ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -click-, *click* |
|
| click | (คลิค) 1. { clicked, clicking, clicks } n. เสียงดังกริ๊ก, กลอนสปริง, ตัวดึง, เสียงกระเดาะลิ้น vi. เสียงดังกริ๊ก, เปล่งเสียงดังกริ๊ก, กระเดาะลิ้นดังกริ๊ก, กระทำสำเร็จ, ประสานกันได้ดี, สอดคล้อง, ได้รับการต้อนรับจากประชาชน vt. ทำให้เกิดเสียงดังกริ๊ก, กระทบดังกริ๊ก 2. กด (เมาส์) การกดนิ้วในจังหวะสั้น ๆ เร็ว ๆ 1 ที ลงบนปุ่มใดปุ่มหนึ่งของของเมาส์ (ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มซ้ายมือสุด) แล้วยกออกในทันที ใช้เมื่อต้องการสั่งการตามรายการในเมนู หรือเลือกรายการที่ต้อง การที่มีแสดงอยู่บนจอภาพ โดยเลื่อนเมาส์ให้ลูกศรชี้อยู่ที่คำสั่งที่ต้องการก่อน จึงค่อยกด (ในภาษาไทยอาจใช้สั้น ๆ ว่า "กดเมาส์ ") ในบางกรณี ต้องกดสองทีเร็ว ๆ เรียกว่า double click ดู double click ประกอบ | double-click | คลิกคลิกกดเมาส์สองครั้ง (เร็ว ๆ) หมายถึง การใช้นิ้วชี้กดบนปุ่มของเมาส์สองครั้งในจังหวะติด ๆ กัน อาจเป็นคำสั่งเรียกโปรแกรม หรือคำสั่งเปิดแฟ้มข้อมูล ก็ได้ ดู click ประกอบ | shift+click | กดเมาส์พร้อมกับกดแป้น Shiftหมายถึง การกดแป้น Shift แช่ไว้ แล้วกดเมาส์เพียงทีเดียว เป็นคำสั่งที่ใช้เมื่อต้องการกำหนดข้อความ หรือเลือกภาพหลาย ๆ ภาพพร้อม ๆ กัน | triple-clicking | กด (เมาส์) สามทีหมายถึง การกดที่ปุ่มบนเมาส์ติด ๆ กันสามครั้ง เป็นวิธีสั่งการแบบหนึ่งที่ไม่ค่อยจะใช้กันนัก (ใช้เฉพาะบางโปรแกรมเท่านั้น) ไม่เหมือนกับการกดหนึ่งครั้ง หรือสองครั้งดู mouse ประกอบ |
| click | (n) เสียงดังกริ๊ก, เสียงกระดกลิ้น, เสียงดีดนิ้ว, กลอนสปริง | click | (vi) กระดกลิ้น, ดีดนิ้ว, ง้างนก, ลั่นไก |
| click | (กด)คลิก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | click | เสียงเดาะ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | click | (กด)คลิก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Click | คลิก [เทคโนโลยีการศึกษา] | Click | คลิก, การใช้นิ้วกดลงไปปุ่มของเมาส์ แล้วดีดนิ้วออกทันที โดยมากจะหมายถึงการใช้นิ้วกดไปที่ปุ่มซ้ายของเมาส์ แต่ถ้ากดที่ปุ่มขวาของเมาส์ จะเรียกว่า คลิกขวา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Click | คลิก, การใช้นิ้วกดลงไปปุ่มของเมาส์ แล้วดีดนิ้วออกทันที โดยมากจะหมายถึงการใช้นิ้วกดไปที่ปุ่มซ้ายของเมาส์ แต่ถ้ากดที่ปุ่มขวาของเมาส์ จะเรียกว่า คลิกขวา [คอมพิวเตอร์] | Click | สะดุด [การแพทย์] |
| | | | ถูกชะตา | (v) hit it off, See also: click, get along well with, be compatible, Example: คนเรารักกันได้มากเพราะมีชะตาต้องกัน ถูกชะตากัน มันก็หนีกันไม่พ้น, Thai Definition: ถูกใจกันแต่แรกเห็น | ถูกเส้น | (v) click, See also: hit it off, get along well with, Syn. ถูกชะตา, ถูกอกถูกใจ, ถูกใจ, เข้ากันได้, Example: แม้ไม่ค่อยถูกเส้นกัน แต่เขาก็พูดคุยกันในยามที่จำเป็น | กระเดาะ | (v) click, See also: cluck, flick or flip gently, know or beat gently, move up one's tongue, Syn. เดาะ, Example: ลูกหมาจะวิ่งมาเมื่อมันได้ยินเสียงเจ้าของมันกระเดาะลิ้น | กริก | (adv) click, Syn. กริ๊ก, Example: เสียงแก้วกระทบกันดังกริก | กริ๊ก | (adv) click, Syn. กริก, Example: เสียงลูกบิดประตูดังกริก, Count Unit: กริก | คลิก | (adv) click, Example: เสียงยกแก้วกระทบกันดังคลิก |
| แก๊ก | [kaek] (x) EN: click ; [ sound of door clicking ] | คลิก | [khlik] (v) EN: click FR: cliquer | คลิกเลือก | [khlik leūak] (v, exp) EN: click on FR: cliquer | กิ๊ก | [kik] (x) EN: [ the short, sharp sound of two hard objects touching ] ; click | กด | [kot] (v) EN: press ; push ; push down ; hit ; bear upon ; click FR: presser ; pousser (sur) ; appuyer sur ; exercer une pression ; cliquer | กริ๊ก | [krik] (x) EN: click FR: clic [ m ] ; déclic [ m ] | ลั่น | [lan] (v) EN: sound ; click ; resound | ถูกชะตา | [thūkchatā] (v) EN: hit it off ; click |
| | | click | (n) depression of a button on a computer mouse, Syn. mouse click | click | (v) make a clicking or ticking sound, Syn. tick | click | (v) produce a click | click | (v) become clear or enter one's consciousness or emotions, Syn. penetrate, come home, sink in, dawn, get across, fall into place, get through | click beetle | (n) able to right itself when on its back by flipping into the air with a clicking sound, Syn. skipjack, snapping beetle | click-clack | (n) a succession of clicks | clickety-clack | (n) a fast and rhythmic click-clack, Syn. clickety-click | click off | (v) perform or finish an action rapidly | click open | (v) open with a clicking sound |
| Click | n. 1. A slight sharp noise, such as is made by the cocking of a pistol. [ 1913 Webster ] 2. A kind of articulation used by the natives of Southern Africa, consisting in a sudden withdrawal of the end or some other portion of the tongue from a part of the mouth with which it is in contact, whereby a sharp, clicking sound is produced. The sounds are four in number, and are called cerebral, palatal, dental, and lateral clicks or clucks, the latter being the noise ordinarily used in urging a horse forward. [ 1913 Webster ] | Click | v. t. [ OE. kleken, clichen. Cf. Clutch. ] To snatch. [ Prov. Eng. ] Halliwell. [ 1913 Webster ] | Click | n. [ Cf. 4th Click, and OF. clique latch. ] 1. A detent, pawl, or ratchet, as that which catches the cogs of a ratchet wheel to prevent backward motion. See Illust. of Ratched wheel. [ 1913 Webster ] 2. The latch of a door. [ Prov. Eng. ] [ 1913 Webster ] | Click | v. i. [ imp. & p. p. Clicked p. pr. & vb. n. Clicking. ] [ Prob. an onomatopoetic word: cf. OF. cliquier. See Clack, and cf. Clink, Clique. ] To make a slight, sharp noise (or a succession of such noises), as by gentle striking; to tick. [ 1913 Webster ] The varnished clock that clicked behind the door. Goldsmith. [ 1913 Webster ] | Click | v. t. 1. To move with the sound of a click. [ 1913 Webster ] She clicked back the bolt which held the window sash. Thackeray. [ 1913 Webster ] 2. To cause to make a clicking noise, as by striking together, or against something. [ 1913 Webster ] [ Jove ] clicked all his marble thumbs. Ben Jonson. [ 1913 Webster ] When merry milkmaids click the latch. Tennyson. [ 1913 Webster ] | Click beetle | (Zool.) See Elater. [ 1913 Webster ] | Clicker | n. 1. One who stands before a shop door to invite people to buy. [ Low, Eng. ] [ 1913 Webster ] 2. (Print.) One who as has charge of the work of a companionship. [ 1913 Webster ] | Clicket | n. [ OF. cliquet the latch of a door. See 5th Click. ] 1. The knocker of a door. [ Prov. Eng. ] [ 1913 Webster ] 2. A latch key. [ Eng. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] | clickety-click | n. a fast and rhythmic clicking sound, as of “click-clack”; as, the clickety-clack of the typewriters. Syn. -- clickety-clack. [ WordNet 1.5 ] Variants: clickety-clack | Clicky | a. Resembling a click; abounding in clicks. “Their strange clicky language.” The Century. [ 1913 Webster ] |
| | | |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |