ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: บรรณ, -บรรณ- |
ลายลักษณ์อักษร | บริษัทอยู่ในระหว่างดำเนินการจัดทำจรรยาบรรณธุรกิจเป็นลายลักษณ์อักษร |
|
| สารบรรณ | (n) document, See also: archives, Example: ห้องเก็บสารบรรณถูกทำร้ายหมดสิ้น, Thai Definition: หนังสือที่เป็นหลักฐาน | บรรณาการ | (n) tribute, See also: present, gift, Syn. ของขวัญ, ของถวาย, เครื่องบรรณาการ, Example: ประเทศราชต้องส่งบรรณาการให้เมืองหลวงทุกปี, Thai Definition: สิ่งที่ส่งไปให้ด้วยความเคารพนับถือหรือด้วยไมตรี | สัตตบรรณ | (n) lotus, Syn. บัวสาย, Count Unit: ดอก | จรรยาบรรณ | (n) ethics, See also: morality, morals, conduct, Example: นักหนังสือพิมพ์ทุกคนต้องมีจรรยาบรรณ, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ | บทบรรณาธิการ | (n) leading article, See also: leader, editorial | กองบรรณาธิการ | (n) publication department, See also: editorial department, Example: เมื่อเร็วๆ นี้ทางสำนักพิมพ์ได้มีการจัดประชุมกรรมการกองบรรณาธิการ, Count Unit: กอง | พนักงานสารบรรณ | (n) filing clerk, Syn. พนักงานเก็บเอกสาร | เครื่องบรรณาการ | (n) tribute, See also: gift, present, Syn. ของขวัญ, ส่วย, ของกำนัล, Example: พระมหากษัตริย์ไทยทรงส่งเครื่องบรรณาการไปพระราชทานประธานาธิบดีอเมริกันหลายครั้ง, Count Unit: ชิ้น, Thai Definition: สิ่งที่ส่งไปให้ด้วยความเคารพนับถือหรือด้วยไมตรี, ในบทประพันธ์ใช้ว่า บรรณา ก็มี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
| งานสารบรรณ | น. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย. | จรรยาบรรณ | (จันยาบัน) น. ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้. | ฉัตรบรรณ | (ฉัดตฺระบัน) น. ต้นสัตบรรณ. | บทบรรณาธิการ | น. ข้อเขียนที่บรรณาธิการหรือนักเขียนชั้นนำเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นอันเป็นจุดยืนของหนังสือนั้น ๆ. | บรรณ, บรรณ- | (บัน, บันนะ-) น. ปีก | บรรณ, บรรณ- | หนังสือ | บรรณ, บรรณ- | ใบไม้. | บรรณกุฎี | น. กระท่อมอันมุงบังด้วยใบไม้. | บรรณพิภพ, บรรณโลก | น. วงการหนังสือ. | บรรณศาลา | น. ที่สำนักของฤๅษีหรือผู้บำเพ็ญพรตเป็นต้น ถือกันว่ามุงบังด้วยใบไม้. | บรรณสาร | น. หนังสือราชการ. | บรรณาการ | (บันนากาน) น. สิ่งที่ส่งไปให้ด้วยความเคารพนับถือหรือด้วยไมตรี. (ป. ปณฺณาการ; ส. ปรฺณาการ), ในบทประพันธ์ใช้ว่า บรรณา ก็มี. | บรรณาคม | (บันนาคม) น. ห้องหนังสือ. | บรรณาธิกร | (บันนา-) ก. รวบรวมและจัดเลือกเฟ้นเรื่องลงพิมพ์. | บรรณาธิการ | (บันนาทิกาน) น. ผู้จัดเลือกเฟ้น รวบรวม ปรับปรุง และรับผิดชอบเรื่องลงพิมพ์. | บรรณานุกรม | (บันนานุกฺรม) น. บัญชีรายชื่อหนังสือที่ใช้ประกอบการค้นคว้า, บัญชีรายชื่อหนังสือในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ยุคใดยุคหนึ่ง หรือของผู้เขียนคนใดคนหนึ่ง มักจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์. | บรรณารักษ์ | (บันนารัก) น. บุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารและดำเนินงานในห้องสมุด. | บรรณารักษศาสตร์ | (บันนารักสะสาด, บันนารักสาด) น. วิชาที่ว่าด้วยการบริหารห้องสมุด. | บรรณาการ | ดู บรรณ, บรรณ-. | บรรณาคม | ดู บรรณ, บรรณ-. | บรรณาธิกร | ดู บรรณ, บรรณ-. | บรรณาธิการ | ดู บรรณ, บรรณ-. | บรรณานุกรม | ดู บรรณ, บรรณ-. | บรรณารักษ์ | ดู บรรณ, บรรณ-. | บรรณารักษศาสตร์ | ดู บรรณ, บรรณ-. | ไปรษณียบรรณ | (ไปฺรสะนียะบัน, ไปฺรสะนีบัน) น. แผ่นกระดาษที่ผนึกสำหรับใช้เขียนจดหมายส่งทางไปรษณีย์, ปัจจุบันใช้ ไปรษณีย์อากาศ. | พญาสัตบรรณ | ดู ตีนเป็ด. | สัตตบรรณ | (สัดตะบัน) น. ชื่อบัวสายพันธุ์หนึ่ง. (ดู บัว). | สัตบรรณ | (สัดตะ-) ดู ตีนเป็ด. | สารบรรณ | (สาระ-) น. หนังสือที่เป็นหลักฐาน, เรียกงานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร ว่า งานสารบรรณ. | สุบรรณ | (-บัน) น. ครุฑ. | ก้อง ๒ | น. บรรณาการ ในคำว่า จิ้มก้อง. | จิ้มก้อง | ก. เจริญทางพระราชไมตรีเฉพาะกับประเทศจีน โดยนำพระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิตามเวลาที่กำหนด ปรกติ ๓ ปี ต่อครั้ง เช่น แต่งทูตออกไปจิ้มก้อง (พงศ. ร. ๓), (ปาก) โดยปริยายหมายถึงนำสิ่งของเป็นต้นไปกำนัลเพื่อเอาใจ. | ชลาสินธุ์ | น. ห้วงน้ำ เช่น ข้าเป็นไรแทรกขนสุบรรณบิน เร็วรีบยิ่งมหาวายุพัด กวักกวัดปีกข้ามชลาสินธุ์ (กากี), สายน้ำ เช่น พระเหลือบเล็งชลาสินธุ์ ในวารินทะเลวน ก็เห็นรูปอสุรกล ซึ่งกลายแกล้งเป็นสีดา (พากย์นางลอย). | ดำกล | ก. ก่อสร้าง, ตั้ง, ตั้งขึ้น, ตั้งไว้, เช่น เจ้าก็ดำกลผลาอนนหาได้ไว้ในบรรณศาลาน้นนแล (ม. คำหลวง วนประเวศน์) | ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง | น. เครื่องราชบรรณาการที่ทำเป็นต้นไม้ทองต้นไม้เงินเป็นคู่ ซึ่งประเทศราชส่งมาถวายแด่พระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ ๓ ปี | ตีนเป็ด | น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Apocynaceae เช่น ชนิด Alstonia scholaris (L.) R. Br., สัตบรรณ หรือ พญาสัตบรรณ ก็เรียก, ชนิด Cerbera odollam Gaertn. ตีนเป็ดน้ำ, ตีนเป็ดทะเล ก็เรียก. | แต่ง | จัดแจง เช่น แต่งเครื่องราชบรรณาการ แต่งทัพ | บัว | น. ชื่อเรียกไม้นํ้าหลายชนิดหลายสกุลและหลายวงศ์ คือ ในสกุล Nelumbo วงศ์ Nelumbonaceae มีเหง้ายาวทอดอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลม ขอบเรียบ อยู่ห่าง ๆ กัน ก้านใบและก้านดอกแข็ง มีหนามสากคาย ชูใบและดอกขึ้นพ้นผิวนํ้า เช่น บัวหลวง (N. nucifera Gaertn.) ดอกสีขาวหรือชมพู กลิ่นหอม, ปัทม์ ก็เรียก, พันธุ์ดอกป้อมสีขาว เรียก สัตตบุษย์ พันธุ์ดอกป้อมสีชมพู เรียก สัตตบงกช ดอกใช้ในงานพิธีต่าง ๆ เมล็ดกินได้, ในสกุล Nymphaea วงศ์ Nymphaeaceae มีเหง้าสั้นอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลม ขอบเรียบหรือจัก อยู่ชิดกันเป็นกระจุก ก้านใบและก้านดอกอ่อนไม่มีหนาม ใบลอยอยู่บนผิวนํ้า ดอกโผล่ขึ้นพ้นผิวนํ้า ผลจมอยู่ในนํ้าเรียก โตนด เช่น บัวสาย (N. lotus L. var. pubescens Hook.f. et Thomson) ขอบใบจัก ดอกสีขาวหรือแดง ก้านดอกเรียก สายบัว กินได้ พันธุ์ดอกสีขาว เรียก สัตตบรรณ บัวเผื่อน (N. nouchaliBurm.f.) ขอบใบเรียบ ดอกสีม่วงอ่อน, ในสกุล Victoria วงศ์ Nymphaeaceae เช่น บัวขอบกระด้งหรือบัววิกตอเรีย [ V. amazonica (Poeppig) Sowerby ] มีเหง้าสั้นอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลมใหญ่ ขอบยกขึ้นคล้ายกระด้ง ลอยอยู่บนผิวนํ้า ใต้ใบ ก้านดอก และด้านนอกของกลีบดอกชั้นนอกมีหนามแหลม ดอกใหญ่ สีขาว หอมมาก | ประเทศราช | (ปฺระเทดสะราด) น. เมืองที่มีเจ้าผู้ครองเมืองของตนเอง แต่อยู่ภายใต้อำนาจควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์ของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเจ้าเมืองประเทศราชนั้นมีหน้าที่ส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในเวลาเกิดศึกสงครามต้องเกณฑ์กำลังทหารเข้าร่วมกองทัพหลวงด้วย. | ปัณณะ | น. บรรณ. | ผู้ถูกกล่าวหา | น. บุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดในทางอาญา ทางวินัยหรือจรรยาบรรณ หรือกระทำการอันฝ่าฝืนกฎหมายอื่น. | แผนก | ส่วนราชการที่รองมาจากกอง เช่น แผนกสารบรรณ แผนกคลัง. | วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. | ส่วย ๑ | บรรณาการจากประเทศราช. | สาราณียกร | (-นียะกอน) น. ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษาเป็นต้น ทำหน้าที่อย่างบรรณาธิการ. |
| line-oriented text editor | บรรณาธิกรณ์ข้อความรายบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | line editor | บรรณาธิกรณ์เชิงบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | linkage editor; link editor | บรรณาธิกรณ์เชื่อมโยง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | screen editor; full screen editor | บรรณาธิกรณ์จอภาพ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | state, tributary | รัฐบรรณาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | annotation | บรรณนิทัศน์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | conduct, code of; code of conduct | จรรยาบรรณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | conduct, infamous | ความประพฤติเสื่อมเสีย, ความประพฤติผิดจรรยาบรรณ (วิชาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | code of conduct; conduct, code of | จรรยาบรรณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | full screen editor; screen editor | บรรณาธิกรณ์จอภาพ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | editor | ๑. บรรณาธิกรณ์๒. บรรณาธิการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | editorial | บทบรรณาธิการ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | edit | ๑. ตรวจแก้, บรรณาธิกร๒. ตัดต่อ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | edit | บรรณาธิกร, ตรวจแก้, ตัดต่อ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | edit | ๑. ตรวจแก้, บรรณาธิการ๒. ตัดต่อ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | edit mode | ภาวะบรรณาธิกร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | edit program | โปรแกรมบรรณาธิกร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | editing | การบรรณาธิกร, การตรวจแก้, การตัดต่อ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | infamous conduct | ความประพฤติเสื่อมเสีย, ความประพฤติผิดจรรยาบรรณ (วิชาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | infamous conduct | การประพฤติผิดจรรยาบรรณ (วิชาชีพ), ความประพฤติที่น่าอับอาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | vignette | บรรณพิลาส [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | tributary state | รัฐบรรณาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tribute | บรรณาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | text editor | บรรณาธิกรณ์ข้อความ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
| Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bibliography | บรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Author bibliography | บรรณานุกรมของผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bibliographic citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Author bibliographies | บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example: เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cataloging | การทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Librarian | บรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reference librarian | บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | School librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Annotator | ผู้ทำบรรณนิทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliography | บรรณานุกรม, Example: หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographic control | การควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographical information | รายละเอียดทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliography of bibliographies | บรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Book review | บรรณนิทัศน์, การวิจารณ์หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographic citation | การอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographic service | บริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliotheraphy | การรักษาด้วยหนังสือ, บรรณบำบัด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bookplate | บรรณสิทธิ์ (หมายถึง ป้ายหรือตราประจำตัวของเจ้าของหนังสือ), Example: Bookplates เป็นเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์บอกประวัติการครอบครองหนังสือ คำว่า Bookplates นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ส่วนประเทศอื่นๆ ในยุโรปจะเรียกว่า เอ็กซ์ ลิบรีส์ (ex libris) ในภาษาละติน แปลว่า "จากห้องสมุดของ..." แล้วต่อด้วยอักษรย่อชื่อ ตราประจำตัว หรือตราประจำตระกูลของผู้เป็นเจ้าของหนังสือ <p> <p>ห้องสมุดในประเทศไทยนิยมการประทับตราเพื่อแสดงกรรมสิทธิ์ในหน้ารหัส (secret page) ของหนังสือเป็นส่วนมาก กลุ่มผู้ที่เริ่มใช้ bookplate ในประเทศไทย ได้แก่ พระบรมวงศานุวงศ์ <p>ตัวอย่างภาพ การแสดงกรรมสิทธิ์ของห้องสมุดหรือเจ้าของหนังสือ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120901-Book-Plate.jpg" width="300" higth="100" alt="Book-Plate"> <p>กรมพระจันทบุรีนฤนาท ทรงใช้พระนาม "กิติยากรวรลักษณ์" เขียนแล้วซับให้เป็นรูปตะขาบ ด้านบนมีข้อความว่า "สุวิชาโน ภวํ โหติ" <p>ตัวอย่าง ภาพ Book plate ในกรมพระจันทบุรีนฤนาท <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120901-Book-Plate2.JPG" width="300" higth="100" alt="Book-Plate2"> <p> <p> รายการอ้างอิง <p>อัมพร ทีขะระ. 2523. ห้องสมุดหนังสือหายาก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p>Make your own book plate. 2010. http://sew-thrifty.blogspot.com [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cataloger | บรรณารักษ์ผู้ทำบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collation | บรรณลักษณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | College librarian | บรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Comparative librarianship | บรรณารักษศาสตร์เปรียบเทียบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Congress of Southeast Asian Librarians | การประชุมบรรณารักษ์เอเชียอาคเนย์, Example: <html> <head> <title>HTML Online Editor Sample</title> </head> <body> <p> <strong>CONSAL</strong> : <span style="color:#0000cd;">Congress of Southeast Asian Librarians</span></p> <p> การประชุมสภาบรรณารักษ์เอชียอาคเนย์ หรือ การประชุมสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อความร่วมมือในระหว่างประเทศสมาชิกเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ในการพัฒนาห้องสมุดของแต่ละประเทศ</p> <p> สมาชิก CONSAL คือ หอสมุดแห่งชาติ ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน จำนวน 10 ประเทศ คือ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย</p> <p> การประชุมสภาบรรณรักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดจัดทุก 3 ปี โดยสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ หมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพ โดยที่ผ่านมาครั้งล่าสุด เป็นการประชุมครั้งที่ 15 วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเชีย ในหัวข้อเรื่อง Preserving and Disseminating National Heritage และการประชุมครั้งต่อไป ครั้งที่ 16 ปี 2558 ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมอีกครั้ง ซึ่งประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม CONSAL แล้ว จำนวน 2 ครั้ง ในปี 2521 และ 2536</p> <p> ประวัติของการรวมกลุ่มสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการประชุมครั้งแรกในปี 2513 ที่ประเทศสิงคโปร์ รายละเอียดหัวข้อการประชุม วันเวลา และประเทศเจ้าภาพการประชุม CONSAL ทั้งหมดที่ผ่านมา รวม 15 ครั้ง ดังนี้</p> <ol> <li> New prospects for Southeast Asians Cooperation วันที่ 14-16 สิงหาคม 2513 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Education and Training for Librarianship วันที่ 10-14 ธันวาคม 2516 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Integrated Library and Documentation Services within the Framework or NATIS วันที่ 1-5 ธันวาคม 2518 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Regional Cooperation for the Development of National Information Services วันที่ 5-9 มิถุนายน 2521 ประเทศไทย</li> <li> Access to Information วันที่ 25-29 พฤษภาคม 2524 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> The Library in the Information Revolution วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2526 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Libraries for Countryside Development in Southeast Asia วันที่ 12-21 กุมภาพันธ์ 2530 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> New Challenges in Library Services in the Developing World วันที่ 11-14 มิถุนายน 2533 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Future Dimensions and Library Development วันที่ 2-7 พฤษภาคม 2536 ประเทศไทย</li> <li> Libraries in National Development วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2539 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> Stepping into the New Millennium: Challenges for Library and Information Professionals วันที่ 26-28 เมษายน 2543 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Information Empowerment: Enhancing Knowledge Heritage วันที่ 20-23 ตุลาคม 2546 ประเทศบรูไน</li> <li> CONSAL at the Crossroads: Challenges for greater regional cooperation วันที่ 25-30 มีนาคม 2549 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Towards Dynamic Libraries and Information Services in Southeast Asian Countries วันที่ 20-23 เวียดนาม 2552 ประเทศเวียดนาม</li> <li> Preserving and Disseminating National Heritage วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ประเทศอินโดนีเชีย</li> </ol> <p> สนใจกิจกรรมการประชุม CONSAL เข้าถึงได้ที่เว็บไซต์ <a href="http://www.consal.org">www.consal.org</a></p> <p> <img alt="consal " height="305" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120925-consal.png" width="699" /></p> </body> </html> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Critical bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Descriptive bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Editor | บรรณาธิกร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Editorial | บทบรรณาธิการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Standard Bibliographic Descriptions | มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Libraries-Professional ethic | จรรยาบรรณบรรณารักษ์, Example: <strong>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศ พ.ศ.2550</strong> <p>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ประกาศใช้เมื่อพ.ศ.2521 ปรับปรุง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2529 การปรับปรุงครั้งนี้เป็นการปรับปรุงครั้งที่สอง พ.ศ.2550 เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ในวิชาชีพและสังคม จรรยาบรรณนี้ใช้เป็นแนวทางสำหรับบรรณารักษ์และนักสารสนเทศในการประกอบวิชาชีพ มีสาระสำคัญครอบคลุมจรรยาบรรณ ต่อผู้รับบริการ วิชาชีพ ผู้ร่วมงาน สถาบัน และสังคม ดังนี้ <br> 1. พึงให้บริการอย่างเต็มความสามารถ ด้วยบริการที่มีคุณภาพและด้วยความเสมอภาคแก่ผู้รับบริการ<br> 2. พึงรักษาความลับ เคารพและปกป้องสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิในการรับรู้ของผู้รับบริการ<br> 3. พึงมีความศรัทธาในวิชาชีพและใช้วิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ อดทน และมุ่งประโยชน์ ส่วนรวม โดยปราศจากการถูกครอบงำด้วยอิทธิพลหรือผลประโยชน์อันมิชอบทุกประการ <br> 4. พึงแสวงหาความรู้และพัฒนาคนทางวิชาการ วิชาชีพ อย่างต่อเนื่องให้ทันความเปลี่ยนแปลงและได้มาตรฐาน ทางวิชาการวิชาชีพระดับสากล <br> 5. พึงเป็นกัลยาณมิตรของผู้ร่วมงาน ร่วมมือ สนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน เปิดโอกาสให้แก่กันและกัน และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ <br> 6. พึงพัฒนาสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างบุคคลและสถาบัน และธำรงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติภูมิของสถาบัน <br> 7. ไม่พึงใช้ตำแหน่งหน้าที่ ชื่อสถาบันและทรัพยากรของสถาบันเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือหมู่คณะโดยมิชอบ <br> 8. พึงยืนหยัดในหลักการแห่งเสรีภาพทางปัญญา เคารพและปฏิบัติตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และธำรงไว้ซึ่ง เสรีภาพของห้องสมุดและเกียรติภูมิของวิชาชีพ <br> 9. พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคม อุทิศตนเพื่อประโยชน์และความมั่นคงของสังคม และมีบทบาทในการพัฒนาสังคมไทย สู่สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประชาชนและประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library science | บรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Professional librarian | บรรณารักษ์วิชาชีพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Public librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Retrospective bibliography | บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Selective bibliography | บรรณานุกรมเลือกสรร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Teacher -librarian | ครูบรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Trade bibliography | บรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Union catalog | สหบัตร, สหบรรณานุกรม, Example: สหบัตร/สหบรรณานุกรม เป็นรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดของห้องสมุดหลายแห่งมารวมไว้ในรายการเดียวกัน มีชื่อหรืออักษรย่อของห้องสมุดกำกับไว้ เพื่อให้ทราบว่ารายการนั้นๆ มีอยู่ที่ห้องสมุดแห่งใด <p> <p> <p>เดิมที่ยังใช้บัตรรายการในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศนั้น จะเป็นการรวมรายการบัตรของห้องสมุดไว้เป็นรายการบัตรเดียวกันในแต่ละบัตรรายการจะมีชื่อหรืออักษรย่อของชื่อของห้องสมุดกำกับไว้เช่นเดียวกัน โดยทั่วไปจัดเรียงบัตรรายการตามลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง หรืออาจจะเรียงลำดับตามหัวข้อวิชา อาจจะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มได้ <p>การจัดทำสหบัตรหรือสหบรรณานุกรมมีประโยชน์หลายประการ คือ <p>1. ทำให้ทราบแหล่งทรัพยากรสารสนเทศว่ามีอยู่ในห้องสมุดใดบ้าง <p>2. ทำให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ โดยอาจมีข้อตกลงในการจัดหาร่วมกัน ห้องสมุดแห่งใดมีรายการทรัพยากรสารสนเทศนั้นแล้ว ห้องสมุดแห่งอื่นไม่จำเป็นต้องซื้อมาซ้ำอีก สามารถใช้บริการยืม-คืนระหว่างห้องสมุด <p>3. ทำให้สามารถรวบรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศตามผู้แต่ง หรือกลุ่มสาขาวิชาได้สะดวกและรวดเร็ว <p>ตัวอย่าง <p>สหบัตรของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย หอสมุดกลาง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวบรวมบัตรรายการของทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2521-2529 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120825-Union-Catalog.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog"> <p>จากภาพจะเป็นการรวมสหบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจากรายการตัวอย่าง จะเห็นว่ารายการนี้มีอยู่ในห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ ศูนย์เอกสารประเทศ และหอสมุดกลาง <p>ปัจจุบันมีการจัดทำฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมมหาวิทยาลัย โดยสำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ได้ริเริ่มดำเนินงานโครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุมหาวิทยาลัย/สถาบัน มหาิวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เข้าด้วยกัน <p>ตัวอย่าง รายการสหบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของโครงการ ThaiLIS <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-Union-Catalog-ThaiLIS.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog-ThaiLIS"> <p>จากตัวอย่างข้างต้นจะปรากฏว่า หนังสือ เรื่อง คิดถึงทุกปี ของ บินหลา สันกาลาคีรี มีอยู่ในห้องสมุด 14 แห่ง <p>รายการอ้างอิง <p>สุนทรี หังสสูต. สหบัตรและรวมรายชื่อวารสาร. หน้า 61-66 ใน การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. <p>Reitz, Joan M. Dictionary for library and information science. Westport, Conn. : Libraries Unlimited, 2004. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Union catalog database | ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Universal Bibliographical Control | การควบคุมทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Universal bibliography | บรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Searching, Bibliographical | การค้นทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographical citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Communication in library science | การสื่อสารทางบรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Special bibliography | บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| บรรณ | [ban] (n) EN: book ; work ; literature FR: livre [ m ] ; ouvrage [ m ] | บรรณ | [ban] (n) EN: leaf FR: feuille [ f ] | บรรณาการ | [bannākān] (n) EN: tribute ; present ; gift FR: cadeau [ m ] ; présent [ m ] | บรรณานุกรม | [bannānukrom] (n) EN: bibliography FR: bibliographie [ f ] | บรรณารักษ์ | [bannārak] (n) EN: librarian FR: bibliothécaire [ m, f ] | บรรณสาร | [bannasān] (n) EN: papers ; archives FR: document officiel [ m ] | บรรณาธิการ | [bannāthikān] (n) EN: editor FR: éditeur [ m ] ; directeur de publication [ m ] ; rédacteur en chef [ m ] | บรรณาธิการอำนวยการ | [bannāthikān amnūaykān] (n, exp) EN: editor in chief | บรรณาธิการิณี | [bannāthikārinī] (n) EN: editress ; woman editor FR: directrice de publication [ f ] ; rédactrice en chef [ f ] ; éditrice [ f ] | บทบรรณาธิการ | [botbannāthikān] (n) EN: leading article ; leader ; editorial FR: éditorial [ m ] | จรรยาบรรณ | [janyāban] (n, exp) EN: code of conduct ; convention ; ethics ; morality ; morals ; conduct FR: code de bonne conduite [ m ] ; conventions [ fpl ] | จรรยาบรรณวิชาชีพ | [janyāban wichāchīp] (n, exp) EN: professional code of conduct | จดหมายถึงบรรณาธิการ | [jotmāi theung bannāthikān] (n, exp) EN: letter to the editor | การบรรณาธิการ | [kān bannāthikān] (n) EN: editing | เครื่องบรรณาการ | [khreūang bannākān] (n, exp) EN: tribute ; gift ; present | กองบรรณาธิการ | [køng bannāthikān] (n, exp) EN: publication department ; editorial department | มอบบรรณาการแก่ | [møp bannākān kaē] (v, exp) EN: pay tribute to | ไปรษณียบรรณ | [praisanīyaban] (n, exp) EN: letter-card = lettercard FR: carte-lettre [ f ] | รัฐบรรณาการ | [rat bannākān] (n, exp) EN: tributary state | สารบรรณ | [sāraban] (n) EN: documents ; office files ; archives ; correspondence FR: documents [ mpl ] ; archives [ fpl ] | สุเทพ เทือกสุบรรณ | [Suthēp Theūaksuban] (n, prop) EN: Suthep Thaugsuban FR: Suthep Thaugsuban | ถวายบรรณาการแด่ | [thawāi bannākān daē] (v, exp) EN: pay tribute to |
| exegete | (n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator | midrash | (n) หนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Talmud, Mikra, Masorah, Syn. Exegesis | halakhah | (n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Aggadah, Syn. exegesis | aggadah | (n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Halakhah, Syn. exegesis | colophon | (n) ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ |
| bibliography | (n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog. | copyreader | (n) บรรณาธิการ, Syn. subeditor | edit | (vt) เป็นบรรณาธิการ, See also: ทำหน้าที่บรรณาธิการให้กับ | editor | (n) บรรณาธิการ, See also: บ.ก., Syn. director, supervisor | editorial | (adj) เกี่ยวกับบรรณาธิการ, See also: เกี่ยวกับการแก้ไขข้อผิดพลาด | editorial | (n) บทบรรณาธิการ, Syn. column, commentary | editorialize | (vi) เขียนบทบรรณาธิการ, See also: ลงบทความ, ใส่ข้อคิดเห็น | editorship | (n) ตำแหน่งบรรณาธิการ, See also: งานบรรณาธิการ | executive editor | (n) บรรณาธิการบริหาร, Syn. editor | impeachment | (n) การกล่าวโทษเจ้าหน้าที่รัฐว่าทำผิดศีลธรรมหรือจรรยาบรรณ, See also: การฟ้องร้อง | librarian | (n) บรรณารักษ์ | librarianship | (n) ตำแหน่งบรรณารักษ์ | librarianship | (n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. librarian science | library science | (n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. library science | managing editor | (n) บรรณาธิการบริหาร | shyster | (n) ทนายซึ่งทำผิดจรรยาบรรณ | tribute | (n) เครื่องบรรณาการ, Syn. memorial | unethical | (adj) ซึ่งผิดศีลธรรมจรรยา, See also: ซึ่งไม่มีจรรยา, ซึ่งไร้จรรยาบรรณ, Syn. immoral, base, Ant. ethical |
| belles-lettres | (เบลเล'ทระ) n., pl. วรรณคดี, วรรณวิจิตร, See also: belletrist n. นักรรณคดี, นักวรรณวิจิตร -belletristic adj. เกี่ยวกับรรณคดี, เกี่ยวกับวรรณวิจิตร | bibliographer | (บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม | bibliography | (บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม | city room | n. ห้องข่าวท้องถิ่น, คณะบรรณาธิการข่าวท้องถิ่น | coeditor | n. บรรณาธิการร่วม | columnist | (คอล'ลัมนิสทฺ) n. นักเขียนหรือบรรณาธิการคอลัมน์หนังสือพิมพ์, | desk | (เดสคฺ) โต๊ะทำงาน, แท่นอ่าน , กอง ฝ่ายหรือแผนก, ที่ตั้งโน๊ตดนตรี, กองบรรณาธิการ adj. เกี่ยวกับโต๊ะ | edit | (เอด, 'ดิท) { edited, editing, edits } vt. เรียบเรียง, แก้ไข, ตัดตอน, ตัดย่อ, เป็นบรรณาธิการ, ลำดับเรื่อง, พิมพ์โฆษณา, Syn. correct, revise | edit mode | ภาวะบรรณาธิกรหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์อยู่ในสภาวะที่เตรียมพร้อมจะรับการแก้ไข เราสามารถสั่งแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ โดยผ่านทางแป้นพิมพ์ | edit progam | ชุดคำสั่งบรรณาธิกรหมายถึงโปรแกรม หรือชุดคำสั่งที่เตรียมไว้ในซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ช่วยตรวจแก้ไขชุดคำสั่งต่าง ๆ มีความหมายเหมือน editor | edition | (อิดิช, 'เชิน) n. ฉบับพิมพ์, ฉบับพิมพ์ครั้งที่, การพิมพ์, สิ่งที่คล้ายกันมาก, คนที่คล้ายกันมาก, การเป็นบรรณาธิการ | editor | (เอด, 'ดิเทอะ) n. ผู้เรียบเรียง, ผู้รวบรวม, บรรณาธิการ | editor in chief | n. หัวหน้า บรรณาธิการ | editorial | (เอดดิโท'เรียล) n., adj. (เกี่ยวกับ) บทบรรณาธิการ, บทนำ, บทความ., See also: editorialist n. | editorship | n. ตำแหน่งบรรณาธิการ, ที่ทำการบรรณาธิการ, งานบรรณาธิการ | etiquette | (เอท'ทะเค็ท, -คิท) n. สมบัติผู้ดี, มารยาท, จรรยาบรรณ, ธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. decorum | gavel | (แดฟ'เวิล) n. ค้อนไม้ใหญ่, ตะลุมพุก, ค่าเช่านาศักดินา, บรรณาการศักดินา | librarian | (ไลแบร'เรียน) n. บรรณารักษ์., See also: librarianship n. ดูlibrarian | managing editor | n. บรรณาธิการผู้จัดการ | masterhead | (มาส'เทอะเฮด) n. หัวเสา, ส่วนสูงสุดของเสา, ข้อความระบุชื่อผู้พิมพ์ เจ้าของและกองบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ นิตยสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ , ป้ายชื่อ. vt. ชักขึ้น. adj. สู่ยอดเขา | scribe | (สไครบฺ') n. เสมียน, ผู้คัดลอก, เจ้าหน้าที่คัดลอก, อาลักษณ์, เจ้าหน้าที่สารบรรณ, นักเขียน, นักประพันธ์, ผู้สอนกฎหมายยิว, ผู้เชี่ยวชาญกฎหมาย, ยิว, นักข่าว, เครื่องขีดเขียน, เครื่องขีดไม้. vt. ใช้เครื่องขีดเขียน, ขีดเขียน, ขีดเขียนไม้ด้วยเครื่องขีดเขียน | teachtext | เป็นโปรแกรมการบรรณาธิกรณ์ข้อความ (text editing program) ง่าย ๆ ที่ใช้ในเครื่องแมคอินทอชเท่านั้น ปกติ จะใช้โปรแกรมนี้อ่านและแสดงแฟ้มที่ชื่อ README ทั้งหลาย | tributary | (ทริบ'บิวทะรี) n. แคว, สาขาสายน้ำ, เมืองขึ้น adj. (สายน้ำ) ไหลรวมกับสายใหญ่กว่า, เสริม, สาขา, จ่ายเงินบรรณาการ, เป็นเมืองขึ้น, เป็นส่วนประกอบ, See also: tributarily adv., Syn. branch | tribute | (ทริบ'บิวทฺ) n. เงินบรรณาธิการ, ของขวัญ, ค่าเช่าหรือเงินภาษีที่ต้องจ่ายให้ผู้ปกครอง, ภาระหน้าที่ดังกล่าว, คำสรรเสริญ, Syn. testimonial, compliment, gift, tax | yellow journalism | n. ระบบบรรณาธิการคาวโลกีย์ |
| bibliographer | (n) บรรณารักษ์ | bibliography | (n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง | copyreader | (n) คนตรวจสอบ, บรรณาธิการ, คนพิสูจน์อักษร | desk | (n) โต๊ะ, โต๊ะทำงาน, กองบรรณาธิการ, แท่นอ่านคัมภีร์, ฝ่าย, แผนก | editor | (n) บรรณาธิการ, ผู้เรียบเรียง, ผู้รวบรวม | editorial | (adj) เกี่ยวกับบรรณาธิการ, เกี่ยวกับบทความ, เกี่ยวกับบทบรรณาธิการ | editorial | (n) หน้าบรรณาธิการ, บทนำ, บทความ, บทบรรณาธิการ | etiquette | (n) มารยาท, สมบัติผู้ดี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จรรยาบรรณ | librarian | (n) บรรณารักษ์ | tributary | (adj) ซึ่งต้องส่งเครื่องบรรณาการ, ที่เป็นเมืองขึ้น | tribute | (n) เครื่องบรรณาการ, อภินันทนาการ, ของขวัญ |
| bibliographic | (n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ | Library and information science (LIS) | (n) บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ | Lucifer | [ลูซิเฟอร] (n) ลูซีเฟอร หรือซาตาน เป็นคนที่ก่อเหตชั่วร้ายให้กับมนุษย์ เป็นบิคาแห่งความชั่ว ตามความเชื่อศาสนาคริสต มันมีหลายชื่อ เช่น ดาวประจำกลางวัน มาร พญามาร งูดึกดำบรรณ ซาตาน |
| | 貢献(する) | [こうけん, kouken] การอุทิศเพื่อส่วนรวม การถวายเครื่องบรรณาการ |
| Redaktion | (n) |die, pl. Redaktionen| กองบรรณาธิการหนังสือ, คณะทำงานในกองถ่ายภาพยนตร์เกี่ยวกับสารคดี |
| torah | (n) หนังสือเบญจบรรณ หรือหนังสือโทราห์ เป็นชื่อเรียกหนังสือ 5 เล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางของหลักข้อเชื่อศาสนายิว, See also: The Old Testament, Syn. Pentateuch |
| éxgèse | (n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ อย่างเช่น พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หนังสือเบญจบรรณ พระคัมภีร์อัลกุรอ่าน พระไตรปิฏก หรือคัมภีร์พระเวท เป็นต้น |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |