, ค่าเล่าเรียน | formality | (n) ระเบียบวิธี, พิธี, แผน, หลักการ, พิธีรีตรอง, ธรรมเนียมปฏิบัติ | institutional | (adj) เกี่ยวกับสถาบัน, เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม, เกี่ยวกับหลักฐาน | mannerism | (n) กิริยาท่าทาง, นิสัย, คำพูดที่ติดปาก, ธรรมเนียมปฏิบัติ | observance | (n) การปฏิบัติตาม, การสังเกต, ธรรมเนียมปฏิบัติ | premium | (n) เงินค่าธรรมเนียม, เงินประกันภัย, เงินรางวัล, ค่าจ้าง | tariff | (n) ภาษี, ค่าโดยสาร, ค่าธรรมเนียม | toll | (n) การเคาะระฆัง, ค่าขนอน, ภาษี, อากร, ส่วย, ค่าธรรมเนียม | toll | (vt) เคาะระฆัง, เก็บภาษี, เก็บค่าธรรมเนียม, เก็บค่าขนอน | tradition | (n) ธรรมเนียม, ประเพณี, จารีต | traditional | (adj) ตามจารีตประเพณี, ตามธรรมเนียม, เก่าแก่ | usage | (n) การใช้, ธรรมเนียม, ประเพณี, ความเคยชิน, ประโยชน์ | use | (n) ประโยชน์, การใช้, ความเคยชิน, ประเพณี, ธรรมเนียม | usual | (adj) เช่นเคย, เป็นธรรมเนียม, ตามปกติ, เป็นประจำ |
| Aradia | [อาราเดีย] (name) ชื่อของบุตรีแห่งเทวีไดอาน่า ถูกนำมาเรียกขาลโดยแม่มดชาวอิตตารี แต่โดยทั่วไปแล้ว ยังคงใช้ในหลายธรรมเนียมจวบจนทุกวันนี้ | Athame | [อธาเม] (uniq) มีดสั้นสองคม ทั้งซ้ายและขวา มีด้ามจับสีดำ ที่สำคัญคือนิยมใช้ คาสวงกลมและลบล้างด้วย คุณสมบัติสามารถนำดาบเวทย์ใช้แทนกันได้ เป็นอุปกรณ์ ธาตุไฟ สำหรับหลายๆธรรมเนียม | geosocial | (n) ภูมิสังคม หมายถึง ความแตกต่างของแต่ละพื้นที่ ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ชีวภาพ วีถีชีวิต ประเพณี ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม | place congestion charge | (n) ค่าธรรมเนียมความแออัดของสถานที่ส่งมอบ | share premium account | ค่าธรรมเนียมหุ้นพิเศษ | usage of trade | (n) ธรรมเนียมการค้า |
| 伝統 | [でんとう, dentou] (n) ประเพณี ขนบธรรมเนียม | 料金 | [りょうきん, ryoukin] ค่าบริการ, ค่าธรรมเนียม, ค่าตอบแทน | 習慣 | [しゅうかん, shuukan] (n) ขนบธรรมเนียม, ประเพณี |
| 公式 | [こうしき, koushiki, koushiki , koushiki] (n, adj) สูตร, กฎ, เกณฑ์, หลัก, มาตรฐาน, รูปแบบ, แผ่น, ตำรับ, ตำรา , ข้าราชการ, เจ้าพนักงาน adj. เป็นทางการ, ระเบียบ, ระเบียบแบบแผน, พิธีรีตอง, ความเคร่งครัดในระเบียบ, ความเข้มงวด, ธรรมเนียมปฏิบัติ | 礼金 | [れいきん, reikin] ค่าธรรมเนียมแรกเข้า | 手数料 | [てすうりょう, tesuuryou] ค่าธรรมเนียม | 入学金 | [にゅうがくきん, nyuugakukin] (n) ค่าธรรมเนียมการศึกษา |
| 行事 | [ぎょうじ, gyouji] TH: งานหรือพิธีการที่จัดขึ้นเป็นประจำเป็นประเพณีหรือธรรมเนียมของสังคม | 料金 | [りょうきん, ryoukin] TH: ค่าธรรมเนียม |
| zu Lasten gehen | ถูกหักออกจากบัญชี, คิดเงิน เช่น Diese Gebühr geht zu Ihren Lasten. ค่าธรรมเนียมนี้จะถูกหักออกจากบัญชีของคุณ, See also: Related: Lastschrift | anziehen | (vt) |zog an, hat angezogen| ดึงดูด เช่น Die Traditionen und die Kunstszene dieser Stadt ziehen immer mehr Gäste an. ขนบธรรมเนียมและศิลปะของเมืองนี้ดึงดูดแขกนักท่องเที่ยวมากขึ้นเรื่อยๆ | Bruttoverdienst | (n) |der, pl. Bruttoverdienste| รายได้รวม (รายได้ก่อนหักภาษี ค่าธรรมเนียม รวมทั้ง อากรณ์อื่นๆ), See also: A. Nettoverdienst | Nettoverdienst | (n) |der, pl. Nettoverdienste| รายได้สุทธิ (รายได้ หลังหักภาษี ค่าธรรมเนียม รวมทั้ง อากรณ์อื่นๆ ออกแล้ว), See also: A. Bruttoverdienst |
| au revoir! | (phrase) แล้วพบกันใหม่ (เวลาจากกันควรพูดคำลา ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ฝรั่งเศส) | bon appétit | (phrase) ขอให้เจริญอาหาร ขอให้อร่อย (ใช้พูดก่อนรับประทานอาหาร ซึ่งเป็นธรรมเนียมในฝรั่งเศส) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |