ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ไหน, -ไหน- |
let's see | (phrase, (spoken)) Let’s + V1 แปลประมาณว่า …..กันเถอะ มาดูกันว่า, เดี๋ยวนะ, คอยดูสิว่า, I am thinking about this, you are not sure what to say next OK. Let's see where we are.มาดูกันว่าถึงไหนแล้้ว Do you know a shop that sells dictionaries?” (ขอโทษครับ) พี่รู้จักร้านหนังสือที่ขายพวกพจนานุกรมไหมครับ? “Let me see” เดี๋ยวนะ ให้ผมคิดก่อน Let’s see what you will get for the New Year. คอยดูสิว่าเธอจะได้อะไรเป็นของขวัญวันปีใหม่ let's see (spoken) I am thinking about this “Do you have any idea how many people will be there?” “Well, let's see – I don't think I could put a number on it.” Let's see how much you want to win this event. Now that we know what your interests are, let's see if we can match you to a job that you'd like. | มีไหน | (jargon) เป็นภาษาเหนือแปลว่า มีอะไร หรือว่า อยู่ไหน เช่น พ่อแม่เธอมีไหน? ก็แปลว่า พ่อแม่ของเธออยู่ไหน? เป็นต้น |
|
| pathan | (slang) ไปที่ไหนกัน, See also: S. |
| PET Scan | (n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้ |
| ทำพรือ | (slang) ทำยังไง, ทำแบบไหน |
| ห่อม | (n) แถว เช่นสิไปห่อมได๋ แปลว่าจะไปแถวไหน |
| ไหน | (det) any, Example: ไม่มีหนังสือพิมพ์ฉบับไหนลงข่าวเรื่องนี้เลย | ไหน | (ques) where, Syn. ที่ใด, อะไร, สิ่งไร, Example: คุณจะเหมารถไปไหน | ไหน | (n) Nai (kind of fruits), Thai Definition: ชื่อผลไม้คล้ายพุทรา, Notes: (จีน) | ตรงไหน | (pron) where, Example: รถเมล์สายนี้สิ้นสุดตรงไหน | ที่ไหน | (pron) where, See also: which place, Syn. แห่งใด, แห่งไหน | แต่ไหน | (pron) form where, See also: whence, Syn. จากไหน, Example: ทีแรกข้าพเจ้าฟังไม่ค่อยเข้าใจจึงถามว่า เสืออะไร เสือมาแต่ไหน เพราะนึกว่าเสือจริงๆ | ที่ไหนๆ | (pron) wherever | เท่าไหน | (ques) how much, See also: how many, Syn. เท่าใด, เท่าไหร่ | ครั้งไหน | (adv) any time, See also: anytime, Syn. ตอนไหน, เมื่อไหร่, Example: ผมยังไม่เคยพบความสำเร็จอย่างถาวรไม่ว่าครั้งไหนๆ | ครั้งไหน | (ques) when, Syn. ตอนไหน, เมื่อไหร่, คราวไหน, Example: ช่วยตอบผมทีว่าเขาร่วมเดินทางไปกับพวกเราครั้งไหน | อย่างไหน | (pron) which one, See also: which, Syn. อย่างใด, แบบไหน, Example: ระหว่างการเป็นผู้ว่าฯ กทม. กับการเป็นส.ส. อย่างไหนจะทำประโยชน์ให้กับบ้านเมืองมากกว่ากัน | อย่างไหน | (pron) which one, See also: which, Syn. อย่างใด, แบบไหน, Example: ระหว่างการเป็นผู้ว่าฯ กทม. กับการเป็นส.ส. อย่างไหนจะทำประโยชน์ให้กับบ้านเมืองมากกว่ากัน | ที่ไหนได้ | (conj) on the contrary, Syn. ตรงกันข้าม, อะไรได้, หาใช่เช่นนั้นไม่, Example: สามีคิดว่าภรรยาไม่รู้ ที่ไหนได้เธอรู้อยู่ตลอดเวลา, Thai Definition: เป็นคำใช้แสดงความประหลาดใจ ไม่พอใจ ปฏิเสธ หรือแย้ง, Notes: (ปาก) | ไม่เอาไหน | (adv) uselessly, See also: incompetently, Syn. ใช้การไม่ได้, ไม่เอาถ่าน, Example: คนงานที่นี่ส่วนใหญ่ทำงานไม่เอาไหน | ที่ไหนบ้าง | (pron) where else, Example: ในกรุงเทพฯ มีที่ไหนบ้านที่เรายังไม่ได้ไป | แต่ไหนแต่ไร | (adv) from time inmemorial, Syn. นานมาแล้ว, เป็นมานาน, แต่ครั้งไหนครั้งไร, Example: เศรษฐกิจของเราขึ้นอยู่กับการเกษตรมาแต่ไหนแต่ไร | ไปไหนไม่รอด | (v) cannot get away to anywhere, See also: cannot escape to anywhere, Example: ในที่สุดเขาก็ไปไหนไม่รอดต้องกลับมาพึ่งผมอยู่ดี | ไปไหนไม่รอด | (v) cannot get away to anywhere, See also: cannot escape to anywhere, Example: ในที่สุดเขาก็ไปไหนไม่รอดต้องกลับมาพึ่งผมอยู่ดี | ถึงไหนถึงกัน | (adv) until the very end, See also: up to the last, until the last, entirely, terminably, finally, ultimately, Syn. จนถึงที่สุด, Example: เธอไปถึงไหน ดิฉันก็ไปถึงนั่น ฉันจะติดตามเธอไปถึงไหนถึงกัน |
| เข้าไหนเข้าได้ | ก. สามารถติดต่อหรือคบหาสมาคมกับใคร ๆ ได้. | ชาปีไหน | น. ชื่อนกขนาดกลางชนิด <i> Caloenas nicobarica</i> Linn. ในวงศ์ Columbidae ลำตัวสีเขียวเหลือบเทา มีสร้อยคอสีเขียวเห็นได้ชัด ขนหางสีขาว มักเกาะตามกิ่งไม้หนาทึบ หากินตามพื้นดิน กินเมล็ดพืช พบตามหมู่เกาะทางภาคใต้ของประเทศไทย แต่มีชุกชุมทางด้านทะเลอันดามัน, กะดง ก็เรียก. | แต่ไหนแต่ไร | ตั้งแต่นานมาแล้วถึงปัจจุบัน เช่น เขาเป็นคนอย่างนี้แต่ไหนแต่ไรแล้ว. | ถึงไหนถึงกัน | ว. จนถึงที่สุด. | ที่ไหน | น. แห่งใด, แห่งใดแห่งหนึ่ง, แห่งใดก็ตาม, เช่น ไปที่ไหนก็ได้ | ที่ไหน | คำใช้ในข้อความคาดคะเนว่าคงจะไม่เป็นเช่นนั้น เช่นนี้ มีความหมายว่า ไฉน, ฉันใด, อย่างไร, เช่น แล้วว่าอนิจจาความรัก พึ่งประจักษ์ดั่งสายน้ำไหล ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา (อิเหนา). | ที่ไหนได้ | ว. อะไรได้, หาใช่เช่นนั้นไม่, คำใช้แสดงความประหลาดใจ ไม่พอใจ ปฏิเสธ หรือแย้ง เป็นต้น เช่น ก พูดว่า หนังสือเล่มนี้ราคาถึง ๑๐ บาทไหม ข ตอบว่า ที่ไหนได้ ตั้ง ๕๐ บาท. | นิ้วไหนร้ายก็ตัดนิ้วนั้น | น. คนใดไม่ดี ก็ตัดออกไปจากหมู่คณะ. | เป็นไหน ๆ | ว. มากมายจนประมาณไม่ได้ เช่น ดีกว่าเป็นไหน ๆ. | ไปไหนมาสามวาสองศอก | ก. ถามอย่างหนึ่งตอบไปอีกอย่างหนึ่ง. | เรือล่มในหนองทองจะไปไหน | น. คนในเครือญาติแต่งงานกัน ทำให้ทรัพย์มรดกไม่ตกไปอยู่กับผู้อื่น. | ไหน ๑ | ว. ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความสงสัยหรือคำถาม เช่น คนไหน อันไหน ที่ไหน, ถ้ามีคำ ก็ได้ ต่อท้าย แสดงถึงความไม่เจาะจง เช่น คนไหนก็ได้ ที่ไหนก็ได้. | ไหน ๒, ไหนล่ะ, ไหนว่า, ไหนว่าจะ | ว. เป็นคำถามเชิงตัดพ้อต่อว่า ทวงถาม หรือสงสัย เป็นต้น เช่น ไหนพระผ่านฟ้าสัญญาน้อง จะปกป้องครองความพิสมัย (อิเหนา), ไหนล่ะรางวัล ไหนว่าไม่ลืม ไหนว่าจะพาไปเที่ยว. | ไหน ๆ | ว. สำนวนแสดงถึงความปลงใจในสิ่งที่ผ่านพ้นไปแล้วหรือเป็นการตัดพ้อต่อว่าเป็นต้น เช่น มัวแต่งุ่มง่ามอยู่นั่นแหละ เพื่อน ๆ เขาก้าวหน้าไปไหน ๆ แล้ว ไหน ๆ ก็ร่วมหอลงโรงกันแล้ว. | ไหนจะ | ว. สำนวนแสดงถึงความตัดพ้อต่อว่าด้วยความท้อใจเป็นต้น เช่น ไหนจะต้องเหนื่อยยากลำบากกาย ไหนจะอายทั่วทั้งโลกา (เพลงฝรั่งรำเท้า พระราชนิพนธ์ ร. ๖). | ไหน ๓ | น. ชื่อผลไม้คล้ายพุทรา. (จ.). | ไหน ๓ | ชื่อผลไม้ในสกุล <i>Prunus</i>. | ก้นร้อน | ก. นั่งอยู่ที่ใดได้ไม่นาน เช่น แม่คนนี้ก้นร้อน นั่งที่ไหนไม่ได้นานหรอก. | ก้นหนัก | ก. นั่งอยู่ที่ใดที่หนึ่งได้นาน ๆ ไม่ลุกหรือขยับเขยื้อนไปไหนง่าย ๆ เช่น แม่คนนี้ก้นหนัก ไปนั่งคุยอยู่บ้านเพื่อนตั้งแต่เช้ายังไม่ยอมกลับ. | กรวยเชิง | น. ลายที่ทำเป็นรูปกรวย ใช้เป็นลายชายผ้าและปลายเสา เรียกชื่อต่าง ๆ กันแล้วแต่ลายอยู่ที่ไหน เช่น ถ้าอยู่ที่เชิงผ้า เรียกว่า กรวยเชิง, ถ้าอยู่ที่เชิงผ้าเกี้ยว เรียกว่า เชิงเกี้ยว, ถ้าอยู่ที่ด้ามหอก เรียกว่า เชิงหอก. | กระโฉม | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด<i> Limnophila rugosa</i> (Roth) Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ลำต้นและกิ่งอวบน้ำ สีม่วง ใบรูปไข่ ค่อนข้างหนา ด้านล่างมีขน ขอบหยักห่าง ๆ ก้านใบแบน ๆ โคนก้านโอบกิ่งหรือลำต้น ดอกเล็ก ๆ สีม่วงแกมชมพู กลางเหลือง ออกเป็นกระจุกที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ทุกส่วนของไม้นี้มีกลิ่นหอม ใช้เป็นอาหาร และใช้ทำยาได้, ผักโฉม ก็เรียก เช่น ผักโฉมชื่อเพราะพร้อง เป็นโฉมน้องฤๅโฉมไหน (เห่เรือ). | กระดิกหู | เข้าใจดี, รู้เรื่องดี, ใช้กับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ภาษาอังกฤษฉันกระดิกหูเสียที่ไหนถึงจะให้ไปทำงานบ้านฝรั่ง. | กระหัง | น. ผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้ชาย เชื่อกันว่าเดิมเป็นผู้ชายที่เรียนวิชาอาคมแก่กล้าเข้าก็มีปีกมีหาง จะไปไหนก็ใช้กระด้งต่างปีก สากตำข้าวต่างขา สากกะเบือต่างหาง ชอบกินของโสโครก, คู่กับ กระสือ ซึ่งเข้าสิงในตัวผู้หญิง, ใช้ว่า กระหาง ก็มี เช่น ถ้าเปนสัจว่าเปนกระสือกระหางจะกละจริงไซร้ (สามดวง). | กลับมาตายรัง | ก. ในที่สุดก็ต้องหวนกลับมาอยู่กับครอบครัวตามเดิม (ใช้แก่สามี) เช่น เขาไปไหนไม่รอด ต้องกลับมาตายรัง. | กอดเข่า, กอดเข่าเจ่าจุก | ก. อยู่ในที่จำกัดอย่างหงอยเหงา เช่น ฝนตกทั้งวัน ไปไหนไม่ได้ ต้องนั่งกอดเข่าเจ่าจุกอยู่แต่ในบ้าน. | กะดง | <i>ดู ชาปีไหน</i>. | กินนร | (-นอน) น. อมนุษย์ในนิยาย มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนก ท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกชนิดหนึ่งมีรูปร่างเหมือนคน เมื่อจะไปไหนมาไหน ก็ใส่ปีกใส่หางบินไป. | กู่ ๒ | ก. ส่งเสียงเป็นสัญญาณให้รู้ว่าอยู่ที่ไหน โดยปรกติเปล่งเสียง วู้. | เก็บอาการ | ก. ไม่แสดงออก เช่น ไม่ว่าจะโกรธขนาดไหน เธอเก็บอาการได้ดี. | ขนมผสมน้ำยา | ว. พอดีกัน จะว่าข้างไหนดีกว่ากันก็ไม่ได้. | ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ | น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔). | ขาก ๒ | ก. ภูมิใจ เช่น ความยินลากขากดีจะมีไหน (อภัย). | ข้าง | ฝ่าย เช่น ข้างไหน ข้างนี้ | ขีดคั่น | ก. ขีดกั้นไว้, กำหนดไว้โดยเฉพาะ เช่น อ่านหนังสือไปถึงไหนแล้ว ให้ทำเครื่องหมายขีดคั่นไว้. | ขึ้นเขาลงห้วย | ไป (ใช้ในความประชด) เช่น จะขึ้นเขาลงห้วยที่ไหนก็ไป ฉันไม่สนใจแล้ว. | คลำ | (คฺลำ) ก. กิริยาที่ใช้อวัยวะเช่นมือ แตะ ลูบ หรือควานอย่างช้า ๆ เพื่อให้รู้ว่าเป็นอะไรอยู่ที่ไหน เช่น คลำหาทางออก คลำหาสวิตช์ไฟ | คว้า | (คฺว้า) ก. ยื่นมือไปจับหรือฉวยมาโดยเร็ว, ลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ศัพท์นี้ไปคว้ามาจากไหน | คว้างเคว้ง | ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมกระแสนํ้าเป็นต้น อย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินคว้างเคว้งไม่รู้จะไปไหนดี, เคว้งคว้าง ก็ว่า. | คอเดียวกัน | ว. มีรสนิยมเดียวกัน เช่น คนนี้คอเดียวกัน ไปไหนไปด้วยกันเสมอ. | คืบ ๑ | เคลื่อนอย่างช้า ๆ เช่น งานยังไม่คืบไปไหนเลย. | คู่ชีพ | ว. ประจำตัว ไปไหนไปด้วยกัน เช่น ม้าคู่ชีพ ดาบคู่ชีพ. | เคว้งคว้าง | ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมกระแสนํ้าเป็นต้น อย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินเคว้งคว้างไม่รู้จะไปไหนดี, คว้างเคว้ง ก็ว่า. | ใคร ๑ | (ไคฺร) ส. คนไหน, ผู้ใด, ใช้เป็นคำถาม เช่น ใครมา เขาไปกับใคร. | งม | โดยปริยายหมายความว่า งุ่มง่าม, ชักช้า, เช่น มัวไปงมอยู่ที่ไหน. | งอมพระราม | ว. มีความทุกข์ยากลำบากเต็มที่ เช่น ทศกัณฐ์จะงอมพระรามที่ไหน เกรงพระรามจะงอมพระรามไปเองเสียอีก (ลักวิทยา). | เงาตามตัว | น. ผู้ที่ไปไหนไปด้วยกันแทบไม่คลาดกันเลย | จบ ๑ | ก. สิ้นสุดคราวหนึ่ง ๆ เช่น จบชั้นไหน. | จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | เจ่า ๒ | ว. อาการที่เกาะ จับ หรือนั่งอย่างหงอยเหงา เช่น นกจับเจ่า นั่งเจ่า, อยู่ในที่จำกัดไปไหนมาไหนไม่ได้ เช่น นํ้าท่วมต้องนั่งเจ่าอยู่กับบ้าน. | โจ๊ก ๓ | น. ไพ่ตัวพิเศษจะใช้แทนตัวไหนก็ได้ตามที่ต้องการ. |
| | เมรุแทรก | เมรุซึ่งแทรกกลางระหว่างเมรุทิศทั้ง 4 หรือ จะแทรกตรงไหนที่เหมาะสม [ศัพท์พระราชพิธี] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] | Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Jus Soli | คือหลักความเชื่อถือซึ่งหลายประเทศยึดถืออยู่ คือบุคคลชาติใดก็ตาม ถือกำเนิด ณ ที่ไหนก็ได้สัญชาติของที่นั้น คนสวีเดนที่เกิดในประเทศไทยจะถือว่าได้สัญชาติไทยไปในตัวผิดกับหลักความ เชื่อถืออีกอันหนึ่งเรียกว่า Jus Sanguinis ซึ่งให้ถือสัญชาติของบุคคลตามสัญชาติของบิดามารดาของบุคคลนั้น ไม่ถือตามสถานที่เกิด [การทูต] | Placement | หมายถึง วิธีจัดที่นั่งโต๊ะในการเลี้ยงอาหารสำหรับนักการทูต โดยคำนึงถึงลำดับอาวุโส เพื่อป้องกันมิให้เกิดความรู้สึกขุ่นเคืองหรือหัวเสีย เรื่องการจัดที่นั่งในการเลี้ยงอาหารโดยคำนึงถึงลำดับอาวุโสนี้ นักการทูตส่วนใหญ่ไม่ว่าที่ไหน มักจะถือว่ามีความสำคัญไม่น้อย เพราะถือเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ ฝ่ายที่รับผิดชอบโดยตรงต่อการจัดที่นั่งเช่นนี้ได้แก่ กรมพิธีการทูตของกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนลำดับของอาวุโสก็ถือตามวันเวลาที่นักการทูตแต่ละคนได้เข้าประจำตำแหน่ง ที่ในประเทศผู้รับ กล่าวคือ ผู้ที่เข้าประจำตำแหน่งก่อนก็คือผู้ทีมีอาวุโสกว่าผู้ที่มาประจำตำแหน่ง หน้าที่ทีหลัง [การทูต] | Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | Wives of Diplomats | ภรรยาของนักการทูต ในประเทศที่มีกษัตริย์ และเอกอัครราชทูตจัดถวายพระราชสาส์นตราตั้งต่อกษัตริย์หรือราชินีในฐานะ ประมุขของรัฐนั้น มักจะให้ภรรยาเข้าเฝ้าด้วยต่างหาก แต่การเข้าเฝ้านั้นจะมีพิธีรีตองน้อยกว่าของเอกอัครราชทูตในอดีตกาล ภรรยาของเอกอัครราชทูตมักจะไม่ได้รับการพิจารณารับรองและยกย่องเหมือนกับที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน อาทิเช่น ที่กรุงเวนิส ตามกฎหมายปี ค.ศ. 1268 ไม่อนุญาตให้ภรรยาของเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย ไม่ว่าจะไปประจำแห่งไหน เพราะเกรงว่าภรรยาอาจจะปากโป้งเกี่ยวกับการงานของสามี แต่กฎหมายได้กำหนดให้เอกอัครราชทูตนำพ่อครัวของตนเองติดตามไปด้วย เพื่อกันมิให้เอกอัครราชทูตต้องถูกวางยาพิษในอาหารที่รับประทานกล่าวโดยทั่ว ไปแล้ว ทุกวันนี้ภรรยาของเอกอัครราชทูตได้อุปโภคเอกสิทธิ เกียรติ ลำดับอาวุโส และความคุ้มกันต่าง ๆ เหมือนกับสามี ถึงแม้ในบางกรณีเอกอัครราชทูตกับภรรยาอาจแยกกันอยู่ก็ตาม ภรรยาของเอกอัครราชทูตที่เพิ่งยื่นสารตราตั้ง มักจะหาโอกาสไปเยี่ยมคารวะภรรยาของเอกอัครราชทูตอื่น ๆ ด้วย แม้ว่าในทุกวันนี้ธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าวอาจจะไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัย ก่อน อนึ่ง ในบางประเทศได้มีระเบียบข้อบังคับ ห้ามมิให้ผู้แทนทางการทูตและทางการกงสุลที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ แต่งงานกับคนต่างชาติโดยมิได้รับอนุมัติจากรัฐบาลของตนก่อน [การทูต] | Corea Flexibilitas | สภาวะผู้ป่วยถูกจับให้อยู่ในท่าไหนก็จะอยู่ในท่านั้น [การแพทย์] |
| oh! | - ไหน? Spies Like Us (1985) | Hey. | เฮ้ มีทางไหนไหม.. Not Cancer (2008) | Which one? | คนไหน Portrait of a Beauty (2008) | - Where's Brick? | -บริคอยู่ไหน Hecks on a Plane (2011) | Eh? | ไหน The Grand Seduction (2013) | Where? | ไหน? Brothers of Nablus (2008) | Where? | ที่ไหน New York, I Love You (2008) | - When? | -ตอนไหนละ The Social Network (2010) | Where? | ที่ไหน Mr. Sandman (2013) | Like what ? [ Sighs ] | เรื่องไหนล่ะ Schindler's List (1993) | The German Army wants to find out where it came from. | กองทัพอยากรู้มันมาจากไหน Schindler's List (1993) | Aren't you supposed to be able to help ? | ไหนว่าพวกคุณช่วยได้ Schindler's List (1993) | Jeez, where'd ya dig this bozo up? | พับผ่า ท่านไปขุดไอ้เซ่อนี่มาจากไหน? Aladdin (1992) | I don't know where she gets it from. | ข้าไม่รู้เลยว่าเธอได้นิสัยนี้มาจากไหน แม่ของเธอก็ไม่จู้จี้ขนาดนี้ Aladdin (1992) | Oh, sure. People who tell you where to go and how to dress. | โอ้ แน่นอน ผู้คนจะบอกเธอ จะไปที่ไหนและแต่งตัวอย่างไร Aladdin (1992) | So, where're you from? | แล้ว เธอมาจากที่ไหน Aladdin (1992) | I think he knows where it is. | ข้าคิดว่าเขารู้ว่ามันอยู่ที่ไหน Aladdin (1992) | I'm telling ya, nice to be back, ladies and gentlemen. | ขา้กำลังบอกท่าน ดีใจที่ได้กลับมา สุภาพสตรีและสุภาพบุีรุษ สวัสดี ท่านมาจากไหนกัน Aladdin (1992) | So you can guess how often that's happened. | ท่านลองเดาดูสิ ว่าจะมีบ่อยแค่ไหนที่เรื่องแบบนั้นจะเกิดขึ้น Aladdin (1992) | Just where did you say you were from? | เจ้าว่า เจ้ามาจากไหนนะ Aladdin (1992) | Or where to go | หรือบอกให้ไปที่ไหน Aladdin (1992) | Jasmine? | จัสมิน เธออยู่ไหน Aladdin (1992) | Ali, where have you been? | อาลี เจ้าไปอยู่ที่ไหนมาน่ะ Aladdin (1992) | Now where were we? Ah, yes--abject humiliation! | เอาละ ถึงไหนแล้วนะ อา ใช่ มนุษย์ที่น่าสงสาร Aladdin (1992) | Perhaps you'd like to see how snake-like I can be! | บางที เจ้าควรเห็นว่า ข้าเป็นงู ได้แค่ไหน Aladdin (1992) | Do you often have fantasies like that? | คุณเห็นภาพพวกนี้บ่อยแค่ไหน? Basic Instinct (1992) | Where did he meet her? | เขาพบเธอที่ไหน? Basic Instinct (1992) | I'm not sure which one it is. | ฉันไม่แน่ใจว่าอันไหน Basic Instinct (1992) | Where she goes, I go. | เธอไปที่ไหน ผมก็ไปที่นั่น Basic Instinct (1992) | I don't know where Adam's notes are. | ฉันไม่รู้ว่าบันทึกของอดัมอยู่ที่ไหน Basic Instinct (1992) | Who knows, she might tell you where T owers' notes went. | ใครจะรู้ เธออาจจะบอกคุณ ว่าบันทึกต่างๆของทาวเวอร์อยู่ที่ไหน Basic Instinct (1992) | Where are you going? | คุณจะไปไหน? Basic Instinct (1992) | Someplace else. Unless you have evidence to charge me. | ที่ไหนก็ได้ เว้นแต่ คุณจะมีหลักฐานมามัดตัวผม Basic Instinct (1992) | Is there somewhere we can talk? | เราจะคุยกันได้ที่ไหนบ้าง? Basic Instinct (1992) | Can I guess where you got it? | ให้ผมเดานะว่าคุณได้มาจากไหน? Basic Instinct (1992) | So do you want to tell me where you found it? | คุณอยากบอกรึยังล่ะ ว่าคุณเจอมันที่ไหน? Basic Instinct (1992) | And you know how I hate being bored. | แล้วคุณรู้ไหมว่าฉันเกลียดความเบื่อหน่ายแค่ไหน Basic Instinct (1992) | Just wait here for a minute. I want to show you something. | ไหนๆ ก์มาแล้ว ผมอยากให้ดูอะไรหน่อย The Bodyguard (1992) | - Like what? | เเบบไหน? The Bodyguard (1992) | I wanted to see how difficult it was to get in. | จะดูซิว่าเข้ามายาก-ง่ายแค่ไหน The Bodyguard (1992) | No matter how incompetent the assassins or how much they miss one person always gets hit. | ไม่ว่ามือปืนชั้นสวะจะยิงส่งเดชแค่ไหน ต้องมีคนหนึ่งโดนลูกหลงเสมอ The Bodyguard (1992) | Where'd you get this guy, Bill? | วันอังคารงั้นเหรอ? คุณไปขุดเขามาจากไหน The Bodyguard (1992) | - Are we going somewhere else? | จะไปไหนต่อไม่ทราบ The Bodyguard (1992) | - You have to tell me about these things. | จะไปไหนต้องบอกผมก่อน The Bodyguard (1992) | Look at this, Rachel. They didn't forget. They don't forget. | เห็นไหมว่าแฟนๆ คลั่งคุณแค่ไหน The Bodyguard (1992) | Maybe later. | - ไหนบอกผมคนเดียว The Bodyguard (1992) | No fucking freak is gonna run me off stage. | ไม่มีใครหน้าไหนไล่ฉันลงจากเวทีได้ The Bodyguard (1992) | Where's the fucking limo? | รถอยู่ไหนกันวะ! The Bodyguard (1992) | Just tell me what I did. I'm a big girl. | บอกมาว่าฉันผิดตรงไหน ฉันโตแล้ว The Bodyguard (1992) | Thuringer, this is Farmer. Where's your man at the door? | นี่ฟาร์เมอร์นะ คนเฝ้าประตูอยู่ไหน The Bodyguard (1992) |
| อันไหน | [an nai] (x) FR: quel ? ; lequel ? ; laquelle ? | อันไหนก็ได้ | [an nai kødāi] (x) FR: n'importe lequel ; n'importe laquelle | จากไหน | [jāk nai] (x) EN: from where ; whence FR: d'où ? | แค่ไหน | [khaē nai] (x) FR: à quel point | ขนาดไหน | [khanāt nai] (n, exp) EN: what size ? FR: quelle taille ? | คนไหน | [khon nai] (n, exp) EN: who ; which person FR: qui ? ; lequel ? | คนไหนก็ได้ | [khon nai kødāi] (xp) FR: n'importe quel ; n'importe qui | ครั้งไหน | [khrang nai] (x) EN: any time | ครั้งไหน | [khrang nai] (x) EN: when ? | ไม่เอาไหน | [mai ao nai] (adv) EN: uselessly ; incompetently | ไม่มีที่ไหน | [mai mī thīnai] (x) FR: nulle part | ไม่มีที่ไหนดีไปกว่า ... | [mai mī thīnāi dī pai kwā ...] (xp) EN: there is no better place to go than ... FR: il n'y a pas meilleur endroit où aller que ... | ไม่ไปไหน | [mai pai nai] (v, exp) EN: not going anywhere FR: n'aller nulle part | ไหน | [nai] (x) EN: where ; which ; what FR: où ? ; quel ? ; quelle ? ; lequel ? ; laquelle ? | ไหน...กว่ากัน | [nai ... kwā kan] (xp) FR: lequel est le plus ... ? | ไหน ๆ | [nai-nai] (x) EN: anyway ; just as well | นกชาปีไหน | [nok chāpīnai] (n, exp) EN: Nicobar Pigeon FR: Nicobar à camail [ m ] ; Pigeon de Nicobar [ m ] | ไปไหน | [pai nai] (v, exp) EN: where are you going ? FR: où allez-vous ? ; où vas-tu ? | ไปไหนมา | [pai nai mā] (v, exp) EN: Where have you been ? FR: d'où venez-vous ? ; d'où viens-tu ? | ไปไหนหมด | [pai nai mot] (xp) EN: where have they all gone ? FR: où sont-ils tous partis ? ; il n'y a plus personne | รถไฟสายไหน | [rotfai sāi nai] (xp) EN: which train ? FR: quel train ? | ทางไหน | [thāng nai] (x) FR: par où ? | ถึงไหน | [theung nai] (x) FR: jusqu'où ? | ที่ไหน | [thīnai] (x) EN: where ; wherever FR: où ; où que ce soit | ที่ไหน | [thīnai] (adj) EN: how on earth | ที่ไหนก็ได้ | [thīnāi kødai] (adv) EN: anywhere FR: n'importe où ; peu importe l'endroit | ที่ไหนก็ตาม | [thīnāi køtām] (adv) EN: anywhere FR: où que ce soit | ตรงไหน | [trong nai] (x) EN: which place ? ; where ? ; where exactely ? FR: où ? ; dans quelle direction ? ; où exactement ? | อย่างไหน | [yāng nai] (pr) EN: which one ? ; which ? FR: quel ? ; lequel ? | ...อยู่ที่ไหน | [... yū thīnāi] (v, exp) EN: where is ... FR: où est/sont ... ? ; où se trouve(nt) ... ? |
| snail mail | (n, jargon) จดหมายที่ถูกส่งทางไปรษณีย์ปกติ (เพื่อไม่ให้สับสนกับ E-mail ถ้าใช้คำว่า mail เฉยๆ ในยุคนี้อาจไม่ชัดเจนว่าเป็นอันไหน) snail แปลตามตัวคือหอยทาก ซึ่งเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ เป็นการบ่งชี้กลายๆ ว่า ไม่เร็วเหมือน E-mail | Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude | shiftless | (adj) ไม่เอาไหน เช่น He knew Michael for over twenty years and found him to worthless, shiftless and to spend his wages on liquor rather than his family. | loser | (n) คนขี้แพ้, คนไม่เอาถ่าน, คนไม่เอาไหน, คนไม่ได้เรื่อง เช่น Are you a loser?! Take this quiz and find out. | NFT | (abbrev, name) ย่อมาจาก Non-fungible token ใช้เรียก cryptographic token แบบที่แต่ละ token มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ไม่สามารถแลกเปลี่ยนหรือทดแทนด้วย token อื่นได้ ซึ่งจะต่างจาก fungible token เช่น Bitcoin ที่แต่ละ Bitcoin มีค่าเท่ากัน สามารถแลกเปลี่ยนกันโดยที่มููลค่ายังคงเท่าเดิม ไม่ได้มีความแตกต่าง ขณะที่ NFT แต่ละ token จะมีความแตกต่างกัน. ตัวอย่างเปรียบเทียบในโลกแห่งความจริง ได้แก่ รถยนต์ใหม่ มีลักษณะ fungible คือ ผลิตมาจากโรงงานเหมือนๆ กัน คันไหนก็เหมือนๆ กัน ขณะที่รถยนต์เก่าใช้แล้ว 10 ปี เป็น non-fungible คือ แต่ละคันจะมีความแตกต่างกัน ทดแทนกันไม่ได้ |
| anyplace | (adv) ที่ไหนก็ตาม, Syn. anywhere | feckless | (adj) ซึ่งไร้ประสิทธิภาพ, See also: ซึ่งใช้การไม่ได้, ซึ่งไม่เอาไหน, ซึ่งไม่ได้เรื่อง, ขี้เกียจ, Syn. unconcerned | feeb | (n) คนอ่อนกำลัง, See also: คนไม่เอาไหน | fogbound | (adj) ที่ไม่สามารถเดินทางไปไหนได้เพราะหมอกลงหนา | get about | (phrv) เดินทาง, See also: ไปไหนมาไหนอย่างอิสระ, Syn. get round, go about, go round | get around | (phrv) เดินทางได้อย่างเสรี, See also: ไปไหนมาไหนได้อย่างอิสระ, Syn. get round | get round | (phrv) เดินทางได้อย่างเสรี, See also: ไปไหนมาไหนได้อย่างอิสระ, Syn. get around | go about | (phrv) เดินทางไปได้ทั่ว, See also: ไปไหนมาไหนได้อย่างอิสระ, Syn. get about, get round, take about, take round | go about | (phrv) ไปไหนมาไหนกับ, Syn. ask out | how | (adv) เท่าไร, See also: เท่าใด, เพียงใด, แค่ไหน, อย่างไร, เช่นไร | however | (adv) ไม่ว่าจะ … ขนาดไหน, See also: แม้จะ … เพียงใดก็ตาม | good-for-nothing | (idm) คนไม่มีค่า, See also: คนไม่ได้เรื่อง, คนไม่เอาไหน | judge between | (phrv) ตัดสินใจระหว่าง (ว่าสิ่งไหนดีกว่ากัน), See also: ลงความเห็นระหว่าง, ชี้ขาดระหว่าง | lead nowhere | (phrv) พาไปที่ไหนไม่ได้, See also: ไปต่อไม่ได้, Syn. get anywhere, get nowhere, get somewhere, get there | no place | (adv) ไม่มีที่ไหน, Syn. nowhere | nowhere | (adv) ไม่มีที่ไหน, See also: ไม่ปรากฏว่ามีที่ไหน, Syn. not anywhere, in no place | occasional table | (n) โต๊ะเล็กเบาที่ยกไปไหนมาไหนง่าย | slouch | (n) คนไม่เอาไหน, See also: คนไร้สาระ, คนเกียจคร้าน, Syn. idler, laggard, loafer, sluggard | sloven | (n) คนประมาท, See also: คนสะเพร่า, คนไม่เอาไหน, Syn. slattern, slut | sluggard | (n) คนขี้เกียจ (คำโบราณ), See also: คนไม่เอาไหน, คนไม่ยอมทำงานการ, Syn. bum, idler, layabout, Ant. achiever, hard worker | urinal | (n) ที่ใส่ปัสสาวะซึ่งเคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได้, See also: กระโถนใส่ปัสสาวะ | what | (adj) อะไร, See also: อันไหน; สิ่งไหน, Syn. that, which | whence | (adv) จากที่ไหน (คำทางการ), Syn. wherefrom | where | (adv) ที่ไหน, Syn. whereabouts, whither | whereabout | (adv) ที่ไหน, Syn. where, whither | where'er | (adv) ที่ไหนก็ตาม (ทางวรรณคดี), Syn. wherever | wherein | (conj) อยู่ที่ไหน (คำโบราณ), Syn. where | wheresoever | (adv) ไม่ว่าที่ไหนก็ตาม (คำโบราณ), Syn. wherever | wherever | (adv) ไม่ว่าที่ไหนก็ตาม, Syn. anywhere | wherever | (adv) ที่ใดๆ, See also: ที่ไหนก็ได้ | which | (adj) อันไหน, See also: สิ่งไหน | whichever | (adj) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม, See also: ไม่ว่าสิ่งไหนก็ตาม | whichever | (pron) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม, See also: ไม่ว่าสิ่งไหนก็ตาม | whichsoever | (adj) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม (คำโบราณ), See also: ไม่ว่าสิ่งไหนก็ตาม, Syn. whichever | whichsoever | (pron) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม (คำโบราณ), See also: ไม่ว่าสิ่งไหนก็ตาม, Syn. whichever | whither | (adv) ที่ไหน (คำโบราณหรือทางวรรณคดี), See also: ไปยังที่ไหน, สถานที่ไหน, Syn. where, whereabouts | whithersoever | (adv) ไปยังที่ไหนก็ตาม (คำโบราณ) | whitherward | (adv) ไปยังที่ไหน (คำโบราณ), See also: ไปในทิศทางอะไร | winter over | (phrv) ออกไปไหนไม่ได้ตลอดฤดูหนาว, See also: ใช้เวลาทั้งหมดของฤดูหนาว |
| active window | วินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า | any | (เอน'นี) adj., adv., pron. คนหนึ่งคนใด, ใคร, บ้าง, เลย, ไหน, ใด ๆ , ทุก, ทั้งหมด, ใครก็ได้, Syn. one, whatever, whichever | anyplace | (เอน'นีเพรสฺ) adv. ที่ไหนก็ตาม, ทุกหนทุกแห่ง, Syn. anywhere | anywhere | (เอน'นีแวร์) adv. ที่ไหนก็ตาม, ไหน ๆ , ทุกแห่ง (in, at, or to any place) | circular shift | การเลื่อนเป็นวงหมายถึง การเลื่อนบิต (bit) ที่อยู่ปลายด้านหนึ่งไปอยู่ปลายอีกด้านหนึ่งในเรจิสเตอร์ (register) เดียวกัน ในการเลื่อนแบบนี้ บิตจะไม่หายไปไหน มีความหมายเหมือน cyclic shiftดู shift ประกอบ | com- | 1. Pref. รวมกัน, ด้วยกัน, อย่างสมบูรณ์, Syn. co-, 2. คอม 1. ย่อมาจาก COMmunication port หมายถึงช่องที่ใช้สำหรับต่อออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น เมื่อจะหมุนเลขหมายโทรศัพท์บนคอมพิวเตอร์ผ่านโมเด็ม คอมพิวเตอร์ก็จะต้องรับรู้กันให้ได้ว่า ช่องที่ติดต่อกับโมเด็มนั้นคือช่องไหน กำหนดได้หลายช่องเรียกว่า COM1, COM2 2. ใช้เป็นนามสกุล file type ของแฟ้มข้อมูลในดอสและโอเอสทูว่า .COM เพื่อแสดงว่าเป็นแฟ้มข้อมูลกระทำการ executive program หรือโปรแกรมประเภทเดียวกับ .EXE เช่น FORMAT.COM COMMAND.COM 3. ย่อมาจาก computer output on microfilm ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโคร ฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโคร ฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที | cyclic shift | หมายถึง การเลื่อนบิต (bit) ที่อยู่ปลายด้านหนึ่งไปอยู่ปลายอีกด้านหนึ่งในเรจิสเตอร์ (register) เดียวกัน ในการเลื่อนแบบนี้ บิตจะไม่หายไปไหน มีความหมายเหมือน circular shiftดู shift ประกอบ | end of file | สิ้นสุดแฟ้มใช้ตัวย่อว่า EOF เป็นสัญลักษณ์พิเศษ ที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหนมีความหมายเหมือน end of job | eof | (อีโอเอฟ) ย่อมาจาก end of file (แปลว่าสิ้นสุดแฟ้ม) เป็นสัญลักษณ์พิเศษที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหน | extension | (อิคซฺเทน'เชิน) n. การขยายออก, การยืดออก, การแผ่ออก, สิ่งที่ขยายออก, โทรศัพท์พ่วง นามสกุลในระบบดอส หมายถึง ตัวอักษรสามตัวที่อยู่หลังชื่อแฟ้มข้อมูล เนื่องจากอยู่ในตอนท้ายของชื่อ จึงนิยมเรียกกันว่า"นามสกุล" โดยปกติ คอมพิวเตอร์จะใช้นามสกุลนี้เป็นตัวบอกประเภทของแฟ้มข้อมูล จะมีจุดคั่นระหว่างชื่อและนามสกุล เช่น ถ้าแฟ้มข้อมูลที่เป็นภาษาปาสกาล (Pascal) ก็จะมีนามสกุล .PAS ถ้าเป็นแฟ้มภาษาเบสิก ก็จะมีนามสกุล .BAS อย่างนี้เป็นต้น หรือถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง ก็มักจะใช้นามสกุลว่า .BAK ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควรต้องรู้ว่า นามสกุลอะไร บอกว่าเป็นแฟ้มข้อมูลประเภทไหน โดยเฉพาะนามสกุล .exe, .com, .bin, .doc, .bat ซึ่งจะต้องพบ บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน file type | hard disk | (ฮาร์ดดิสก์) จานบันทึกแบบแข็งหมายถึง จานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก ใช้เก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก ๆ โดยปกติจะบรรจุไว้ในกล่องมิดชิด บางที เรียก fixed disk เพื่อให้เห็นแตกต่างกับจานบันทึกขนาดเล็กที่นำไปไหนมาไหนได้ ที่เรียกว่า floppy disk ในปัจจุบัน ฮาร์ดดิสก์เป็นของจำเป็นมาก และมีอยู่ภายในไมโครคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ความจุขนาดปกติจะ มีตั้งแต่ 40 - 1, 000 เมกะไบต์ ยิ่งจุมาก ก็จะยิ่งทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น | insertion pointer | ตัวชี้การแทรกหมายถึง ตัวชี้ตำแหน่งที่มีลักษณะคล้าย I (เรียกว่า I Beam) ถ้าต้องการจะพิมพ์แทรกลงไปที่ตรงไหน ให้นำตัวนี้ไปวางไว้ตรงนั้น อักขระที่พิมพ์ใหม่ก็จะแทรกลงไปตรงนั้น | laptop | ขนาดวางตัก <คำแปล>แล็ปทอป <คำแปล>ใช้บอกขนาดของคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ที่มีขนาดเล็กจนวางบนตักได้ในขณะใช้ ปัจจุบัน นิยมเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนี้ว่า ขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) เพราะสามารถนำติดตัวไปไหนมาไหนได้เหมือนสมุดบันทึก มีน้ำหนักน้อย และทำได้บางลงมาก | liberty | (ลิบ'เบอที) n. อิสรภาพ, เสรีภาพ, ความเป็นอิสระ, สิทธิไปไหนมาไหน. -at liberty อิสระ ไม่มีงานทำ, Syn. freedom | microfiche | ไมโครฟิชหมายถึงแผ่นไมโครฟิล์มเล็ก ๆ มีขนาดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างยาวด้านละ 105 มิลลิเมตร ใช้เก็บภาพถ่ายของเอกสารโดยย่อไว้ในขนาดที่เล็กมาก เพื่อให้สะดวกในการเก็บรักษา และเป็นการประหยัดเนื้อที่ สามารถนำติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก เพราะจะเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก ข้อมูลเหล่านี้จะอ่านด้วยตาเปล่าไม่ได้ ต้องใช้กล้องขยายสำหรับอ่านโดยเฉพาะ เรียกว่า microfich reader | national television stand | คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานระบบโทรทัศน์ใช้ตัวย่อว่า NTSC (อ่านว่า เอนทีเอสซี) หมายถึง คณะกรรมการที่กำหนดมาตรฐานในระบบโทรทัศน์ เช่น กำหนดว่า ต้องมีอัตราการส่งเท่าไร มีจอภาพที่มีความละเอียดแค่ไหน มาตร ฐาน NTSC นี้ ใช้ในสหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ แต่ยุโรปใช้มาตรฐาน PAL | notebook computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึกหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโล กรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notepad computer | notepad computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดพกโน้ตแพดคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโลกรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notebook computer | nowhere | (โน'แวร์) adv. ไม่มีที่ไหน n. ความไม่มีตัวตน | ntsc | (เอนทีเอสซี) ย่อมาจาก national television standards committee หมายถึง คณะกรรมการที่กำหนด มาตรฐานในระบบโทรทัศน์ เช่นมีอัตราการส่งอย่างไร มีจอภาพที่มีความละเอียดแค่ไหน มาตรฐาน NTSC นี้ ใช้ในสหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ แต่ยุโรป ใช้มาตรฐาน PAL | pdl | (พีดีแอล) 1. ย่อมาจาก page description language เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกับโพสต์คริปต์ (postcript) ซึ่งจะทำการประมวลผลในหน่วยประมวลผลของเครื่องพิมพ์เอง ในพีดีแอลนั้น จะต้องมีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องของการกำหนดหน้า การคำนวณภาพกราฟิก แม้จะมีความยาวมาก แต่ก็จะทำงานได้เร็วกว่า คำสั่งที่ส่งไปจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีดีแอลนั้น จะใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ทุกยี่ห้อที่สามารถเข้าใจภาษานี้ ปัจจุบันแมคอินทอชใช้พีดีแอล ที่ชื่อ "postcript" ส่วนพีซีใช้พีดีแอลที่ชื่อ "true type" (เทียบเคียงได้กับ postcript) 2. ย่อมาจาก personal digital assistant (เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิตอล) หมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นำติดตัวไปไหนมาไหนได้ ผู้ใช้สามารถจดบันทึกข้อมูลลงไปด้วยปากกาพิเศษ เช่น แบบสินค้า แผนที่เส้นทางไปจุดนัดพบ รวมทั้งข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งนัดหมายประจำวัน ฯ | personal digital assistan | เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิตอลหมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นำติดตัวไปไหนมาไหนได้ ผู้ใช้สามารถจดบันทึกข้อมูลลงไปด้วยปากกาพิเศษ เช่น แบบเสื้อ แผนที่ทางไปจุดนัดพบ รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งนัดหมายประจำวัน ฯลฯ | pocket size | ขนาดกระเป๋าเป็นคำบอกขนาดของไมโครคอมพิวเตอร์อีกขนาดหนึ่ง ที่เล็กพอที่จะนำใส่กระเป๋าเสื้อ พกพาไปไหนมาไหนได้ดู laptop, notebook เปรียบเทียบ | portable computer | คอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้วหมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ในรุ่นต่าง ๆ ที่สามารถพกพาไปไหน ๆ ได้โดยสะดวก มีหลายขนาด ทั้งขนาดวางตัก (laptop) ขนาดมือถือ (handheld) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) เป็นต้น | primary storage | หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storageดู secondary storage เปรียบเทียบprint : พิมพ์หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้จากคอมพิวเตอร์ลงบนกระดาษ หรือแผ่นใส ฯ กับใช้เป็นรายการคำสั่งในโปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรม ที่จะให้คอมพิวเตอร์ทำการดังกล่าว ซึ่งมักจะมีคำถามตามมาอีกหลายคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) เป็นต้นว่า พิมพ์กี่ชุด พิมพ์หน้าไหนบ้าง ขยายหรือย่อขนาดกี่เปอร์เซ็นต์ ฯ รวมทั้งเป็นคำสั่งในโปรแกรมในภาษาต่าง ๆ เกือบทุกภาษาด้วย | random access | การเข้าถึงโดยสุ่มการเข้าถึงข้อมูลที่บันทึกไว้โดยสุ่มหมายความว่าเข้าถึงได้ทุก ๆ จุดได้โดยทันทีทันใด เป็นต้นว่า การเข้าถึงข้อมูลที่เก็บในจานบันทึก ซึ่งจะใช้เวลาเท่ากันหมดไม่ว่าเก็บไว้ที่จุดไหน ต่างกับการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในแถบบันทึกหรือเทป ถ้าข้อมูลที่ต้องการอยู่ตอนปลาย ก็จะต้องรอให้เทปเดินหน้าไปจนถึงจุดนั้นเสียก่อน การเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีนี้ จะมีหัวอ่าน/บันทึก (read head) ต่อกับก้านโลหะที่เคลื่อนเข้า/ออกได้ เหนือจานที่หมุนรอบแกนอีกทีหนึ่ง เปรียบเทียบ) ถ้าเปรียบกับการฟังเพลงจากจานเสียงและเทป จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นเทปหรือแถบบันทึก หากจะฟังเพลงที่อยู่ในลำดับท้าย ๆ ก็จะต้องรอให้เทปหมุนผ่านเพลงในลำดับแรก ๆ ไปก่อน แต่ถ้าเป็นจานเสียง เราต้องการฟังเพลงใด ก็สั่งได้ทันทีดู sequential access เปรียบเทียบ | read only memory | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวใช้ตัวย่อว่า ROM (อ่านว่า รอม) แปลว่าหน่วยความจำอ่านอย่างเดียว หมายถึงหน่วยความจำลักษณะหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านข้อมูลออกมาได้อย่างเดียวเท่านั้น จะบันทึกข้อมูลลงไปไม่ได้เลย หน่วยความจำส่วนนี้จะเก็บคำสั่งเบื้องต้นต่าง ๆ ไว้ และจะเก็บอยู่ตลอดไป แม้ว่าจะปิดสวิตซ์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในรอม ก็จะไม่สูญหายไปไหนดู RAM เปรียบเทียบ | rom | รอมย่อมาจาก read only memory (แปลว่าหน่วยความจำอ่านอย่างเดียว) หมายถึงหน่วยความจำลักษณะหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านข้อมูลออกมาได้อย่างเดียวเท่านั้น จะบันทึกข้อมูลลงไปไม่ได้เลย หน่วยความจำส่วนนี้จะเก็บคำสั่งเบื้องต้นต่าง ๆ ไว้ และจะเก็บอยู่ตลอดไป แม้ว่าจะปิดสวิตซ์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในรอมก็จะไม่ศูนย์หายไปไหนดู RAM เปรียบเทียบ | sloven | (สลัฟ'เวิน) n. คนที่ไม่เอาไหน, คนสะเพร่า, คนที่ประมาทเลินเล่อ, คนที่สกปรก, คนที่ไม่เห็นระเบียบ., Syn. slob, slattern, drab | slovenly | (สลัฟ'เวินลี) adj., adv. ไม่เอาไหน, สะเพร่า, ประมาทเลินเล่อ, สกปรก, ไม่เป็นระเบียบ. liness n., See also: sloven, Syn. careless, untidy | when | (เวน) adv., conj., pron. เมื่อไร, เวลาไหน, ในโอกาสไหน conj. เวลาไหน, เมื่อไร, ในขณะที่, พอ, ครั้น, ถ้าหาก, พอ... pron. เวลาไหน, เมื่อไร, เวลาซึ่ง, เวลานั้น | whence | (เวนซฺ) adv., conj. จากที่ไหน, จากแหล่งไหน, จากสาเหตุใด | where | (แวร์) adv., conj., pron. ที่ไหน, ตรงไหน, จุดไหน, ไปที่นั้น, อยู่ที่นั้น, ณ ที่นั้น, จากแหล่งไหน n. สถานที่ตั้ง, สถานที่เกิดเหตุ | where'ever | (แวร์เอฟ'เวอะ) conj., adv. ที่ไหน | where're | (แวร์'เออะ) conj. บนอะไร, ที่ไหน, ที่ซึ่ง, adv. ด้วยอะไร | whereabout | (s) (แวร์'ระเบาทซฺ) adv. ที่ไหน, อยู่ที่ไหน conj. ใกล้ที่ไหน, ณ ที่ไหน, อยู่ที่ไหน n. สถานที่, ถิ่นที่, ตำแหน่งที่ | wherefrom | (แวร์ฟรัม') conj., adv. จากที่ซึ่ง, จากที่ไหน | wherein | (แวร์อิน') conj. ในอะไร, ในไหน, จุดไหน, อยู่ที่ไหน, adv. ทางไหน, เกี่ยวกับเรื่องนั้น | whereinto | (แวร์อิน'ทู) conj. เข้าไปที่ไหน | wheresoever | (แวร์โซเอฟ'เวอะ) conj. ที่ไหนก็ตาม, ไม่ว่าที่ไหน -s. wherever | whereto | (แวร์ทู') conj., adv. ไปที่ไหน | wherever | (แวร์เอฟ'เวอะ) conj. ที่ไหนก็ตาม, ไม่ว่าที่ใด, ในกรณีก็ตาม, ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม, adv. ที่ไหน, Syn. in whatever place | whether | (เวธ'เธอะ) adj. หรือไม่ -Phr. (whether or no โดยไม่คำนึงถึง ไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นก็ตาม) pron อันไหน, Syn. if | which | (วิชฺ) pron. อันไหน, อันซึ่ง, ส่วนไหน, ที่ซึ่ง, adj. อันไหน, ส่วนไหน, ที่กล่าวถึงมาก่อน | whichever | (วิช'เอฟ'เวอะ) pron. อันไหนก็ตาม, ไม่ว่าอันไหนก็ตาม, adj. ไม่ว่าอันไหนก็ตาม | whither | (วิธ'เธอะ) adv. ที่ไหน? conj. ไปยังที่ไหน? | whithersoever | (วิธเธอะโซเอฟ'เวอะ) conj. ไปยังที่ไหนก็ตาม | witherward | (วิธ'เธอะเวิร์ด) adv. ไปยังที่ไหน?, ในทิศทางอะไร?, Syn. witherwards |
| anywhere | (adv) ในที่ใดๆ, ทุกแห่ง, ที่ไหนก็ตาม | how | (adv) อย่างไร, โดยวิธีใด, แค่ไหน, อะไร | nowhere | (adv) ไม่มีที่ไหนเลย | when | (adv) เมื่อไร, เมื่อใด, เวลาไหน | when | (con) เมื่อ, ขณะที่, พอ, ครั้น, ในเมื่อ, ถ้าหาก, เวลาไหน | whence | (adv) จากที่นั้น, ดังนั้น, จากไหน, ด้วยเหตุอะไร | where | (adv) ที่ไหน, แห่งหน, ตำบลไหน, ตรงไหน, จุดไหน | whereabouts | (adv) แถวไหน, ที่ไหน | wherein | (adv) ในที่นั้น, ทางไหน, เกี่ยวกับเรื่องนั้น | wherein | (con) ในที่นั้น, ในไหน, อยู่ที่ไหน | wheresoever | (con) ที่ไหนก็ตาม, ไม่ว่าที่ไหน | wherever | (adv) ทุกแห่ง, ที่ไหนก็ตาม | which | (adj) อันไหน, ซึ่ง, อันที่, ที่, อันซึ่ง, ไหน, คนไหน | which | (pro) อันไหน, ซึ่ง, อันที่, ที่, อันซึ่ง, ส่วนไหน | whichever | (pro, adj) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม | whichsoever | (pro, adj) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม | whither | (adv, con) ทางไหน, ที่ไหน | whithersoever | (con) ที่ไหนๆก็ตาม | who | (pro) ใคร, ผู้ซึ่ง, ผู้ใด, คนไหน, ผู้ที่ |
| afloat | (adj, adv) ไปไหนมาไหนได้อย่างอิสระ ไม่มีข้อจำกัดหรือการชี้นำ | asl | (slang) เป็นคำที่ใช้ในห้องแช้ดบนอินเทอร์เน็ต ไว้ทำความรู้จัก ว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน เพศอะไร อายุเท่าไร นั้นแหละ asl เช่น ถ้าเค้าว่าว่า asl? สิ่งที่เค้าคาดหวังคำตอบคือ เช่น panda 17/f/thai ก็คือ ชื่อแพนด้า อายุ17 เป็นผู้หญิงและคนไทยแจ้ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) | asl | (slang) ใช้ถามในทางไม่ดีส่วนมากมักใช้เพื่อถามว่า อายุเท่าไร อยู่ที่ไหน เพื่อขอมีเซ็กส์ด้วย ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) | Creative Common | (n) สัญญาอนุญาตให้ผู้อื่นนำสำเนาผลงานของผู้เขียน ผู้ประพันธ์ หรือผู้สร้างไปเผยแพร่ผลงานต่อ ซึ่งมีอยู่หลายแบบ โดยผู้สร้างสามารถเลือกได้ว่าจะให้อนุญาตแบบไหน ซึ่งได้แก่ "ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง" (Attribution) "ไม่ใช้เพื่อการค้า" (Noncommercial) "ไม่แก้ไขต้นฉบับ" (No Derivative Works) และ "ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน" (Share Alike), Syn. copyleft | pragmatic | ข้อตกลงในการใช้ภาษา เช่นการเว้นช่องไฟระหว่างคำ และควรพูดนานแค่ไหน แล้วจึงเปลี่ยนให้ฝ่ายตรงข้ามพูดบ้าง | where | [แวร์] ที่ไหน | wieldy | (adj) เหมาะสมแก่การงาน (นั่นคือ ปรับไปใช้กับงานชนิดไหนก็ได้นั่นเอง) |
| | どんな | [どんな, donna] อย่างไหน แบบไหน | どれ | [どれ, dore] ไหน | 元々 | [もともと, motomoto] แต่เดิม , เดิมที , แต่ไหนแต่ไร | どこ | [どこ, doko, doko , doko] (pron) ที่ไหน, ตรงไหน, See also: S. どちら | どちら | [どちら, dochira, dochira , dochira] (pron) ทางไหน, ที่ไหน (คำสุภาพของ どこ), See also: S. どこ | 何れにしても | [いずれにしても, izurenishitemo] (phrase) ไม่ว่าในกรณีไหนก็.. | どいつもこいつも | [いずれにしても, doitsumokoitsumo] (exp) ไม่ว่าหน้าไหน | いずれも | [いずれにしても, izuremo] ไม่ว่าอันไหน..ก็ตาม, See also: S. どれも | 不器用 | [ぶきよう, bukiyou] ไม่ได้เรื่อง, ไม่เอาไหน |
| 因みに | [ちなみに, chinamini] TH: ไหน ๆ ก็พูดแล้ว EN: incidently |
| direkt | (adv, adj) ตรง ไม่อ้อม (ใช้บอกเส้นทาง) เช่น Ich fahre direkt zur Arbeit. ผมขับรถตรงไปที่ทำงานเลย ไม่แวะที่ไหน | welche | อันไหน | einfallen | (vi) |fällt ein, fiel ein, ist eingefallen| นึกได้, เพิ่งคิดออก เช่น Es fällt mir gerade ein, wo ich den Autoschlüssel gelegt habe. ผมเพิ่งนึกออกได้ว่าวางกุญแจรถไว้ที่ไหน | Verdacht | (n) |der, nur Sg.| สถานการณ์ที่กำลังถูกสงสัยอยู่ เช่น Man weiß nicht wo sie ist, aber es besteht Verdacht auf Bangkok. ไม่มีใครรู้ว่าเธอหายไปไหน แต่มีเหตุการณ์ชี้ว่าเธอน่าจะอยู่ที่กรุงเทพฯ | einziehen | (vi) |zog ein, ist eingezogen| ย้ายเข้า, ตั้งถิ่นฐาน เช่น In welchem Haus ziehst du denn ein? เธอย้ายเข้าบ้านหลังไหนเอ่ย | verstecken | (vt) |versteckte, hat versteckt| ซ่อน, แอบไว้ เช่น Komm raus, wo hast du dich versteckt? ออกมาซะดีๆ เธอหลบซ่อนอยู่ตรงไหนนะ | konkret | (adj, adv) ชัดแจ้ง, ซึ่งเห็นประจักษ์, เป็นรูปธรรม เช่น Ich will euch ganz konkret sagen, wo es bei uns fehlt. ฉันอยากบอกพวกเธอให้ชัดแจ้งว่า พวกเราขาดอะไรที่ไหน | wo | (pron) ที่ไหน |
| où | ที่ไหน (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Il habite où? = Où est-ce qu'il habites? เขาอยู่ที่ไหน, Tu vas où en vacances? เธอไปเที่ยวพักร้อนที่ไหน | quel, quelle, quelles | |m/pl. quels, f. quelle, f/pl. quelles| ประเภทไหน, ชิ้นไหน (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Il aime quel film? = Quel film est-ce qu'il aime? หนังประเภทไหนที่เขาชอบ | d'où | จากที่ไหน เช่น Tu est d'où? = D'où est-ce que tu est? เธอมาจากที่ไหน | en | (prep) ที่ (ใช้ตอบคำถาม ไปที่ไหน หรือ อยู่ที่ไหน) เช่น Le Chili, c'est en Amérique. ประเทศชิลีอยู่ในทวีปอเมริกา, Elle va à la fac chaque jour. เธอไปที่มหาวิทยาลัยทุกวัน |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |