Search result for

-วิธีประเพณี-

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -วิธีประเพณี-, *วิธีประเพณี*
(Few results found for -วิธีประเพณี- automatically try *วิธีประเพณี*)
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
วิธีประเพณีน. มาตราชั่ง ตวง วัด หรือมาตราเงินที่ถือกันมาแต่โบราณ เช่น มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง.
ก๊งน. หน่วยตวงเหล้าโรงเป็นต้นตามวิธีประเพณี ๑ ก๊ง เท่ากับ ๕๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร.
กระเบียดน. มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ กระเบียด เท่ากับ ๑ ใน ๔ ส่วนของนิ้ว.
กะรัตหลวงน. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต.
กำมือมาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๔ หยิบมือ = ๑ กำมือ ๔ กำมือ = ๑ ฟายมือ และอีกแบบหนึ่ง ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ ๘ กำมือ = ๑ จังออน.
คืบ ๑มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค.
งาน ๒น. มาตราวัดเนื้อที่ตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตร, ลักษณนามเรียกเนื้อที่ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตรว่า งานหนึ่ง หรือ ๑ งาน, อักษรย่อว่า ง.
จังออนน. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๘ กำมือ = ๑ จังออน และ ๒ จังออน = ๑ แล่ง.
ใจมือน. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๑๕๐ เมล็ดข้าว = ๑ ใจมือ ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ และ ๘ กำมือ = ๑ จังออน
ชั่งน. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๐ ตำลึงหรือ ๘๐ บาท เป็น ๑ ชั่ง
ชั่งชื่อมาตราวัดน้ำหนักตามวิธีประเพณีแบบไทย ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง หรือมีน้ำหนักเท่ากับ ๑, ๒๐๐ กรัม, ถ้าเป็นชั่งจีนมีนํ้าหนักเท่ากับ ๖๐๐ กรัม คือเป็นครึ่งหนึ่งของชั่งไทย.
ตำลึง ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๔ บาท เท่ากับ ๑ ตําลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ <img src="picture/13976.jpg"> หมายความว่า ๔ ตําลึง
ตำลึง ๒ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนด นํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๔ บาท หรือ ๖๐ กรัม. (ข. ฎํฬึง, ตมฺลึง).
เทน. ชื่อมาตราตวงเหล้าตามวิธีประเพณี ๑ เท เท่ากับ ๒๐ ทะนาน.
นิ้วมาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ นิ้ว เท่ากับ ๔ กระเบียด, และ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ
บั้นหลวงน. ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร.
บาท ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ.
บาท ๒ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงิน ทอง หรือนากหนัก ๑๕ กรัม.
ไพน. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒ อัฐ เท่ากับ ๑ ไพ.
เฟื้องน. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๘ อัฐ เท่ากับ ๑ เฟื้อง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ <img src="picture/24345.png"> หมายความว่า ๑ เฟื้อง.
ลิตรน. ชื่อหน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก เท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร เทียบกับอัตราวิธีประเพณีเท่ากับ ๑ ทะนานหลวง.
แล่ง ๑น. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๒ จังออน = ๑ แล่ง และ ๒ แล่ง = ๑ ทะนาน.
วา ๑น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว.
วาตารางเหลี่ยมน. มาตราวัดตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๔ ตารางเมตร, ตารางวา ก็ว่า, อักษรย่อว่า ตร.ว. หรือ ว<i> ๒</i>.
ศอกมาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ ศอก เท่ากับ ๒ คืบ.
สตางค์ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๐.๑๕ กรัม
สลึง(สะหฺลึง) น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๕ สตางค์ เท่ากับ ๑ สลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ <img src="picture/34867.png"> หมายความว่า ๒ สลึง
สลึง(สะหฺลึง) ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๑ ใน ๔ บาท หรือ ๓.๗๕ กรัม.
หาบน. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบไทย ๕๐ ชั่ง เป็น ๑ หาบ = ๖๐ กิโลกรัม, หาบหลวง ก็เรียก, ถ้าตามวิธีประเพณีแบบจีน ๑๐๐ ชั่ง เป็น ๑ หาบ.
หาบหลวงน. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบไทย ๕๐ ชั่ง เป็น ๑ หาบ, หาบ ก็เรียก.

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
วิธีประเพณีน. มาตราชั่ง ตวง วัด หรือมาตราเงินที่ถือกันมาแต่โบราณ เช่น มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง.
ก๊งน. หน่วยตวงเหล้าโรงเป็นต้นตามวิธีประเพณี ๑ ก๊ง เท่ากับ ๕๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร.
กระเบียดน. มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ กระเบียด เท่ากับ ๑ ใน ๔ ส่วนของนิ้ว.
กะรัตหลวงน. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต.
กำมือมาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๔ หยิบมือ = ๑ กำมือ ๔ กำมือ = ๑ ฟายมือ และอีกแบบหนึ่ง ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ ๘ กำมือ = ๑ จังออน.
คืบ ๑มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค.
งาน ๒น. มาตราวัดเนื้อที่ตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตร, ลักษณนามเรียกเนื้อที่ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตรว่า งานหนึ่ง หรือ ๑ งาน, อักษรย่อว่า ง.
จังออนน. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๘ กำมือ = ๑ จังออน และ ๒ จังออน = ๑ แล่ง.
ใจมือน. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๑๕๐ เมล็ดข้าว = ๑ ใจมือ ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ และ ๘ กำมือ = ๑ จังออน
ชั่งน. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๐ ตำลึงหรือ ๘๐ บาท เป็น ๑ ชั่ง
ชั่งชื่อมาตราวัดน้ำหนักตามวิธีประเพณีแบบไทย ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง หรือมีน้ำหนักเท่ากับ ๑, ๒๐๐ กรัม, ถ้าเป็นชั่งจีนมีนํ้าหนักเท่ากับ ๖๐๐ กรัม คือเป็นครึ่งหนึ่งของชั่งไทย.
ตำลึง ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๔ บาท เท่ากับ ๑ ตําลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ <img src="picture/13976.jpg"> หมายความว่า ๔ ตําลึง
ตำลึง ๒ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนด นํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๔ บาท หรือ ๖๐ กรัม. (ข. ฎํฬึง, ตมฺลึง).
เทน. ชื่อมาตราตวงเหล้าตามวิธีประเพณี ๑ เท เท่ากับ ๒๐ ทะนาน.
นิ้วมาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ นิ้ว เท่ากับ ๔ กระเบียด, และ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ
บั้นหลวงน. ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร.
บาท ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ.
บาท ๒ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงิน ทอง หรือนากหนัก ๑๕ กรัม.
ไพน. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒ อัฐ เท่ากับ ๑ ไพ.
เฟื้องน. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๘ อัฐ เท่ากับ ๑ เฟื้อง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ <img src="picture/24345.png"> หมายความว่า ๑ เฟื้อง.
ลิตรน. ชื่อหน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก เท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร เทียบกับอัตราวิธีประเพณีเท่ากับ ๑ ทะนานหลวง.
แล่ง ๑น. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๒ จังออน = ๑ แล่ง และ ๒ แล่ง = ๑ ทะนาน.
วา ๑น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว.
วาตารางเหลี่ยมน. มาตราวัดตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๔ ตารางเมตร, ตารางวา ก็ว่า, อักษรย่อว่า ตร.ว. หรือ ว<i> ๒</i>.
ศอกมาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ ศอก เท่ากับ ๒ คืบ.
สตางค์ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๐.๑๕ กรัม
สลึง(สะหฺลึง) น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๕ สตางค์ เท่ากับ ๑ สลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ <img src="picture/34867.png"> หมายความว่า ๒ สลึง
สลึง(สะหฺลึง) ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๑ ใน ๔ บาท หรือ ๓.๗๕ กรัม.
หาบน. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบไทย ๕๐ ชั่ง เป็น ๑ หาบ = ๖๐ กิโลกรัม, หาบหลวง ก็เรียก, ถ้าตามวิธีประเพณีแบบจีน ๑๐๐ ชั่ง เป็น ๑ หาบ.
หาบหลวงน. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบไทย ๕๐ ชั่ง เป็น ๑ หาบ, หาบ ก็เรียก.

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top