ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ประพฤติ, -ประพฤติ- |
ประพฤติ | (v) conduct, See also: behave, act, perform, do, commit, operate, Syn. ปฏิบัติตัว, ทำตัว, ปฏิบัติ, วางตน, วางตัว, กระทำ, ดำเนินตน, ปฏิบัติตน, Example: คนเราควรประพฤติแต่ความดี | ประพฤติตน | (v) behave oneself, See also: perform, act, Syn. ประพฤติตัว, ปฏิบัติตน, Example: รัฐสภามีข้อบังคับควบคุมจรรยาบรรณของประธานสภาไว้ด้วยไม่ให้ประพฤติตนจนขาดความน่าเชื่อถือในความเป็นกลาง | ประพฤติชอบ | (v) behave well, See also: conduct oneself properly, Syn. ประพฤติดี, Ant. ประพฤติมิชอบ, Example: คุณครูสั่งสอนให้นักเรียนประพฤติดีประพฤติชอบยึดมั่นในความสุจริตเพื่อที่นักเรียนจะได้จำเริญยิ่งๆ ขึ้นไป, Thai Definition: ปฏิบัติแต่ความดี | ประพฤติตาม | (v) follow, See also: observe the precepts, behave, track, trace, Syn. ปฏิบัติตาม, ทำตาม, เจริญรอยตาม, Ant. ฝ่าฝืน, Example: นี่ถ้าไม่มีเหตุอื่นบังคับก็เห็นจะไม่มีใครประพฤติตาม | ประพฤติผิด | (v) misbehave, See also: behave badly, Syn. ทำผิด, กระทำผิด, Ant. ประพฤติถูก, ทำถูก, Example: เพราะเขาประพฤติผิด เขาจึงได้รับการตำหนิติเตียน, Thai Definition: ปฏิบัติตนไปในทางที่ไม่ดี | ความประพฤติ | (n) behaviour, See also: behavior, manners, conduct, act, Syn. การกระทำ, การปฏิบัติตน, การทำตน, Example: ความประพฤติของเด็กวัยรุ่นดูขัดตาคนมีอายุที่เคยชินกับวัฒนธรรมไทย | ประพฤติมิชอบ | (v) misbehave, See also: behave badly, Ant. ประพฤติชอบ, Example: ข่าวนักบวชประพฤติมิชอบทำให้ความเคารพศรัทธาเลื่อมใสในพระสงฆ์ของประชาชนเสื่อมลง, Thai Definition: ประพฤติไม่ดี, กระทำตัวไม่ดี | กรมคุมประพฤติ | (n) Department of Probation | การคุมประพฤติ | (n) probation, Example: เขาถูกศาลสั่งการคุมประพฤติเป็นระยะเวลา 1 ปี | กรมควบคุมความประพฤติ | (n) Department of Probation, Count Unit: กรม | สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการ | (n) Office of the Commission of Counter-Corruption, Example: รัฐมนตรีอภิสิทธิ์ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแลสำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการ |
| ประพฤติ | (ปฺระพฺรึด) น. ความเป็นไปอันเกี่ยวด้วยการกระทำหรือปฏิบัติตน, การทำตาม, เหตุต้นเค้า. | ประพฤติ | (ปฺระพฺรึด) ก. ทำตาม, ปฏิบัติ, เช่น ประพฤติธรรม | ประพฤติ | กระทำ, ดำเนินตน, ปฏิบัติตน, เช่น ประพฤติดี ประพฤติชั่ว. | กาเมสุมิจฉาจาร | (-มิดฉาจาน) น. การประพฤติผิดในประเวณี. | กายทุจริต | (กายยะทุดจะหฺริด, กายทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางกาย ได้แก่ การฆ่าสัตว์ ๑ การลักทรัพย์ ๑ การประพฤติผิดในกาม ๑. | กายสุจริต | (กายยะสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางกาย มี ๓ อย่าง ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ ๑ การไม่ลักทรัพย์ ๑ การไม่ประพฤติผิดในกาม ๑. | กุลสตรี | (กุนละสัดตฺรี, กุนละสะตฺรี) น. หญิงผู้มีตระกูลและมีความประพฤติดี. | เกะกะ | ประพฤติเป็นพาลเกเร เช่น คนเกะกะ. | เกี้ยว ๑ | ก. รัด, พันแน่น, ติดแน่น, เช่น เพราะประพฤติมันเกี้ยว เกี่ยงร้ายแกมดี (โลกนิติ) | แก๊ง | กลุ่มคนที่ประพฤติตนไม่ดี เช่น ในซอยนี้มีแก๊งติดยา ฉันจึงไม่กล้าเดินเข้าไปคนเดียว. | ขยัน ๑ | (ขะหฺยัน) ก. ทำการงานอย่างแข็งขันไม่ปล่อยปละละเลย, ทำหรือประพฤติเป็นปรกติสมํ่าเสมอ, ไม่เกียจคร้าน | ขัดขืน | ก. ไม่ประพฤติตาม, ไม่ทำตาม. | ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ | น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔). | ข้านอกเจ้าบ่าวนอกนาย | น. ผู้ที่กระทำหรือประพฤตินอกเหนือคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมา. | เข้าคอ | ก. ประพฤติให้ถูกใจกันได้, มีความประพฤติถูกกัน, ไม่ขัดคอกัน. | เข้าเงียบ | ก. ประพฤติสงบจิตใจอยู่ในที่สงัดตามลัทธิคริสต์ศาสนา. | เข้าเมืองตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม | ก. ประพฤติตนตามที่คนส่วนใหญ่ประพฤติกัน. | เข้าวัดเข้าวา | ก. ไปวัดเพื่อฟังเทศน์ฟังธรรม, ไปอยู่ที่วัดเพื่อปฏิบัติธรรม, ประพฤติตนอยู่ในศีลในธรรม. | คดโกง | ก. ประพฤติทุจริต, ไม่ซื่อตรง. | คติชาวบ้าน | น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. | คนเสมือนไร้ความสามารถ | น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. | คอหยัก ๆ สักแต่ว่าคน | น. คนที่ประพฤติตัวไม่สมศักดิ์ศรีของความเป็นคน. | จร ๑, จร- | ประพฤติ. (ป., ส.), ใช้เป็นบทท้ายสมาสก็มี เช่น ขจร วนจร, ที่ใช้ควบกับคำไทยก็มี เช่น จรลู่ จรลิ่ว. | จรณะ | (จะระ-) น. ความประพฤติ, ในพระพุทธศาสนาหมายความว่า ข้อปฏิบัติเป็นเครื่องบรรลุวิชชา. | จรรยา | (จัน-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่ในคณะ เช่น จรรยาแพทย์, นิยมใช้ในทางดี เช่น มีจรรยา หมายความว่า มีความประพฤติที่ดี. | จรรยาบรรณ | (จันยาบัน) น. ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้. | จริต | (จะหฺริด) น. ความประพฤติ, กิริยาหรืออาการ, เช่น เสียจริต วิกลจริต, มักใช้ในทางไม่ดี เช่น ดัดจริต มีจริต, จริตจะก้าน ก็ว่า, ความประพฤติปรกติ, ความประพฤติที่หนักไปทางใดทางหนึ่ง อันเป็นปรกติอยู่ในสันดาน, แนวโน้มของจิตใจ, มี ๖ อย่าง คือ ราคจริต โทสจริต โมหจริต สัทธาจริต พุทธิจริต วิตกจริต. | จริย- | (จะริยะ-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น จริยศึกษา. | จริยธรรม | น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม. | จริยวัตร, จริยาวัตร | น. หน้าที่ที่พึงประพฤติปฏิบัติ | จริยวัตร, จริยาวัตร | ความประพฤติ ท่วงทีวาจา และกิริยามารยาท. | จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | จริยศึกษา | น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม. | จริยา | (จะ-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น ธรรมจริยา. | จารี | น. ผู้ประพฤติ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ธรรมจารี สัมมาจารี. | จารีตประเพณี | น. ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว. | จำเนียม | ก. รู้จักประมาณตัว, ประพฤติตนพอสถานประมาณ เช่น บรรจงภาพจำเนียม (ลอ). | เจริญรอย | ก. ประพฤติ เช่น เจริญรอยตามผู้ใหญ่. | เจษฎา ๒ | กรรม, การทำด้วยตั้งใจ, การประพฤติ, การตั้งใจทำ, เช่น ภูบาลทุกทวี- ปก็มาด้วยเจษฎา (สมุทรโฆษ). | เจียม ๒ | ก. รู้จักประมาณตัว, ประพฤติตนพอสถานประมาณ, เช่น เจียมเนื้อเจียมตัว. | ใจแตก | ว. ประพฤติไปตามที่ตนนิยมในทางที่ผิดหรือนอกโอวาทจนเคยตัว. | ชะแม่ | น. สตรีชาววังฝ่ายใน เช่น ยังจะประพฤติตนให้นางท้าวชาวชะแม่พระสนมกำนัล สิ้นทั้งพระราชฐานรักใคร่ตัวได้แลฤา, บรรดาหมู่ชะแม่นางในทั้งหลาย (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) อนึ่ง ผู้เปนจ่าเปนโขลนท่านแต่งให้เรียกหาชะแม่ พระสนม ค่ำเช้าเข้าใต้เพลิง (กฎมนเทียรบาล). | ชั้นหลัง | ว. รุ่นที่จะตามมา เช่น จงประพฤติตนเป็นตัวอย่างแก่ชนชั้นหลัง. | ชื่นใจ | ก. มีความสุข, มีความพอใจ, เช่น ลูกมีความประพฤติดี พ่อแม่ก็ชื่นใจ กลิ่นดอกไม้หอมชื่นใจ. | เชื่อฟัง | ก. ทำตามหรือประพฤติตามคำสั่งหรือคำสอน. | ซื่อตรง | ก. ประพฤติตรงไม่เอนเอียง เช่น ซื่อตรงต่อหน้าที่, ไม่คดโกง เช่น เขาเป็นคนซื่อตรง. | ซื่อสัตย์ | ก. ประพฤติตรงและจริงใจ, ไม่คิดคดทรยศ, ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง. | ดบัสวิน, ดบัสวี | (ดะบัดสะ-) น. ผู้ประพฤติความเพียร, ฤษี, เพศหญิงว่า ดบัสวินี, เขียนเป็น ดบัศวี ก็มี เช่น รอยมึงบยำชีหน้าหนวด นักบวชด้วยดบัศวี แต่ก่อนฤๅ (ม. คำหลวง ชูชก). | ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. | ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. |
| professional misconduct | การประพฤติมิชอบในวิชาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | probation | ๑. การคุมประพฤติ๒. การรอพินิจ๓. การทดลองปฏิบัติงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | probation | ๑. การคุมประพฤติ (ก. อาญา) [ ดู controlling of behaviour ]๒. การทดลองปฏิบัติงาน (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | probation officer | พนักงานคุมประพฤติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | probationer | ผู้ถูกคุมความประพฤติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parole | ๑. การปล่อยตัวโดยการคุมประพฤติ๒. การปล่อยเชลยศึกโดยมีเงื่อนไข [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parole | ๑. การปล่อยตัวโดยมีการคุมประพฤติ (ป. วิ. อาญา) [ ดู release on licence ]๒. การปล่อยเชลยศึกโดยมีเงื่อนไข (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parolee | ผู้ได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกำหนดโทษ, ผู้ได้รับการปล่อยโดยมีการคุมประพฤติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pre-sentence investigation | การสืบเสาะก่อนพิพากษา (ของพนักงานคุมประพฤติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pre-sentence report | รายงานการสืบเสาะก่อนพิพากษา (ของพนักงานคุมประพฤติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | release on licence | การปล่อยตัวโดยมีการคุมประพฤติ [ ดู parole ความหมายที่ ๑ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reformatory | สถานปรับปรุงความประพฤติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | supervision order | ๑. คำสั่งให้คุมประพฤติ (เด็กและเยาวชน)๒. คำสั่งให้คุมความประพฤติ (ระหว่างการรอลงอาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | office, misconduct in | การประพฤติมิชอบในหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | antecedents | ประวัติความประพฤติ (ของจำเลย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | justice, corrective | ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | behaviour | พฤติกรรม, ความประพฤติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | moral turpitude | ความประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malversation | การประพฤติทุจริต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | misbehaviour | การประพฤติมิชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | misconduct in office | การประพฤติมิชอบในหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | misconduct, professional | การประพฤติมิชอบในวิชาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | misconduct, wilful | การจงใจประพฤติมิชอบ, การจงใจประพฤติชั่ว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | conduct | ความประพฤติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | conduct, disorderly | ความประพฤติที่ผิดระเบียบแบบแผน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | conduct, infamous | ความประพฤติเสื่อมเสีย, ความประพฤติผิดจรรยาบรรณ (วิชาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | corrective justice | ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | controlling of behaviour | การคุมประพฤติ [ ดู probation ความหมายที่ ๑ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dishonourable discharge | การให้ออกเพราะประพฤติเสื่อมเสีย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | disorderly conduct | ความประพฤติที่ผิดระเบียบแบบแผน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | good time allowance | การลดโทษเพราะประพฤติดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | good-time allowance | การลดโทษเพราะประพฤติดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | gross misconduct | การประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | failure of good behaviour | การมีความประพฤติเสื่อมเสีย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | immoral conduct | ความประพฤติที่ผิดศีลธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | infamous conduct | ความประพฤติเสื่อมเสีย, ความประพฤติผิดจรรยาบรรณ (วิชาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | infamous conduct | การประพฤติผิดจรรยาบรรณ (วิชาชีพ), ความประพฤติที่น่าอับอาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | voluntary conduct | การประพฤติโดยสมัครใจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | habitual prodigality | ความประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | unreasonable conduct | ความประพฤติที่ไม่มีเหตุอันสมควร (ของคู่สมรส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wilful misconduct | ความประพฤติผิดโดยจงใจ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | wilful misconduct | การจงใจประพฤติมิชอบ, การจงใจประพฤติชั่ว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wilful misconduct of employee | การจงใจประพฤติมิชอบของลูกจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wrongful conduct | การประพฤติมิชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wilful and wanton misconduct | การประพฤติมิชอบโดยจงใจและขาดการยับยั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Corrupt practice | การประพฤติทุจริต [เศรษฐศาสตร์] | นอกคอก | ประพฤติไม่ตรงตามแบบตามธรรมเนียมประเพณีของบรรพบุรุษ, Example: คำที่มักเขียนผิด นอกครอก [คำที่มักเขียนผิด] | Convention on Code for Liner Conferences 1974 | อนุสัญญาว่าด้วยประมวลความประพฤติของชมรมสายการเดินเรือ (ค.ศ. 1974) [TU Subject Heading] | Intensive probation | การคุมประพฤติแบบควมคุมตัว [TU Subject Heading] | Juvenile probation | การคุมประพฤติเยาวชน [TU Subject Heading] | Police misconduct | การประพฤติมิชอบของตำรวจ [TU Subject Heading] | Probation | การคุมประพฤติ [TU Subject Heading] | Probation officers | พนักงานคุมประพฤติ [TU Subject Heading] | Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] | Action, Bad | ประพฤติผิด [การแพทย์] | Aestivation | การเปลี่ยนแปลงทั้งทางสรีรวิทยาและทางความประพฤติ [การแพทย์] | Antisocial Personality | ประพฤติเป็นภัยต่อสังคม [การแพทย์] | Behavioral Pattern | ความประพฤติ [การแพทย์] | Conduct Disorders | ปัญหาด้านความประพฤติ, พฤติกรรมแปรปรวนนอกลู่นอกทาง [การแพทย์] |
| การคุมประพฤติ | [kān khum praphreut] (n, exp) EN: probation | ข้อควรประพฤติ | [khø khūan praphreut] (n, exp) EN: code of practice ; instructions | ความประพฤติ | [khwām praphreut] (n) EN: behaviour ; conduct ; deal | ความประพฤติชั่ว | [khwām praphreut chūa] (n, exp) EN: immodesty ; bad behavior | ความประพฤติดี | [khwām praphreut dī] (n, exp) EN: conduct | ประพฤติ | [praphreut] (v) EN: behave ; conduct ; act ; perform ; do ; operate ; commit FR: se comporter ; agir ; se conduire | ประพฤติชอบ | [praphreut chøp] (v, exp) EN: behave well | ประพฤติชั่ว | [praphreut chūa] (v, exp) EN: do evil ; have a bad conduct | ประพฤติดี | [praphreut dī] (v, exp) EN: make good thing | ประพฤติไม่ดี | [praphreut mai dī] (v, exp) EN: sin | ประพฤติมิชอบ | [praphreut michøp] (v, exp) EN: misbehave | ประพฤติผิด | [praphreut phit] (v, exp) EN: misbehave | ประพฤติตาม | [praphreut tām] (v, exp) EN: ollow | ประพฤติตามธรรม | [praphreut tām tham] (v, exp) EN: practice the dharma | ประพฤติตน | [praphreut ton] (v, exp) EN: behave oneself | ประพฤติตัว | [praphreut tūa] (v, exp) EN: behave |
| malfeasance | (n) การประพฤติผิดต่อหน้าที่ โดยเฉพาะที่กระทำโดยข้าราชการ, Syn. corruption | transvestite | (n) คนที่แต่งตัว-, ประพฤติตัว-, มีบทบาททางเพศ-เหมือนคนเพศตรงข้าม; กระเทย, See also: cross-dresser | condescending | (adj) ประพฤติตนในลักษณะว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้อื่น เช่น His tone of voice was always so condescending. เขามักจะพูดโดยใช้นำเสียงในลักษณะเหมือนว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้อื่น |
| acquit | (vt) ประพฤติตัว, Syn. behave, conduct | act | (vi) ปฏิบัติตัว, See also: ประพฤติตน, ทำตัว, วางตัว, Syn. perform, do, behave | act | (vt) ปฏิบัติตัว, See also: ประพฤติตน, ทำตัว, วางตัว | amend | (vi) ประพฤติตัวดีขึ้น | as good as gold | (idm) เป็นระเบียบเรียบร้อย, See also: ประพฤติตัวดีมาก | bear | (vt) ประพฤติตัว, See also: ปฏิบัติตัว, Syn. behave | behave | (vi) ประพฤติตัว, See also: ประพฤติ, วางตัว, ปฏิบัติตัว, Syn. act, perform | be above | (phrv) มีมาตรฐานสูงกว่า, See also: ประพฤติตัวดีกว่า | be at it | (idm) ประพฤติผิด, See also: เหลวไหล | be in the right | (idm) ประพฤติตัวดี, Syn. put in | be in the wrong | (idm) ประพฤติตัวไม่ดี, Syn. put in | be out of line | (idm) ทำผิด, See also: ประพฤติผิด, ออกนอกลู่นอกทาง, Syn. be in with, bring into | be up to mischief | (idm) ประพฤติตัวเหลวไหล, See also: เกเร, เหลวไหล, Syn. get up to | cad | (n) ผู้ชายที่มีความประพฤติไม่ดี | carry | (vt) ประพฤติ, See also: ปฎิบัติตัว, Syn. behave, comport | censor | (n) ผู้ควบคุมความประพฤติ | cheat | (vi) นอกใจ, See also: มีชู้, ประพฤตินอกใจ, ไม่ซื่อสัตย์, Syn. betray, cuckold, wander | comport | (vt) ประพฤติ, Syn. behave | comportment | (n) ความประพฤติ, Syn. behavior | conduct | (n) ความประพฤติ, Syn. behavior | conduct | (vt) ประพฤติ, Syn. behave | cast back | (phrv) ประพฤติตัวเหมือน (ญาติหรือบรรพบุรุษ), See also: เหมือนกับ ญาติหรือบรรพบุรุษ, Syn. throw back | efface oneself | (phrv) ทำตัวเรียบๆ, See also: ประพฤติตัวไม่เด่น | fly right | (phrv) ประพฤติดี (คำไม่เป็นทางการ) | deal | (vt) ปฏิบัติตัว, See also: ทำ, ทำตาม, กระทำ, ปฏิบัติ, ประพฤติ, Syn. act, behave | decency | (n) ความประพฤติที่ถูกทำนองคลองธรรม, See also: ความเหมาะสม, มารยาท, ความสุภาพ, Syn. decorum, propriety | dementia | (n) โรคจิตเสื่อม (มีผลต่อความสามารถในการคิด, การจำ, การประพฤติ), Syn. mental deterioration, insanity, madness, Ant. sanity, saneness | deviation | (n) ความประพฤติที่เบี่ยงเบน, See also: การเบี่ยงเบนทางความประพฤติ, Syn. noncompliance, Ant. conformity | errancy | (n) ความโน้มเอียงในการกระทำผิดหรือประพฤติตัวไม่เหมาะสม, Syn. deviation | errant | (adj) ที่ประพฤติชั่ว, See also: ซึ่งประพฤติตัวไม่ดี | faux pas | (n) การประพฤติผิด, See also: การทำผิด, ความผิดพลาด, Syn. blunder, error, mistake | form | (n) พฤติกรรม, See also: ความประพฤติ, Syn. behavior, manner | get out of | (phrv) ทำผิด, See also: คิดผิด, ประพฤติผิด, Syn. be out of | get out of | (phrv) ทำผิด, See also: คิดผิด, ประพฤติผิด, Syn. be out of | get up to | (phrv) ประพฤติไม่ดี, See also: พฤติกรรมไม่ดี, Syn. be up to | go native | (phrv) ประพฤติตัวเหมือนคนท้องถิ่นหรือคนพื้นเมือง (เช่น ทางด้านประเพณีหรือวัฒนธรรม) | go off | (phrv) ประพฤติตัวนอกลู่นอกทาง, Syn. keep on, run off | go on | (phrv) ประพฤติ, See also: ปฏิบัติตัว, มีชีวิตอยู่, ดำรงชีวิต | go wrong | (phrv) ประพฤติผิด, See also: ออกนอกลู่นอกทาง | gaffe | (n) การประพฤติผิดมารยาทสังคม, See also: การเสียมารยาท, คำพูดเสียมารยาท, Syn. blunder, faux | golden rule | (n) หลักคำสอน, See also: หลักประพฤติ | hanky-panky | (n) ความประพฤติที่ไม่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, See also: นิสัยที่ไม่ดี, Syn. mischief, monkey business, trick | look as if butter wouldn't melt in one's mouth | (idm) ทำตัวเหมือนไร้เดียงสา, See also: ประพฤติตนเหมือนน่ายกย่อง | mend one's ways | (idm) แก้ไขพฤติกรรม, See also: ปรับปรุงตัว, ปรับปรุงความประพฤติ | impeach | (vt) กล่าวโทษเนื่องจากประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่, Syn. charge | impertinence | (n) ความหยาบคาย, See also: ความโอหัง, การไม่เคารพนับถือผู้ใหญ่, การพูด / การกระทำที่หยาบคาย, การประพฤติตัวไม่เหมาะสม, Syn. disrespect, flippancy, Ant. courtesy, politeness, respect; | impertinency | (n) ความหยาบคาย, See also: ความโอหัง, การประพฤติตัวไม่เหมาะสม, Syn. impertinence | infamy | (n) การมีชื่อเสียงในทางลบ, See also: นิสัยเลว, ความประพฤติไม่ดี, Syn. notoriety, scandal, disrepute | jaw at | (phrv) ดุด่า (คำไม่เป็นทางการ), See also: พร่ำสอน, สั่งสอนให้ประพฤติตัวดี | keep on the right side of the law | (idm) ประพฤติถูกต้องตามกฎหมาย, Syn. remain on, stay on |
| action | (แอค' เชิน) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง, ขั้นตอน, การฟ้องร้อง, ฤทธิ์, อำนาจ, เหตุการณ์, การใช้กำลัง, การเดิน, การเคลื่อนไหว, การรบ, การพนัน, การกระทำที่ตื่นเต้น. -actions ความประพฤติ | advice | (แอดไวสฺ') n. คำแนะนำ, ข้อคิดเห็น, ความเห็น, ความประพฤติ, การบอกข่าว, ข่าว, รายงาน, Syn. counsel, notification | behave | (บิเฮฟว์') { behaved, behaving, behaves } vi., vt. ปฎิบัติตัว, ประพฤติ, กระทำตัว, Syn. conduct | behavior | (บิเฮฟ'วิเออะ) n. ความประพฤติ, การกระทำตัว, พฤติกรรม, อาการ, ท่าที, Syn. manners | behaviour | (บิเฮฟ'วิเออะ) n. ความประพฤติ, การกระทำตัว, พฤติกรรม, อาการ, ท่าที, Syn. manners | character | (แค'ริคเทอะ) n. ตัวอักษร, อักขระ, อุปนิสัย, คุณสมบัติ, ลักษณะพิเศษ, หลักความประพฤติ, ความรักหรือหยิ่งในศักดิ์ศรี, ชื่อเสียงที่ดี, เกียรติคุณ, ฐานะตัวในเรื่อง, บทบาทในละครหรือภาพยนตร์, สัญลักษณ์, See also: characterisation, characterization n. | comport | (คัมพอร์ท', -โพร์ท') { comported, comporting, comports } vt . ประพฤติ, แสดงออก. vi. เข้าได้กับ n. ความประพฤติ, พฤติการณ์, กิริยามารยาท, See also: comportment n. ดูcomport, Syn. conduct, act | conduct | (คอน'ดัคทฺ) { conducted, conducting, conducts } n. ความประพฤติ, การปฎิบัติ, การชี้นำ. vt. (คอนดัคทฺ') นำไปซึ่ง, ชักนำ. vi. นำ, ชักนำ, เป็นคนนำ, See also: conductible adj. ดูconduct conductibility n. ดูconduct, Syn. deportment, b | correctitude | (คะเรค'ทิทูด) n. ความถูกต้อง, ความประพฤติที่เหมาะสม, Syn. correctness | cricket | (คริค'คิท) n. จิ้งหรีด, กีฬาคริคเก็ต, การเล่นที่ยุติธรรม, ความประพฤติของสุภาพของสุภาพบุรุษ vi. | deal | (ดีล) { dealt, dealing, deals } v. จัดการ, จัดสรร, แจกไพ่, ติดต่อธุรกิจ, ค้าขาย, ประพฤติ. n. การติดต่อธุรกิจ, การตกลงลับ, การซื้อขาย, จำนวนมาก, ปริมาณมาก, การแจกไพ่, สัญญา, นโยบาย | demean | (ดีมีน') vt. ทำให้ต่ำ, ทำให้เลวลง, กระทำตัว, ประพฤติ, ปฏิบัติตัว | demeanor | (ดิมี'เนอะ) n. ความประพฤติ, ท่าทาง, การวางตัว, สีหน้า, หน้าตา | demeanour | (ดิมี'เนอะ) n. ความประพฤติ, ท่าทาง, การวางตัว, สีหน้า, หน้าตา | deport | (ดีพอร์ท') vt. เนรเทศ, วางท่าทาง, ประพฤติตัว., See also: deportable adj., Syn. banish | faux pas | (โฟพา') ความประพฤติผิด, ความผิดพลาด | gest | (เจสทฺ) n. เรื่องราว, นิทาน, บทกวีเกี่ยวกับความรักหรือประวัติศาสตร์, การกระทำ, คนประพฤติ, ลักษณะท่าทาง, ขั้นตอนในการเดินทาง | going | (โก'อิง) n. การไป, สภาพของผิวหน้าถนนหนทาง., See also: goings n. นิสัย, ความประพฤติ adj. เคลื่อนที่, กระฉับกระเฉง, มีชีวิต, ทั่วไป, ตามปกติ, ปัจจุบัน, ซึ่งกำลังจากไป, Syn. departure, ongoing | golden rule | หลักความประพฤติที่ให้ปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนที่ปฏิบัติต่อตัวเอง | ground rule | หลักความประพฤติขั้นพื้นฐาน | infamy | (อิน'ฟะมี) n. การมีชื่อเสียงในทางที่เลว, นิสัยหรือความประพฤติที่เลว, Syn. dishonour | juvenile delinquency | ความประพฤติผิดของเด็กและเยาวชน | law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง | malpractice | (แมลแพรค'ทิส) n. การปฏิบัติหน้าที่บกพร่องหรือไม่ถูกต้อง, การประกอบโรคศิลปะที่บกพร่องหรือไม่ถูกต้อง, การประพฤติผิด | malversation | (แมลเวอเซ'เชิน) n. ความประพฤติที่ไม่สมควรของข้าราชการ, ฉ้อราษฎร์บังหลวง | mince | (มินซฺ) vt. สับละเอียด, ตัดออกเป็นชิ้น ๆ ที่เล็กมาก, ลดเสียง, พูดเสียงอ่อนลง vi. เดินด้วยก้าวสั้น ๆ อย่างนุ่มนวล, พูดหรือประพฤติอย่างมีมารยาท n. สิ่งที่สับละเอียด, ขนมสับ, เนื้อสับ., See also: mincer n. | misbehave | (มิส'บิเฮฟว) vi., vt. ประพฤติไม่ดี, ประพฤติไม่เหมาะสม., See also: misbehaver n. | mischief | (มิส'ชีฟ) n. ความซุกซน, การชอบรบกวน, ความประพฤติหรือการกระทำที่ทำให้เกิดอันตรายหรือความลำบาก, อันตราย, ความลำบาก, ความร้าย, Syn. harm, Ant. advantage | misconduct | (มิสคอน'ดัคทฺ) n. ความประพฤติที่ผิดหรือไม่เหมาะสม, การกระทำผิด. vt. ประพฤติผิด, กระทำผิด, Syn. malfeasance | monitor | (มอน'นิเทอะ) n. นักเรียนผู้ทำหน้าที่ช่วยครูดูแลความประพฤติของนักเรียนคนอื่น, เครื่องเตือน, เครื่องบอกเหตุ, เหี้ยหรือจะกวด, เครื่องรับการส่งวิทยุ, พี่เลี้ยง. vt. ใช้เครื่องรับฟังสัญญาณ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม, สังเกต, ควบคุม. vi. เป็นเครื่องเตือน, เป็นเครื่องตรวจ. ตัวจอภาพหมายถึง ตัวจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องปลายทาง (terminal) จอภาพนั้นมีหลายชนิด เช่น สีเดียว, หลายสี มีหลายขนาด จอภาพที่ดีจะต้องมีความถี่สูง ทำให้ได้ภาพที่นิ่งสนิท (non interlaced) ทำให้ไม่มีอันตรายต่อสายตา มีความคมชัดสูง (high resolution) ขนาดมาตรฐานจะมีความละเอียด 1024 x 768 จุด แบบที่ผลิตออกมาขายใหม่ ๆ จะมีข้อดีอีกข้อหนึ่ง คือ ประหยัดไฟ โดยปิดตัวเองได้ในขณะที่ไม่ใช้งาน เรียกว่า green monitor | moral | (มอ'เริล, โม'เริล) adj. เกี่ยวกับศีลธรรม, เกี่ยวกับจรรยา, เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบ, บริสุทธิ์, เกี่ยวกับจิตใจ, ขึ้นอยู่กับการสังเกต. n. หลักศีลธรรม, หลักธรรมจริยา, See also: morals n. หลักความประพฤติ, Syn. ethical | motto | (มอท'โท) n. ภาษิตคำขวัญ, คติพจน์, คำพังเพย, หลักความประพฤติ pl.mottoes, mottos | proctor | (พรอค'เทอะ) n. ทนาย, ผู้ดูแลความประพฤติของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย, เจ้าหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อย. vt., vi. ดูแลความประพฤติ, ดูแลความสงบเรียบร้อย, See also: proctorial adj. proctorship n., Syn. agent, proxy | proper | (พรอพ'เพอะ) adj. เหมาะสม, เหมาะ, สมควร, ถูกต้อง, ถูกกาลเทศะ, ถูกมารยาท, เกี่ยวกับบุคคลใดหรือสิ่งใดโดยเฉพาะ, อันแท้จริง, ดั้งเดิม, กับตา, โดยตัวของมันเอง, เคร่งครัด, สมบูรณ์, เต็มที่, ดี. n. พิธีการ, มารยาท, ความประพฤติ, Syn. fit, suitable | rubric | (รู'บริค) n. ตัวหนังสือแดง, หัวเรื่องสีแดง, เครื่องหมายสีแดง, เครื่องหมายนำทางสีแดง, ข้อควรประพฤติในพิธีทางศาสนา, ข้อควรประพฤติ, กฎ | slate | (สเลท) n. กระดานชนวน, หินชนวน, สีหินชนวน, สีเทาอมน้ำเงินเข้ม, รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ที่จะได้รับการพิจารณาคัดเลือก, -Phr. (clean slate ประวัติความประพฤติที่ขาวสะอาด) vt. ปูด้วยหินชนวน, ปูด้วยแผ่นหิน, เสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้ง, กำหนดรายชื่อผู้ที่อยู่ในข่ายที่จะได้รับพิจารณาได้รับเลือก | tao | (เดา, เทา) n. เต๋า, พื้นฐานความประพฤติที่สมควรของมนุษย์หรือการดำเนินชีวิตอย่างง่าย ๆ | tick | (ทิค) n., vi., vt. (เกิด, ทำ) เสียงดังติ๊ก ๆ ของนาฬิกา, ขณะ, ช่วงระยะเวลาอันสั้น, เครื่องหมายจุด, เครื่องหมายจดบัญชี. n. แมลงเช่นเห็บหมัดที่ดูดเลือดกินเป็นอาหาร, ปลอกหมอน, ผ้าปูที่นอน. -Phr. (what makes one tick หลักความประพฤติ, สิ่งดลใจ) | well-conditioned | (เวล'คันดิช'เชินดฺ) adj. แข็งแรง, มีสุขภาพดี, สมบูรณ์, มีนิสัยดี, มีความประพฤติดี | well-conducted | (เวลคอนดัค'ทิด) adj. มีความประพฤติดี | well-doing | (เวล'ดูอิง) n. ความประพฤติดี, การกระทำแต่ความดี, การกระทำที่ดี |
| behave | (vi, vt) ประพฤติ, ปฏิบัติตัว, ทำตัว, กระทำ | behaviour | (n) ความประพฤติ, พฤติกรรม, พฤติการณ์, อาการ, การปฏิบัติ | censor | (n) ผู้ติชม, ผู้ตรวจหนังสือพิมพ์ฯลฯ, ผู้ควบคุมความประพฤติ | character | (n) ความประพฤติ, ลักษณะ, อุปนิสัย, ตัวอักษร, เครื่องหมาย, ตัวละคร | comport | (vt) ประพฤติ, ปฏิบัติ, แสดงออก | conduct | (n) การชี้นำ, การทำ, ความประพฤติ, การปฏิบัติ | demeanour | (n) ความประพฤติ, การวางตัว, ท่าทาง, การกระทำ, การปฏิบัติตัว | deport | (vt) ขับไล่, เนรเทศ, ประพฤติตัว, วางท่าทาง | deportation | (n) การขับไล่, การเนรเทศ, พฤติกรรม, การประพฤติตัว | deportment | (n) พฤติกรรม, ความประพฤติ, การวางตัว, การวางท่าทาง | doings | (n) การปฏิบัติ, ความประพฤติ, พฤติกรรม, การกระทำ | infamy | (n) ชื่อเสีย, นิสัยเลว, ความประพฤติเลว | malefactor | (n) ผู้ร้าย, ผู้ประพฤติชั่ว, ผู้ทำผิด | malpractice | (n) การปฏิบัติผิดพลาด, การประพฤติผิด, การทุจริตต่อหน้าที่ | manner | (n) กิริยาท่าทาง, วิธี, ลักษณะ, อาการ, มารยาท, ความประพฤติ | misbehave | (vi) ซุกซน, ประพฤติผิด, ประพฤติเลว | misbehaviour | (n) ความประพฤติเลว, การประพฤติผิด, ความซุกซน | misconduct | (n) การจัดการผิด, การประพฤติผิด, การผิดประเวณี | misconduct | (vt) ประพฤติเลว, ประพฤติผิด, ผิดประเวณี, จัดการผิด | misdemean | (vt) ประพฤติตัวเลว, ประพฤติผิด | misdemeanour | (n) การประพฤติตัวเลว, ความผิดทางอาญา, ผู้กระทำผิด | moral | (n) ศีลธรรม, จรรยา, ความประพฤติ | propriety | (n) ความเหมาะสม, ความถูกต้อง, ความสมควร, ความประพฤติ, ระเบียบ | sin | (vi) ประพฤติชั่ว, ทำบาป, ประทุษร้าย, นอกใจ, ละเมิด | solecism | (n) การประพฤติผิด, การผิดมารยาท, ความไม่เหมาะสม |
| supervised release | การปล่อยตัว(นักโทษ)โดยมีการคุมประพฤติ | เกรียน | [เกียน (อ่านออกเสียง ร ด้วยนะ)] (n, adj) เด็กที่ชอบทำตัวนิสัยเกรียนๆ คือประพฤติตัวไม่เหมาะสม มักพบในเกมออนไลน์ ทั่วๆไป คำๆนีเริ่มถือกำเนิดจากเกมออนไลน์ Ragnarok เมื่อหลายปีก่อน By ZeRoTo |
| 振る舞い | [ふるまい, furumai] (n) การกระทำ, ความประพฤติ, การต้อนรับ, See also: S. 行動こうどう), ごちそう |
| Verhalten | (n) |das, nur Sg.| ลักษณะท่าทางอาการ, ความประพฤติ | verhalten | (vt) |verhält, verhielt, hat verhalten| sich verhalten: ประพฤติ, ปฏิบัติตัว เช่น Er verhält sich heute wie ein Chef. วันนี้เขาปฏิบัติตัวเหมือนเป็นเจ้านาย | sich benehmen | (vt) |benimmt sich, benahm sich, hat sich benommen| ประพฤติตน เช่น Bitte benehmen Sie sich vor den Kindern. ขอความกรุณาคุณช่วยประพฤติตนต่อหน้าเด็กๆ | Erziehungslager | (n) |das, pl. Erziehungslager| สถานที่หรือหน่วยงานที่ตั้งขึ้นเพื่อฝึกอบรมผู้เยาว์ที่ทำผิดกฎหมาย หรือก่ออาชญากรรม เช่น การอบรมเรื่องระเบียบวินัย การประพฤติ เช่น Deutschland diskutiert über Erziehungslager für kriminelle Jugendliche. In Frankreich existieren solche Anstalten schon seit mehreren Jahren. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |