ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การปก, -การปก- |
행정 | (n) การบริหาร การปกครอง |
|
| การปกครอง | (n) administration, See also: rule, government, Example: เมื่อ พ.ศ.2475 หลังการฉลองกรุงไม่กี่วันก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้นในประเทศไทย โดยทหารและพลเรือน | กรมการปกครอง | (n) Department of Local Administration, See also: Department of the Interior, Example: กรมการปกครองขึ้นอยู่กับกระทรวงมหาดไทย, Count Unit: กรม | เขตการปกครอง | (n) administrative district, See also: administrative district, Example: ในแผ่นดินจีนก่อนสมัยใหม่จะมีการแบ่งเขตการปกครองทั้งในระดับมณฑลและอำเภออย่างชัดเจน, Count Unit: เขต | ศูนย์การปกครอง | (n) administration center | ศูนย์การปกครอง | (n) adminstration center | เขตการปกครองท้องถิ่น | (n) township, Count Unit: เขต |
| กฎมนเทียรบาล | น. ข้อบัญญัติพิเศษเกี่ยวกับพระราชฐาน พระราชวงศ์ และระเบียบการปกครองในราชสำนัก, โบราณใช้ว่า กฎมณเฑียรบาล หรือ กฎมณเทียรบาล ก็มี. | กฎหมายมหาชน | น. กฎหมายที่วางระเบียบโครงสร้างและการปกครองของรัฐหรือการบริหารราชการแผ่นดิน รวมตลอดทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับเอกชน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง. | กฎหมายรัฐธรรมนูญ | น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย. | กรมการ | (กฺรมมะ-) น. ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. | กรมการอำเภอ | น. คณะพนักงานปกครองซึ่งประกอบด้วยนายอำเภอ ปลัดอำเภอ และสมุห์บัญชีอำเภอ มีหน้าที่ร่วมกันในการดำเนินการให้การปกครองอำเภอเรียบร้อย ในปัจจุบันอำนาจหน้าที่ของกรมการอำเภอถูกโอนไปเป็นของนายอำเภอ. | กลไก | (กน-) น. ตัวจักรต่าง ๆ, โดยปริยายหมายความว่าบุคคลผู้เป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ, ระบบหรือองค์การที่บุคคลผู้เป็นเจ้าหน้าที่ในระดับต่าง ๆ ปฏิบัติงานร่วมกันดุจเครื่องจักร, ระบบที่จะให้งานสำเร็จตามประสงค์, เช่น กลไกการปกครอง | กิ่งอำเภอ | น. ท้องที่ที่มีความจำเป็นในการปกครอง แยกมาจากอำเภอที่มีเขตท้องที่กว้างขวางแต่จำนวนประชากรไม่มาก หรือที่ที่มีชุมชนมากแต่ท้องที่ไม่กว้างขวางพอที่จะตั้งขึ้นเป็นอำเภอ มีปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นหัวหน้าปกครอง. | คณะกรรมการอำเภอ | น. คณะบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่และรับผิดชอบร่วมกันในการปกครองอำเภอ ปัจจุบันได้ถูกยุบเลิกไปแล้ว โดยโอนอำนาจและหน้าที่ไปเป็นของนายอำเภอ. | คณาธิการ | น. ผู้มีอำนาจในคณะ, ผู้ปกครองคณะ, เรียกภิกษุผู้ทำหน้าที่ในด้านการปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่ผู้ช่วยเจ้าอาวาสขึ้นไป ว่า พระคณาธิการ. | คณาธิปไตย | (คะนาทิปะไต, คะนาทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งปกครองโดยคณะบุคคลจำนวนน้อยของสังคม มักได้แก่ กลุ่มผู้อาวุโส กลุ่มทหาร หรือ กลุ่มปฏิวัติ. | คุตติ | (คุดติ) น. การรักษา, การคุ้มครอง, การปกครอง. | คุปติ | (คุบติ) น. การรักษา, การคุ้มครอง, การปกครอง. | เครือจักรภพ, เครือรัฐ | (-จักกฺระพบ, -รัด) น. กลุ่มประเทศหรือรัฐที่มีการปกครองตนเอง แต่ยอมรับนับถือประมุขร่วมกัน เช่น ประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ รัฐต่าง ๆ ในเครือรัฐออสเตรเลีย. | จักรวรรดิ | (-หฺวัด) น. รัฐหรือสหภาพของรัฐต่าง ๆ ที่มีจักรพรรดิเป็นประมุข เช่น จักรวรรดิโรมัน, อาณาเขตหรืออาณาจักรที่อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยการปกครองอันเดียวกัน เช่น จักรวรรดิอังกฤษ. | จังหวัด | น. หน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกัน มีฐานะเป็นนิติบุคคล, (โบ) เมือง, หัวเมือง | ซ่องโจร | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ สมคบกันตั้งแต่ ๕ คนขึ้นไป เพื่อกระทำความผิดอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ เช่น ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย และความผิดนั้นมีกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ ๑ ปีขึ้นไป. | ทรราช | น. ผู้ปกครองบ้านเมืองที่ใช้อำนาจตามอำเภอใจ ทำความเดือดร้อนทารุณให้แก่ผู้อยู่ใต้การปกครองของตน. (อ. tyrant), เรียกลัทธิเช่นนั้น ว่า ทรราชย์ หรือ ระบบทรราชย์. | เทศาภิบาล | การปกครองหัวเมืองที่จัดเป็นมณฑล โดยโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทำหน้าที่ปกครองในแต่ละมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล เว้นแต่มณฑลชายแดนบางมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑล ภายหลังเรียกว่า สมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือสมุหเทศาภิบาล. | นครบาล | ผู้มีหน้าที่ในการปกครองนครหลวง | บังเหียน | น. เครื่องบังคับม้าให้ไปในทางที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ปลายทั้ง ๒ ข้าง มีห่วงสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, โดยปริยายหมายความว่า อำนาจบังคับบัญชาให้เป็นไปในทางที่ต้องการ เช่น ถือบังเหียนการปกครองบ้านเมือง กุมบังเหียน. | บัญชา | น. คำสั่งของผู้มีอำนาจบังคับในการปกครอง. | ปกติ | (ปะกะติ, ปกกะติ) ว. ธรรมดา เช่น ตามปกติ, เป็นไปตามเคย เช่น เหตุการณ์ปกติ, ไม่แปลกไปจากธรรมดา เช่น อาการปกติ, ปรกติ ก็ว่า. | ปฏิวัติ | การเปลี่ยนแปลงระบบ เช่น ปฏิวัติอุตสาหกรรม, การเปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารบ้านเมือง เช่น ปฏิวัติการปกครอง. | ประชาธิปไตย | (ปฺระชาทิปะไต, ปฺระชาทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่, การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่. | ประชาบาล | การปกครองพลเมืองในท้องถิ่น. | ประชาภิบาล | การปกครองชาวเมือง. | ประศาสน์ | การปกครอง, การงำเมือง, การสั่ง. | เผด็จการ | น. การใช้อำนาจบริหารเด็ดขาด, เรียกลัทธิหรือแบบการปกครองที่ผู้นำคนเดียวหรือบุคคลกลุ่มเดียวใช้อำนาจอย่างเด็ดขาดในการบริหารประเทศ ว่า ลัทธิเผด็จการ, เรียกผู้ใช้อำนาจเช่นนั้น ว่า ผู้เผด็จการ. | พลำภัง | (พะ-) น. ชื่อกรมการปกครองในกระทรวงมหาดไทย, เขียนเป็น พลัมภัง หรือ พลำภังค์ ก็มี. | พลิกแผ่นดิน | ก. เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในระบบหรือวิธีการปกครองแผ่นดิน. | ฟอกเงิน | ก. การโอน รับโอน หรือเปลี่ยนสภาพทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดบางประการ เพื่อซุกซ่อนหรือปกปิดแหล่งที่มาของทรัพย์สินนั้น หรือเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นมิให้ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลง หรือการปกปิดอำพรางการได้มา ฯลฯ ซึ่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด. | ภาค, ภาค- | (พาก, พากคะ-) น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. | มณฑลเทศาภิบาล | น. เขตการปกครองในระบบเทศาภิบาล โดยการรวมเมืองตั้งแต่ ๒ เมืองขึ้นไปเป็นมณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลที่ส่งไปจากกรุงเทพฯ เป็นผู้ปกครอง. | มนเทียรบาล | (มนเทียนบาน) น. กฎหมายว่าด้วยการปกครองภายในพระราชฐาน, เรียกข้อบัญญัติพิเศษเกี่ยวกับพระราชฐาน พระราชวงศ์ และระเบียบการปกครองในราชสำนัก ว่า กฎมนเทียรบาล | มนเทียรบาล | ผู้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองภายในพระราชฐาน, โบราณใช้ว่า มณเฑียรบาล. | มหาดไทย | น. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัยโบราณ มีสมุหนายกเป็นประธาน, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข การพัฒนาชนบทและชุมชน การส่งเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันสาธารณภัย การผังเมือง การโยธา และการราชทัณฑ์. | มัชฌิมชนบท | น.ในสมัยพุทธกาลหมายถึง ดินแดนส่วนกลางของประเทศอินเดียอันเป็นที่อยู่ของพวกอริยกะ เป็นถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งนครใหญ่ ๆ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และเป็นที่ประชุมของนักปราชญ์ คณาจารย์ เจ้าลัทธิต่าง ๆ. | ระบอบ | ระเบียบการปกครอง เช่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์. | รัฏฐาภิปาลโนบาย | น. วิธีการปกครองบ้านเมือง. | รัฐธรรมนูญ | (รัดถะทำมะนูน, รัดทำมะนูน) น. บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ กำหนดรูปแบบและระบอบการปกครองของประเทศ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน อำนาจหน้าที่ขององค์กร และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร. | รัฐบาล | (รัดถะบาน) น. องค์กรปกครองประเทศ, คณะบุคคลที่ใช้อำนาจบริหารในการปกครองประเทศ. | รัฐประศาสน์ | (รัดถะปฺระสาด) น. การปกครองบ้านเมือง. | รัฐประศาสนนัย, รัฐ-ประศาสโนบาย | (รัดถะปฺระสาสะนะไน, รัดถะปฺระสาสะโนบาย) น. วิธีการปกครองบ้านเมือง. | รัฐประศาสนศาสตร์ | (รัดถะปฺระสาสะนะสาด) น. วิชาว่าด้วยการบริหารและการปกครองประเทศเพื่อให้สัมฤทธิผลตามนโยบายของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด. | รัฐศาสตร์ | (รัดถะสาด) น. วิชาว่าด้วยการเมืองและการปกครองประเทศ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. | ราชการบริหารส่วนกลาง, ราชการส่วนกลาง | น. การปกครอง ดูแล และการปฏิบัติภารกิจของรัฐในฐานะเป็นศูนย์กลางของการบริหารราชการแผ่นดิน โดยจัดแบ่งองค์กรในการปฏิบัติหน้าที่เป็นสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม เช่น ราชบัณฑิตยสถาน. | ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น, ราชการส่วนท้องถิ่น | น. การปกครอง ดูแล จัดการ และการให้บริการของรัฐ ที่รัฐกระจายอำนาจให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนในการดำเนินการ เพื่อสนองความต้องการส่วนรวมของประชาชนในท้องที่นั้น โดยจัดเป็นองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และรูปแบบอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ เช่น กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา. | ราชการบริหารส่วนภูมิภาค, ราชการส่วนภูมิภาค | น. การปกครอง ดูแล จัดการ และการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ที่แยกไปดำเนินงานในพื้นที่นอกเขตนครหลวง เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในท้องที่ในฐานะตัวแทนของราชการบริหารส่วนกลาง โดยแบ่งเขตการดำเนินงานออกเป็น จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน. | ราชนีติ | น. หลักการปกครองของพระราชา, หลักการปกครองบ้านเมือง. | ราชาธิปไตย | น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่มีพระราชาเป็นใหญ่. (ป. ราช + อธิปเตยฺย). |
| parliamentary government | การปกครองระบบรัฐสภา [ ดู cabinet government ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | protection | การคุ้มครองป้องกัน, การอารักขา, การปกปักษ์รักษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | political subdivision | การแบ่งเขตการปกครองรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parish | เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (อังกฤษ, อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parish | เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา), เขตแพริช [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | parish | ๑. เขตการปกครองทางศาสนา๒. เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | presidential government | การปกครองระบบประธานาธิบดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | polyarchy | การปกครองโดยคณะบุคคลบางกลุ่ม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | local self-government | การปกครองตนเองของท้องถิ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | local government | การปกครองส่วนท้องถิ่น, ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | local government | การปกครองส่วนท้องถิ่น, ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | republican form of government | การปกครองแบบสาธารณรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule of men, the | หลักการปกครองที่ถือตัวบุคคลเป็นใหญ่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | relative autonomy | ความเป็นอิสระเชิงสัมพัทธ์ (ในการปกครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | representative government | การปกครองระบบผู้แทนราษฎร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule, home | การปกครองตนเองของท้องถิ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule | กฎ, ข้อบังคับ, หลักเกณฑ์, การปกครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | self-government | การปกครองตนเอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | simulation | ๑. การปลอมแปลง๒. การปกปิดความจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | self-determination | การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | organization, administrative | การจัดระเบียบทางการปกครอง, การจัดระเบียบราชการบริหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | offences relating to public administration | ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | administrative organization | การจัดระเบียบทางการปกครอง, การจัดระเบียบราชการบริหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | administrative organization | การจัดระเบียบราชการบริหาร, การจัดระเบียบทางการปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | administrative area | พื้นที่การปกครอง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | administrative discretion | ดุลยพินิจทางการปกครอง, ดุลยพินิจของฝ่ายปกครอง [ ดู executive discretion ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | administrative discretion | ดุลยพินิจทางการปกครอง, ดุลยพินิจของฝ่ายปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | administrative district | เขตการปกครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | administrative district | เขตการปกครอง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | administrative unit | หน่วยการปกครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | administrative unit | หน่วยการปกครอง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | assembly government | การปกครองโดยสภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | acephalus | การปกครองที่ไม่มีประมุข [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | administration | ๑. การปกครอง, การบริหาร (ก. ปกครอง)๒. การจัดการ (ทรัพย์สิน) (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | autonomy | อัตตาณัติ, ความเป็นอิสระ (ในการปกครองตนเอง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | autonomy | อัตตาณัติ, ภาวะอิสระ, การปกครองตนเอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitrary government | การปกครองตามอำเภอใจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | junta | คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | borough | ๑. บุรี (เขตการปกครองท้องถิ่นรูปหนึ่ง)๒. เขตเลือกตั้ง (สมัยก่อน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | men, the rule of | หลักการปกครองที่ถือตัวบุคคลเป็นใหญ่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | misprision; misprison | การปกปิดการกระทำผิดอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | misprison; misprision | การปกปิดการกระทำผิดอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | municipal government | การปกครองส่วนท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | condominium | ๑. อำนาจปกครองดินแดนร่วมกัน (ของหลายรัฐ)๒. ดินแดนใต้การปกครองร่วม๓. กรรมสิทธิ์ร่วมในอาคารชุด๔. อาคารชุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | concealment | การปกปิดข้อความจริง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | city government | การปกครองนคร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | county | เคาน์ตี, เทศมณฑล (หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของอังกฤษ สหรัฐอเมริกา) [ ดู shire ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | custody | ๑. การคุมขัง๒. การเก็บรักษาทรัพย์, การอารักขาทรัพย์๓. การปกครองดูแล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | custody | ๑. การคุมขัง (ป. วิ. อาญา)๒. การเก็บรักษาทรัพย์, การอารักขาทรัพย์ (ก. แพ่ง)๓. การปกครองดูแล (บุตร) (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | commune | หน่วยการปกครองท้องถิ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| intelligent island | วิสัยทัศน์ของประเทศสิงคโปร์ตามแผน Vision 2000 ที่จะมีการนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในทุกระบบทั้งที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การปกครอง ภาคธุรกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และอื่นๆ ของประเทศสิงคโปร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Administrative discretion | ดุลยพินิจทางการปกครอง [TU Subject Heading] | Administrative remedies | การอุทธรณ์ทางการปกครอง [TU Subject Heading] | Cabinet system | การปกครองระบบรัฐสภา [TU Subject Heading] | Government | การปกครอง [TU Subject Heading] | Local government | การปกครองท้องถิ่น [TU Subject Heading] | Politics and government | การเมืองและการปกครอง [TU Subject Heading] | Representative government and representation | การปกครองระบบผู้แทนราษฏร [TU Subject Heading] | Vienna Covention for the Protection of the Ozone Layer (1985). Protocols, etc. 1987 Sept. 15 | อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยการปกป้องชั้นบรรยากาศโอโซน (ค.ศ.1985). พิธีสาร, ฯลฯ, 15 กันยายน ค.ศ. 1987 [TU Subject Heading] | apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] | Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] | regionalism | ภูมิภาคนิยม " เป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคบนพื้นฐานของการตระหนักถึงผลประโยชน์ร่วม กันในการพัฒนาและความจำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นการระดมพลังในการปกป้องและเสริมสร้างความก้าวหน้าและสันติภาพความ มั่นคงของแต่ละประเทศและของภูมิภาคโดยส่วนรวม - open regionalism ภูมิภาคนิยมแบบเปิด เป็นกระบวนการ รวมตัวและร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการกีดกันประเทศภายนอก - closed regionalism ภูมิภาคนิยมแบบปิด เป็นกระบวนการ รวมตัวและร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าซึ่งกันและกัน โดยมีการกีดกันประเทศภายนอก " [การทูต] | State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] | Team Thailand | ทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] | Brain Sparing | สมองได้รับการปกป้อง [การแพทย์] | Defense Mechanisms | กลไกต่อต้านโรค, ปฏิกิริยาการปรับตัวและต่อต้านความกังวลของตนเอง, ระบบการป้องกัน, กลไกการต่อต้านเชื้อ, กลไกป้องกัน, กลไกในการปกป้องตนเอง, กลไกการป้องกันตนเอง [การแพทย์] |
| อำนาจการปกครอง | [amnāt kān pokkhrøng] (n, exp) EN: administrative power | การดำเนินคดีในด้านการปกครอง | [kān damnoēnkhadī nai dān kān pokkhrøng] (n, exp) EN: administrative court | การปกครอง | [kān pokkhrøng] (n) EN: administration ; rule ; government FR: administration [ f ] ; gouvernance [ f ] | การปกครองบ้านเมือง | [kān pokkhrøng bānmeūang] (n, exp) FR: administration [ f ] | การปกครองโดยเสียงข้างมาก | [kān pokkhrøng dōi sīeng khāngmāk] (n, exp) EN: majority rule | การปกครองตนเอง | [kān pokkhrøng ton-ēng] (n, exp) EN: autonomy FR: autonomie [ f ] | เขตการปกครอง | [khēt kān pokkhrøng] (n, exp) EN: administrative district | เกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง | [kīokap kān pokkhrøng bānmeūang] (adj) FR: administratif | หน่วยการปกครอง | [nūay kān pokkhrøng] (n, exp) EN: administrative unit FR: division administrative [ f ] | เปลี่ยนแปลงการปกครอง | [plīenplaēng kān pokkhrøng] (n, exp) EN: change of government ; change of regime ; coup d'état ; revolution FR: changement de régime [ m ] | เปลี่ยนแปลงการปกครอง | [plīenplaēng kān pokkhrøng] (v, exp) EN: change governments FR: changer de gouvernement | ระบบการปกครอง | [rabop kān pokkhrøng] (n, exp) EN: system of government | สมการปกติ | [samakān pakati = samakān pokkati] (n, exp) EN: normal equation | ตามลักษณะการปกครอง | [tām laksana kān pokkhrøng] (adv) FR: administrativement |
| payroll tax | (n) เงิน (ภาษี) ส่วนหนึ่งที่หักได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง และอีกส่วนจากนายจ้าง รัฐบาลหรือส่วนการปกครองท้องถิ่นเก็บเงิน (ภาษี) ส่วนนี้เพื่อเป็นค่าสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล (เมื่ออายุมาก) ค่าชดเชยหรือใช้จ่ายขณะว่างงาน เป็นต้น |
| aegis | (n) การป้องกัน, See also: การปกป้อง, การคุ้มครอง | aristocracy | (n) การปกครองโดยชนชั้นสูง | aristocrat | (n) ผู้ที่สนับสนุนการปกครองโดยคนชั้นสูง | autonomy | (n) การปกครองตนเอง, See also: เอกราช, Syn. self government | canton | (n) หน่วยการปกครองเล็กๆ หน่วยหนึ่ง (โดยเฉพาะในสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส) | care | (n) การดูแล, See also: การปกป้อง, Syn. charge, protection | centralism | (n) การปกครองหรือควบคุมจากศูนย์กลาง | chain of command | (n) การปกครองแบบระดับขั้นลดหลั่นลงมา | concealment | (n) การปกปิด, See also: การซ่อน, การเก็บเป็นความลับ, Syn. hiding, secretion, covering | cover-up | (n) การปิดบัง, See also: การปกปิด | custody | (n) การคุ้มครอง, See also: การปกป้อง, Syn. protection, guardianship, care | defense | (n) การคุ้มครอง, See also: การปกป้อง, การคุ้มกัน, การอารักขา, Syn. protection, safequard, offense, security | democracy | (n) การปกครองแบบประชาธิปไตย, See also: ระบอบประชาธิปไตย, ประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธปไตย, Syn. republic commonwealth | democrat | (n) นักประชาธิปไตย, See also: ผู้นิยมการปกครองในระบบประชาธิปไตย, Syn. independent, populist | dictatorship | (n) ระบบเผด็จการ, See also: การปกครองแบบเผด็จการ, Syn. despotism, autarchy | diocesan | (adj) เกี่ยวกับเขตการปกครองของ bishop, See also: เกี่ยวกับโบสถ์, เป็นของโบสถ์ | diocese | (n) เขตการปกครองของ bishop, See also: โบสถ์ที่อยู่ภายใต้การดูแลของพระ bishop, Syn. episcopate, prelacy, benefice, bishopric | dominance | (n) การปกครอง, See also: สภาวะการครอบครอง, อำนาจ, Syn. supermacy | dominion | (n) การควบคุม, See also: การปกครอง, อำนาจปกครอง, Syn. authority, control, power, rule, Ant. anarchy, bondage | dyarchic | (adj) ที่เกี่ยวกับการปกครองที่ใช้ 2 กฎ | dyarchy | (n) การปกครองที่ใช้ 2 กฎ | elitism | (n) การปกครองโดยกลุ่มคนที่ร่ำรวยและมีอภิสิทธิเหนือคนอื่น | episcopacy | (n) การปกครองคณะสงฆ์โดยสังฆนายก เช่น ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก, Syn. bishopric | governmental | (adj) แห่งการปกครอง, See also: ทางการ, ทางราชการ, เกี่ยวกับรัฐบาล | iciness | (n) การปกคลุมด้วยน้ำแข็ง | imperium | (n) การปกครอง, See also: เขตการปกครอง, เขตอำนาจ, Syn. authority | innervation | (n) การมีเส้นประสาทไปถึง, See also: การปกคลุมด้วยเส้นประสาท | jackboot | (n) การปกครองที่โหดเหี้ยมและไม่เป็นประชาธิปไตย | keeping | (n) การรักษา, See also: การปกป้อง, Syn. charge | kingship | (n) การปกครองโดยกษัตริย์, See also: ราชาธิปไตย | Kremlinologist | (n) ผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบการปกครองของรัสเซีย, Syn. Sovietologist | Kremlinology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับระบบการปกครองของรัสเซีย, Syn. Sovietology | management | (n) การจัดการ, See also: การบริหาร, การควบคุม, การปกครอง, Syn. administration, supervision | mastership | (n) การปกครอง, See also: การควบคุม, อำนาจบังคับบัญชา, Syn. command | misgovernment | (n) การปกครองไม่ดี | misrule | (n) การปกครองที่ไม่ดี, See also: กฎหมายที่ไม่ดี, Syn. misgovernment | monarchist | (n) ผู้เชื่อในระบอบการปกครองแบบกษัตริย์ | monarchy | (n) การปกครองโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข, See also: ราชาธิปไตย, ระบอบกษัตริย์, Syn. kingship, sovereignty | municipal | (adj) เกี่ยวกับเทศบาล, See also: เกี่ยวกับการปกครองเมืองด้วยตัวเอง, เกี่ยวกับเรื่องภายในรัฐ, Syn. self-governing, metropolitan, Ant. national, state | municipally | (adv) เกี่ยวกับเรื่องภายใน, See also: เกี่ยวกับการปกครองภายใน | oligarchy | (n) การปกครองโดยกลุ่มคนกลุ่มหนึ่ง, See also: คณาธิปไตย | patriarchy | (n) ระบบการปกครองแบบพ่อกับลูก, Syn. patriachate | plutocracy | (n) การปกครองโดยคนมีเงิน, See also: สังคมที่ปกครองโดยคนมั่งคั่ง, Syn. aristocracy | political | (adj) เกี่ยวกับการปกครอง, See also: เกี่ยวกับการเมือง, Syn. legislative | political science | (n) รัฐศาสตร์, See also: การศึกษาเกี่ยวกับระบบการปกครอง, Syn. political economy, politics, government science | politics | (n) วิชาการเมือง, See also: รัฐศาสตร์, ศิลปะการปกครองโดยรัฐ, Syn. foreign affairs, diplomacy | polity | (n) แบบการปกครอง, See also: ระบบการปกครอง, องค์การปกครอง, องค์การของรัฐ | protection | (n) การปกป้อง, See also: การป้องกัน, Syn. assurance, safeguard, safekeeping, Ant. insecurity | protection | (n) ระบบการปกป้องสินค้าพื้นเมืองโดยการจัดเก็บภาษีนำเข้าสูง | raj | (n) การปกครองของอินเดีย |
| aristocracy | (แอริสทอค'คระซี) n. พวกคนชั้นสูง, พวกขุนนาง, คณาธิปไตย, การปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ, การปกครองของขุนนาง, Syn. gentry, nobility, Ant. proletariat | aristocrat | (อะริส'โทแครท) n. คนชั้นสูง, ขุนนาง, ผู้นิยมและสนับสนุนระบอบการปกครองแบบคณาธิปไตย, Syn. noblewoman, nobleman, peer, Ant. plebeian, commoner | aristocratic | (อะริสโทแครท'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ (คณาธิปไตย) , มีลักษณะของคนชั้นสูง | aristocratical | (อะริสโทแครท'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ (คณาธิปไตย) , มีลักษณะของคนชั้นสูง | arrondissement | (อะรอน'ดิสเมินทฺ) n., Fr. การบริหารส่วนท้องถิ่น, ท้องถิ่นการปกครอง (ในฝรั่งเศส) | autocracy | (ออทอค'คระซี) n. อัตตาธิปไตย, เอกาธิปไตย, ผู้มีอำนาจเด็ดขาด, การปกครองโดยผู้มีอำนาจเด็ดขาด, ราชาธิปไตยแบบกษัตริย์ที่มีอำนาจเด็ดขาด, ระบบเผด็จการ. autocratic (al) adj. | autonomy | (ออทอน'โนมี) n. ความอิสระ, การปกครองตนเอง, เอกราช, สิทธิในการปกครองตัวเอง, ชุมชนที่ปกครองตัวเอง. -autonomist n., Syn. independence | bureaucracy | (บิวรอค'ระซี) n. การปกครองระบบเจ้าขุนมูลนาย, กลุ่มของข้าราชการ, กลุ่มของนักบริหาร, ระบบบริหารที่มีพิธีรีตองมากเกินไป, Syn. civil service, red tape | clublaw | n. การปกครองด้วยกระบอง, การปกครองแบบใช้อำนาจ | congregation | (คองกริเก'เชิน) n. การชุมนุม, กลุ่มคน, คริสต์ศาสนิกชนที่ชุมนุมกันในโบสถ์, See also: congregational adj. ดูcongregation, Syn. assembly, union congregationalism คองกริเก'ชัน นัลลิสซึม n. รูปการปกครองของสงฆ์ที่อิสระ. คำ | constitution | (คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น, การก่อตั้ง, การสถาปนา, ร่างกาย, อุปนิสัย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ, ระเบียบข้อบังคับ, รูปแบบการปกครอง, รากฐาน, Syn. composition | constitutional monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | custody | (คัส'โทดี) n. การอารักขา, การปกครอง, การเก็บรักษา, การควบคุม, การคุมขัง, See also: custodial adj. | cutcherry | n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ | cutchery | n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ | democrat | (เดม'มะแครท) n. ผู้นิยมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย, สมาชิกพรรคเดมโมแครท | domain | (โดเมน') n. อาณาเขตการปกครอง, อาณาจักร, ที่ดินขอบเขต, กลุ่มของคำ (ในทางคณิตศาสตร์) ของตัวแปรอิสระของ function, See also: domainal, domainial adj., Syn. discipline | dominance | (ดอม'มะเนินซฺ) n. การปกครอง, การมีอำนาจเหนือ, การครอบงำ, ภาวะที่ถูกครอบงำ., See also: dominancy n. ดูdominance, Syn. command, power, rule, authority | domination | (ดอมมะเน'เชิน) n. การครอบงำ, การมีอำนาจเหนือ, การมีอิทธิพลเหนือ, การปกครอง, การควบคุม, Syn. jurisdiction | dominion | (ดะมิน'เยิน) n. อำนาจการปกครอง, การปกครอง, การครอบงำ, Syn. authority, government | elitism | (อีลิท'ทิสซึม) n. วิธีการปกครองของบุคคลชั้นหัวกะทิ, ความรู้สึกภาคภูมิใจที่เป็นคนชั้นยอด, See also: elitist n. ดูelitism, Syn. elitism. | empery | (เอม'พะรี่) n. อาณาจักร, การปกครองอย่างเด็ดขาด | empire | (เอม'ไพเออ) n. อาณาจักร, จักรวรรดิ, อำนาจเด็ดขาด, การปกครองอย่างเฉียบขาด | federalism | n. ระบบการปกครองแบบสหรัฐหรือสมาพันธรัฐ | federalist | (เฟด'เดอเริลลิสทฺ) n. ผู้นิยมการปกครองในรูปสหรัฐหรือสมาพันธรัฐ. -, See also: federalistic adj. | federate | (เฟด'เดอเรท) vt., vi. จัดให้มีการปกครองในรูปสหรัฐหรือสมาพันธรัฐ. adj. ซึ่งเป็นสหรัฐหรือสมาพันธรัฐ, Syn. federated | free world | n. โลกเสรี, ชาติทั้งหลายที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์หรืออยู่ภายใต้การปกครองแบบเผด็จการ | gerontocracy | n. การปกครองโดยคนวัยชรา | governance | n. การปกครอง, การควบคุม, ระบบการจัดการ | government | (กัฟ'เวิร์เมินทฺ) n. รัฐบาล, การปกครอง, See also: governmental adj., Syn. order, rule control, Ant. anarchy, chaos | gynarchy | (จิน'นาร์คี) n. การปกครองโดยผู้หญิง, See also: gynarchic adj. | gynecocracy | (จินนะคอด'ระซี) n. การปกครองโดยผู้หญิง, รัฐบาลที่ ปกครองโดยผู้หญิง., See also: gynecocrat n. gynecratic adj. | hagiocracy | (แฮกจิออค'ระซี) n. การปกครองโดยกลุ่มนักบวช, หล่ม, หนอง, บึง, ส่วนที่เป็นเกาะในหนองหรือบึง, Syn. hagiarchy | hierarchy | (ไฮ'อะราคี) n. การปกครองโดยลำดับขั้น, See also: hierarchism n. hierarchist n. | hierocracy | n. การปกครองของคณะสงฆ์., See also: hierocratic, hierocratical adj. | imamate | (อิมา'เมท) n. ที่ทำการของimam, อาณาเขตการปกครองของ imam | imperialism | (อิมเพีย' เรียลลิสซึม) n. ลัทธิจักรวรรดินิยม, ลัทธิล่าอาณานิคม, การปกครองระบบจักรวรรดินิยม., See also: imperialist n. imperialistic adj. imperialistically adv. | imperium | (อิมเพีย' เรียม) n., (pl. -peria) การควบคุม, อำนาจสูงสุด, การปกครอง, เขตการปกครอง, เขตอำนาจ, อาณาจักร, อำนาจการควบคุมฝ่ายบริหาร (command, empire) | insulation | (อินซะเล'เชิน) n. วัตถุที่ใช้ทำเป็นฉนวน, การปกคลุมด้วยฉนวน, การแยกออกต่างหาก, Syn. isolation | investiture | (อินเวส'ทิเชอะ) n. การมอบ, การมอบหมายอำนาจหน้าที่หรือตำแหน่ง, การปกคลุม, สิ่งที่ปกคลุม, สิ่งตกแต่ง, การลงทุน | kingship | (คิง'ชิพ) n. ความเป็นกษัตริย์, การปกครองโดยกษัตริย์. -Kingship พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, Syn. monarchy | limited monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | lordship | (ลอร์ด'ชิพ) n. ตำแหน่งหรือฐานะขุนนางชั้นลอร์ด, อำนาจและหน้าที่ของท่านลอร์ด, เขตการปกครองของท่านลอร์ด | management | (แมน'นิจเมินทฺ) n. การจัดการ, การบริหาร, การควบคุม, การปกครอง, ผู้จัดการ, คณะผู้จัดการ, คณะผู้บริหาร, Syn. government | mandatary | (แมน'ดะเทอรี) n. ประเทศที่ได้รับอำนาจอาณัติในการปกครอง, ผู้ถือคำสั่ง, ผู้ได้รับอำนาจ, Syn. mandatory | mandatory | (แมน'ดะโทรี, -ทอรี) adj. (เกี่ยวกับ) คำสั่ง, อาณัติ, ข้อบังคับ, จำเป็น, ซึ่งได้รับคำสั่ง. n. ผู้ได้รับมอบอาณัติการปกครอง., See also: manditorily adv., Syn. obligatory | misrule | (มิสรูล') n. กฎที่เลว, การปกครองที่เลวหรือไม่ฉลาด, ความไม่มีระเบียบแบบแผน vt. ปกครองไม่ดี, จัดการไม่ได้, Syn. mismanagement | mobocracy | (มอบออค'ระซี) n. การปกครองโดยมวลชน, มวลชนที่เป็นชั้นปกครองกลุ่มหนึ่ง, See also: mobocrat n. mobocratic adj. | municipal | (มิวนิส'ซะเพิล) adj. เกี่ยวกับเทศบาล, เกี่ยวกับการปกครองเมืองด้วยตนเอง | municipality | (มิวนิส'ซะแพล'ลิที) n. เทศบาล (นคร, เมือง, ท้องถิ่น) , การปกครองด้วยตนเอง, นครภิบาล, Syn. city, town |
| administration | (n) การจัดการ, การปกครอง, การบริหาร | autarchy | (n) การปกครองแบบเอกาธิปไตย | autonomy | (n) อิสรภาพ, เอกราช, การปกครองตนเอง | bureaucracy | (n) การปกครองระบบเจ้าขุนมูลนาย | concealment | (n) การซ่อน, การปิดบัง, การปกปิด, การซ่อนเร้น | conservation | (n) การสงวน, การป้องกัน, การพิทักษ์, การปกปักรักษา | county | (n) มณฑล, จังหวัด, อำเภอ, เขตการปกครอง | custody | (n) การพิทักษ์, การดูแล, การอารักขา, การปกครอง | defence | (n) การป้องกัน, เครื่องป้องกัน, การปกป้อง, การแก้ต่าง | defense | (n) การป้องกัน, เครื่องป้องกัน, การปกป้อง, การแก้ต่าง | democracy | (n) การปกครองระบอบประชาธิปไตย, ความเสมอภาคทางการเมือง | dictatorship | (n) อำนาจเผด็จการ, การปกครองระบบเผด็จการ | dominance | (n) การครอบงำ, ความมีอำนาจเหนือ, การปกครอง, ความเด่น | domination | (n) การครอบครอง, การปกครอง, การครอบงำ, การควบคุม | federate | (vt) รวมเป็นสหพันธ์, จัดการปกครองแบบสหพันธรัฐ | feudalism | (n) การปกครองระบบศักดินา | government | (n) รัฐบาล, คณะปกครอง, การปกครอง, เขตปกครอง, การควบคุม | governmental | (adj) เกี่ยวกับการปกครอง, ของรัฐบาล, เกี่ยวกับรัฐบาล | guardianship | (n) การปกครอง, การคุ้มครอง, การป้องกัน, การคุ้มกัน | hierarchy | (n) การปกครองระบอบเจ้าขุนมูลนาย, การปกครองเป็นลำดับชั้น | HOME home rule | (n) การปกครองตนเอง | lordship | (n) ตำแหน่งท่านลอร์ด, ความเป็นเจ้าของ, เขตการปกครอง | management | (n) การปกครอง, การบริหาร, การจัดการ | mastership | (n) การปกครอง, ความเชี่ยวชาญ, ความเป็นนาย, ความมีอำนาจ | misgovernment | (n) การปกครองไม่ดี, การจัดการไม่ได้ | misrule | (n) การปกครองไม่ดี, ความไม่มีระเบียบ | monarchy | (n) การปกครองระบอบราชาธิปไตย | oligarchy | (n) การปกครองลัทธิคณาธิปไตย | paternalism | (n) การปกครองแบบพ่อปกครองลูก | politics | (n) การเมือง, รัฐศาสตร์, รัฐประศาสโนบาย, วิชาการปกครอง | regime | (n) สมัยการปกครอง, ระบอบการปกครอง | regimen | (n) กฎเกณฑ์, หลัก, ระเบียบบริหาร, การปกครอง | reign | (n) รัชกาล, รัชสมัย, ความยิ่งใหญ่, อำนาจการปกครอง | rule | (n) กฎ, กติกา, ระเบียบ, ข้อบังคับ, การปกครอง, ไม้บรรทัด | secrecy | (n) การเก็บความลับ, การปกปิด, การปิดปัง, การอำพราง | SELF-self-government | (n) การควบคุมตัวเอง, การปกครองตนเอง | theocracy | (n) การปกครองโดยถือพระเจ้าเป็นผู้ปกครองสูงสุด | triumvirate | (n) พวกสาม, การปกครองโดยคนสามคน, สามเสือ | trust | (n) การดูแลกิจการของผู้อื่น, การพิทักษ์, การปกครอง | tutelage | (n) ความคุ้มครอง, การสั่งสอน, การปกครอง, การอนุบาล, การพิทักษ์ | tyranny | (n) การปกครองแบบเผด็จการ, การปกครองแบบทรราชย์ |
| biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | cathedral | (n) วัดของคริสต์ศาสนาที่มีสังฆราช (bishop) เป็นประมุขและที่เป็นทีตั้งของ “อาสนะสังฆราช” (bishop's cathedra) เป็นสถานที่ทางศาสนาที่ใช้ในการสักการะบูชา (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่นนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ นิกายอังกลิคัน และ นิกายลูเทอรัน มหาวิหารจะเป็นวัดที่เป็นที่นั่งของสังฆราช (วัดประจำตำแหน่ง) ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของสังฆมณฑล (Diocese หรือ See) ที่อยู่ใต้การปกครองของสังฆราชที่กำหนดไว้ | Council of Ministers | "คณะมนตรีบริหาร" เป็นชื่อเรียกรัฐบาลระดับแคว้น รัฐ หรือภูมิภาค คำนี้ปรากฎในบางประเทศที่ใช้ระบอบการปกครองแบบสหพันธรัฐ หัวหน้าคณะมนตรีบริหารมักมีชื่อตำแหน่งว่า "มุขมนตรี" | Department of Provincial Administration | กรมการปกครอง | Holy see | (org) สันตะสำนัก เป็นสถาบันด้านการปกครองของนครรัฐวาติกัน มีเขตอำนาจทั่วนครรัฐวาติกันและในบางอาสนวิหารนอกวาติกัน | LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน | public admistration | (n) การบริหารการปกครอง | theocratic | (n, name) ลัทธการปกครองโดยพระผู้เป็นเจ้า, การเมืองโดยเทพเจ้า, คณะสงฆ์ที่รวบอำนาจการปกครองแผ่นดิน | under someone's wing | (phrase) ภายใต้การปกป้องของ..., ภายใต้การดูแลของ... |
| 立憲君主政 | [りっけんくんしゅせい, rikkenkunshusei] (n) การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ |
| 立憲君主政体 | [りっけんくんしゅせいたい, rikkenkunshuseitai] การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | 民主改革評議会 | [みんしゅかいかくひょうぎかい, minshukaikakuhyougikai] (n) คณะปฏิรูปการปกครอง | 地方自治法 | [みんしゅかいかくひょうぎかい, chihoujichi hou] พระราชญัติว่าด้วยการปกครองตนเองของท้องถิ่น(พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองท้องถิ่น ประเภทต่างๆ เช่น จังหวัด เทศบาล และบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่นเหล่านั้นเป็นต้น) | 政権 | [せいけん, seiken] (n) การปกครอง, การบริหาร, ระบอบการปกครอง |
| 領土 | [りょうど, ryoudo] TH: ดินแดนที่อยู่ในอาณัติการปกครอง EN: dominion |
| Staat | (n) |der, pl. Staaten| รัฐ, ประเทศ, มลรัฐ (หรือชุมนุมชนที่มีการปกครองเดียวกัน) เช่น Die Europäische Gemeinschaft (EG) besteht aus zwölf Staaten. | Absolutismus | (n) |der| การปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์, ระบบเผด็จการทางการเมือง |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |