ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แตกออก, -แตกออก- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กระโดง ๒ | น. กิ่งไม้ที่แตกออกตรงขึ้นไปจากกิ่งใหญ่ | กระเบื้อง ๑ | น. วัสดุใช้มุงหลังคา ทำผนังหรือปูพื้น เป็นต้น ทำด้วยดินเผาหรือซีเมนต์ หรือวัสดุอื่น ๆ มักทำเป็นแผ่นสี่เหลี่ยม มีขนาดต่าง ๆ อาจมีสีหรือลวดลายก็ได้, เครื่องถ้วยชามที่ปั้นด้วยดินประสมอย่างดี เนื้อมีลักษณะแข็งและขาว เคลือบผิวเป็นมัน มีพื้นหรือลวดลายเป็นสีต่าง ๆ เรียกรวมว่า เครื่องกระเบื้อง, ชิ้นของเครื่องกระเบื้องที่แตกออก, กระทะแบน ๆ สำหรับละเลงขนมเบื้องเป็นต้น เดิมทำด้วยดินเผา แต่ปัจจุบันทำด้วยโลหะ | กระเบื้องถ้วยกะลาแตก | น. เศษภาชนะดินเผาที่แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, โดยปริยายหมายถึงของเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่เป็นชิ้นเป็นอันที่ชำรุดหรือขาดชุดหมดราคา. | กระสุนแตก | น. ลูกกระสุนที่มีดินปืนอย่างร้ายแรงอยู่ข้างใน เมื่อยิงหรือขว้างไปจะแตกออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ, (ปาก) ลูกแตก. | ก้อน | สิ่งที่แยกหรือแตกออกจากสิ่งใหญ่ ไม่กำหนดรูปแน่นอน โดยมากมีลักษณะค่อนข้างกลม เช่น ก้อนอิฐ ก้อนหิน ก้อนดิน | แกลบ ๑ | (แกฺลบ) น. เปลือกข้าวที่สีหรือตำแตกออกจากเมล็ดข้าว. | งอก ๑ | ผลิออก, แตกออก, เช่น รากงอก ยอดงอก | เงินปลีก | น. เงินจำนวนย่อยที่แตกออกมาจากเงินจำนวนใหญ่หน่วยใดหน่วยหนึ่งของเงินตรา. | แจรก | (แจฺรก) ก. แจก, แตกออก, กระจายออก, แยกออก. | ช่อ ๑ | น. ใบไม้หรือดอกไม้ที่แตกออกเป็นพวง, เรียกดอกของต้นไม้บางชนิดเช่นมะม่วงและสะเดาที่ออกดอกเล็ก ๆ เป็นกลุ่มหรือเป็นพวง ว่า ช่อมะม่วง ช่อสะเดา, ใบไม้หรือดอกไม้ที่ผูกเป็นกลุ่มหรือเป็นพวง, โดยปริยายเรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ช่อดอกไม้ไฟ โคมช่อองุ่น. | ชิ้น ๑ | น. ก้อนหรือแผ่นเล็กที่ตัด แล่ แบ่ง แยก หรือ แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น ชิ้นปลา ชิ้นเนื้อ ชิ้นกระเบื้อง, ลักษณนามเรียกสิ่งที่เป็นก้อนเป็นแผ่นเล็ก ๆ เช่นนั้น เช่น ผ้าชิ้นหนึ่ง เนื้อ ๒ ชิ้น. | ตะเกียง ๒ | น. หน่อสับปะรดที่แตกออกจากโคนขั้วของผล, หน่อกล้วยไม้ประเภทหวายที่แตกออกจากข้อ. | บัลลพ, บัลวะ | (บันลบ, บันละวะ) น. หน่อต้นไม้, กระโดงไม้ที่แตกออกใหม่, ใช้ว่า บัลลพ์ ก็มี. | บิ | ก. ทำให้แตกออกหรือหลุดออกเป็นชิ้น ๆ ด้วยนิ้ว เช่น บิขนมปัง, แตกออกหรือหลุดออกด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น. | ใบเลี้ยง | น. ใบที่แตกออกมาจากเมล็ดเป็นใบแรกหรือคู่แรก, ใบที่อยู่ชิดกับขั้วผลไม้บางชนิด. | ประวาล | (ปฺระวาน) น. หน่อหรือแขนงต้นไม้ที่แตกออก. | แป | ย่อย, แบน, ในคำว่า เงินแป คือ เงินเหรียญที่เป็นเงินย่อย. (แป ไทขาวว่า ย่อย, แตกออก). (ดู เงินแป ที่ เงิน). | แผก | ก. แยกออก, แตกออก, ต่างออกไปอีกส่วนหนึ่ง. | พุพอง | น. โรคผิวหนังชนิดหนึ่ง เป็นเม็ดผุดขึ้นพองใสตามตัว แล้วแตกออกมีนํ้าเหลืองหรือนํ้าเลือดนํ้าหนอง. | แพร่ง | (แพฺร่ง) ก. แตกออก, แยกออก. | ฟาก ๑ | น. ลำไม้ไผ่เป็นต้นที่ผ่าแล้วสับให้แตกออกเป็นอันเล็ก ๆ แต่ไม่ขาดจากกัน แล้วแบคว่ำออกเป็นแผ่น โดยมากใช้ปูเป็นพื้นเรือน เรียกว่า ฟากสับ, ส่วนที่ทำเป็นซี่แล้วใช้หวายหรือเถาวัลย์ถักให้ติดกันเป็นผืน เรียกว่า ฟากซี่ หรือ ซี่ฟาก. | แยก | ก. ทำให้สิ่งที่รวมกันอยู่หรือประกอบกันอยู่ออกจากกัน เช่น แยกกลุ่มประชุม แยกกล้วยไม้ แยกธาตุ, ทำให้อยู่เป็นพวก ๆ เช่น แยกนักเรียนชายออกจากนักเรียนหญิง, ทำให้ห่างจากกัน เช่น กรรมการแยกนักมวย ๒ ฝ่ายออกจากกัน, กิริยาของสิ่งที่รวมกันอยู่หรือประกอบกันอยู่แตกออกจากกัน เช่น แผ่นดินแยก, แตกหรือทำให้แตกออกเป็นทาง เช่น แม่นํ้าแยก ทางแยก, ไม่ไปด้วยกัน เช่น แยกกันตรงนี้, ไม่อยู่ร่วมกัน เช่น แยกกันอยู่ แยกกันไป. | แยก | น. ทางที่แตกออกไปจากทางใหญ่ เช่น หลักกิโลเมตรที่ ๑๖ มีแยกไปอำเภอเมืองฯ, จุดที่ทางแตกออกไป เช่น สามแยก สี่แยก แยกหัวลำโพง. | แยะ | ก. แยก, แบะออก, แตกออก. | ระเบิด | ก. ปะทุแตกออกไป เช่น คลังกระสุนระเบิด, ทำให้ปะทุแตกออกไป เช่น ระเบิดหิน. | รากแขวน | น. รากที่แตกออกจากโคนต้นมะพร้าวหรือตาลเป็นต้น เฉพาะรากที่ปลายยังไม่ถึงดิน. | รากอากาศ | น. รากที่แตกออกจากต้นหรือกิ่งเหนือดิน เช่น กล้วยไม้. | รุ่น | กิ่งไม้ที่แตกออกมาใหม่ อ้วน งาม เรียกว่า รุ่นไม้. | เราะ ๒ | ก. เคาะ เช่น อย่าเดินลงส้น ไม่อย่างนั้นจะเอาไม้เราะตาตุ่ม, ต่อยริมออกทีละน้อยเพื่อให้ได้รูปตามต้องการ เช่น เราะกระเบื้อง เราะปากขวด, ทำให้แตกออกจากกัน เช่น เราะถั่วทอง, เคาะให้หลุด เช่น เราะสนิม เราะกระดูกหมู | เรียวไผ่ | น. แขนงไม้ไผ่ที่แตกออกจากบริเวณโคนไผ่บางชนิด เช่น ไผ่สีสุก ไผ่ลำมะลอก. | เรียวหนาม | น. แขนงไม้ไผ่ที่มีหนาม มักแตกออกจากบริเวณโคนไผ่บางชนิด เช่น ไผ่ป่า. | ลัด ๒ | ก. ผลิออก, แตกออก, (ใช้แก่ต้นไม้ที่เริ่มตั้งตัวผลิใบอ่อน) เช่น ต้นไม้ลัดใบ. | ลั่น | ปริออกแตกออกเป็นทางยาวและมีเสียงดัง เช่น จั่นลั่น แก้วใส่น้ำร้อนลั่น | สร้อยนกเขา | ชื่อปลาทะเลในสกุล Diagramma และ Plectorhynchus วงศ์ Haemulidae โดยเฉพาะชนิดที่มีจุดสีเข้มกระจายหรือเรียงเป็นแถวอยู่ข้างตัว หรือบนหัวและครีบ ที่พบทั่วไป คือ ชนิด D. pictum (Thunberg) ที่ขณะเป็นปลาขนาดเล็กจะมีแถบกว้างสีดำหรือม่วงดำพาดตามยาวตลอดลำตัวและครีบรวม ๓-๔ แถบ ขณะโตขึ้นแถบเหล่านี้จะแตกออกกลายเป็นจุดใหญ่และเล็กลงตามลำดับ ปลาที่มีขนาดโตมีสีเทาและจุดเหล่านี้จะเล็กลงอีกจนอาจจางหายไปจากบริเวณหัวและท้องคงปรากฏอยู่เฉพาะบริเวณหลัง ครีบหลัง และครีบหางเท่านั้นขนาดยาวได้ถึง ๘๐ เซนติเมตร, สร้อยปากหมู ข้างตะเภา หรือ ตะเภา ก็เรียก. | สะกิด | ก. เอาปลายเล็บหรือสิ่งที่คล้ายคลึงกันเขี่ยหรือแคะแต่เบา ๆ เพื่อให้รู้ตัวหรือเพื่อให้หลุดหรือให้แตกออกเป็นต้น เช่น เอามือสะกิดสีข้าง ใช้เข็มสะกิดฝีให้หนองออก | สะลาบ | น. ผิวของพิมพ์หล่อพระที่แตกออกเป็นกาบเล็ก ๆ เมื่อความร้อนลดลงกะทันหัน. | สัมเภทะ | การแยก, การแตกออก, การแบ่ง. | เสี่ยง ๑ | น. ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง. |
|
| Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Aneurysm, Ruptured | หลอดเลือดโป่งแตกออก [การแพทย์] | Dissociate | แตกตัว, การแตกตัว, แตกออก [การแพทย์] | Fragments, Comminuted | เศษกระดูกเล็กๆที่แตกออก [การแพทย์] | psilotum | ไซโลตัม, หวายทะนอย, พืชพวกหนึ่งที่มีระบบท่อลำเลียงจัดอยู่ในไฟลัมเทอโรไฟตา มีไรซอยด์ทำหน้าที่แทนราก มีกิ่งแตกออกมาเป็นคู่ ๆ และมีใบเป็นเส้นเล็ก ๆ ติดอยู่ตามข้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Lysis | เม็ดโลหิตแดงแตก, แตกออก, ทำลาย, การสลายตัว, การแตกสลาย, แตก, แตกและตาย, ตาย, สลายตัว, กำลังจะตาย [การแพทย์] | Multilocular Degeneration | เซลล์แตกออกเกิดช่องน้ำใสหลายช่อง [การแพทย์] |
| | bursting | (n) การระเบิดหรือแตกออก, Syn. blast | chip off | (phrv) บิ่น, See also: แตกออกจากส่วนที่ใหญ่กว่า | chip | (n) เศษที่แตกออก, See also: เศษที่บิ่นออก, Syn. fragment, thin slice | cotyledon | (n) ใบเลี้ยง (พืช), See also: ใบที่แตกออกจากเมล็ดเป็นใบแรก, Syn. seed leaf | fissure | (vt) ทำให้แยกออก, See also: ทำให้แตกออก, ทำให้กะเทาะ, Syn. cleave, split | fissure | (vi) แยกออก, See also: แตกออก, กะเทาะ | flake | (n) ชิ้นย่อยที่แตกออกมา, See also: ชิ้นเล็กๆ, สะเก็ด, เกล็ด, Syn. fragment, scale | fraction | (n) เลขเศษส่วน, See also: จำนวนเล็กน้อย, เศษ, การแตกออกเป็นเศษ | fraction | (n) จำนวนเล็กน้อย, See also: ส่วนน้อย, ส่วนปลีกย่อย, จำนวนเล็กน้อย, เศษ, การแตกออกเป็นเศษ | fragment | (n) ส่วนที่แตกออกมา, See also: สะเก็ด, Syn. piece, shard, shred | fragment | (vi) แยกออกเป็นชิ้นๆ, See also: แตกออกเป็นชิ้นๆ | fragment | (vt) ทำให้แยกออกเป็นชิ้นๆ, See also: ทำให้แตกออกเป็นชิ้นๆ | rupture | (vi) แตกออก, See also: แตก, ฉีกขาด, Syn. break, burst, tear | rupture | (vt) ทำให้แตกออก, See also: ทำให้แยกออก, Syn. break, burst, tear | rupture | (n) การแตกออก, See also: การแยกออก, Syn. break, split | rupture | (n) เนื้อเยื่อหรือวัยวะที่แตกออก, See also: อาการโป่งหรือบวมเนื่องจากอวัยวะห่อหุ้มแตก | splinter | (n) เศษเล็กๆ ที่แตกออก, Syn. chip, sliver | split | (adj) ซึ่งแตกออก, See also: ซึ่งแยกออก, Syn. cloven, cracked | splitting | (adj) ซึ่งแตกออก | snap off | (phrv) หักออก, See also: แยกออก, แตกออก | splinter off | (phrv) ทำให้แตกออก, See also: ทำให้แยกออก, Syn. split off | split off | (phrv) หักออก, See also: แตกออก, แยกออก, Syn. splinter off |
| basophils | เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูล มีจำนวนน้อยมากประมาณ 0-1.6 % มีหน้าที่ในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เกี่ยวกับการอักเสบ มีความสำคัญต่อปฏิกริยา antigen antibody คือจะทำให้ basophils แตกออกแล้วปล่อย histamine ออกมา | breach | (บรีช) { breached, breaching, breaches } n. การทำให้แตก, การแตกแยก, การทำลาย, การฝ่าฝืน, การไม่ปฏิบัติตาม, บาดแผล vt. ทำให้แตกออก, ฝ่าฝืน (กฎหมาย, สัญญา) vt. กระโดดข้ามผิวน้ำ | break | (เบรค) (broke, broken, breaking, breaks) vt., vi. ทำให้แตก, ทำให้บาดเจ็บ, แบ่งออกเป็นส่วน, เปิดเผย, ทำให้เชื่อง, เอาชนะ, ทำลายสถิติ, แหก (คุก) , ฝ่าฝืน, ตัดขาด, ฝึก, สลัด, (โรงเรียน) หยุด, (สงคราม) เกิดขึ้น, ละเลยหน้าที่, ระเบิด, หนี, หยุดพักทำงาน n. การแตกออก, การหยุดพัก, ตอนฟ้าสว่าง หยุดหมายถึง การสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงานอย่างกระทันหัน เราอาจใช้วิธีกดแป้น Break หรือกดแป้น CTRL + C ก็ได้ | breakage | (เบรค'คิจฺ) n. การแตกออก, ภาวะที่แตกออก, ค่าชำรุด, เงินค่าเสื่อมหรือสึกหรอ | burst | (เบอสทฺ) { burst, burst, bursting, burts } vi., n. (การ) ระเบิด, แตกออก, ระเบิดแตก, ผลิ, พอง, ปริ, ปะทุขึ้นอย่างฉับพลัน, เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน, เต็มไปด้วย., Syn. explode | bust | (บัสทฺ) { busted, busting, busts } n. รูปปั้นครึ่งตัว (หัวและไหล่) , ทรวงอก, อก, ความล้มเหลว, การตี, การต่อย, ภาวะลดต่ำลง, การจับกุม adj. ล้มละลาย, ไร้เงิน vi., vt. (ทำให้) แตกออก, ล้มละลาย, ล้มลง, จับกุม, ต่อย, ต | crazy | (เคร'ซี) adj. บ้า, มีจิตฟั่นเฟือน, เหลวไหล, พิลึกกึกกือ, ประหลาด, อ่อนแอ, ไม่มั่นคง, ดูจะแตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย -Phr. (like crazy ด้วยความกระตือรือร้น ถึงที่สุด) n. ผู้ที่ไม่ลงรอยกับใคร., See also: crazily adv. craziness n. คำที่มีความหมายเหมื | dehisce | (ดิฮิส') { dehisced, dehiscing, dehisces } vi. แตกออก, เปิดออก, อ้าออก | dehiscence | (ดิอิส'เซินซฺ) n. การแตกออกตามธรรมชาติของฝัก | erupt | (อีรัพทฺ') vi., vt. (ทำให้) ระเบิด, แตกออก, ปะทุ, See also: eruptible adj. ดูerudition | eruption | (อีรัพ'เชิน) n. การแตกออก, การระเบิดออก, การปะทุ, สิ่งที่พุ่งออกมา, การเกิดผื่นผิวหนัง, Syn. outburst | eruptive | (อีรัพ'ทิฟว) adj. ซึ่งแตกออก, ซึ่งระเบิดออก, ซึ่งพุ่งหรือพ่นออกมา, ซึ่งเป็นผื่นผิวหนัง. n. หินที่พุ่งออกมาจากภูเขาไฟ, See also: eruptivity n. ดูeruptive | flake | (เฟลค) { flaked, flaking, flakes } n. แผ่นบาง ๆ , ชิ้นเล็ก ๆ , ก้อนเล็ก ๆ , ชั้น. vi. ปลอกเป็นแผ่นบาง ๆ vt. ทำให้แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, หั่นเป็นแผ่นบาง ๆ , ปกคลุมไปด้วยเกล็ดหิมะ, กลายเป็นแผ่นบาง ๆ | fragment | (แฟรก'เมินทฺ) n. เศษที่แตกออก, ชิ้นที่แตกออก, ส่วนที่ยังทำไม่เสร็จ, ส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์, สะเก็ด. vi. แตกตัวออก, แตกออกเป็นเศษ. vt. แยกออกเป็นชิ้น ๆ , ทำให้แตกออกเป็นชิ้น ๆ, Syn. portion, part, Ant. whole, all | knap | (แนพ) n. ยอดเขา, ส่วนบนของเนินเขา vi., vt. เคาะ, ตี, ทุบแตก, แตกออก, แทะ, กัดอย่างรวดเร็ว, พูดฉอด. | lh | คำย่อ luteinizing hormone ทำหน้าที่ควบไปกับ FSH ในระยะหลังซึ่ง folicle เจริญเต็มที่แล้วดดยเมื่อไข่สุก follicle จะแตกออกและกลายเป็น corpus lutheum ซึ่งจะทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน progesterone ต่อไป | magnetic disk | จานแม่เหล็กหมายถึง สิ่งที่มีลักษณะเหมือนจาน เคลือบผิวด้วยไอออนออกไซด์ ทำให้เกิดกระแสแม่เหล็กบนผิวหน้าของจานแม่เหล็ก จะมีสองขั้วคือขั้วบวกและขั้วลบ สถานะสองขั้วนี้เองที่เรานำมาใช้แทนรหัสเลขฐานสอง (คือ 0 กับ 1) และทำให้เราสามารถบันทึกข้อมูลซึ่งแตกออกเป็นดิจิต (digit) ได้อย่างง่ายดาย นับเป็นสื่อเก็บข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบัน ที่นิยมใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีทั้งจานอ่อน (floppy disk หรือ diskette) และจานแข็ง (hard disk) จานบันทึกเหล่านี้จะต้องนำมาจัดรูปแบบการบันทึก (format) คือกำหนดแทร็ก (track) และเซ็กเตอร์ (sector) ก่อน จึงจะนำไปใช้ได้ดู track และ sector ประกอบ | outbreak | (เอาทฺ'เบรค) n. การระเบิดออก, การแตกออก, การประทุ, การพุ, การระบาด, การจลาจล | pustulation | (พัสชะเล'เชิน) n. การเกิดเป็นหนอง, การมีหนองไหลหรือแตกออกมา | rupture | (รัพ'เชอะ) vt., vi., n. (การ) แตกออก, แยกออก, แตกร้าว, ทำให้แตกแยก, See also: rupturable adj., Syn. break, breach | shiver | (ชิพ'เวอะ) vi. สั่น, สั่นระริก, ตัวสั่น (ใบเรือ) ปลิวสะบัด, แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, แตกออก, ทำให้แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, ตีแตก n. การสั่น, การสั่นระริก, ตัวสั่น, เศษ, ชิ้นที่แตก, เศษที่แตก, See also: shiverer n. shiveringly adv. | splinter | (สพลิน'เทอะ) n. ชิ้น, เศษ, สะเก็ด, ซีกไม้, แผ่นไม้บาง ๆ , แผ่นแตก vt. ทำให้แตกออกเป็นชิ้นเป็นเศษ vi. แตกออกเป็นชิ้นเป็นเศษ | splutter | (สพลัท'เทอะ) vi., vt., n. (การ) พูดอย่างรวดเร็วอย่างละล่ำละลัก, ส่งเสียงเปาะแปะ, แตกออกเป็นฝอยลงมา, ตกลงมาเป็นฟองฝอยลง, เสียงหนวกหู, ความสับสนวุ่นวาย, |
| derivative | (adj) ซึ่งได้รับมา, ซึ่งแตกออกมา, ซึ่งแตกกิ่งก้านสาขามา | erupt | (vi) ระเบิดออก, พุ่ง, แตกออก, ปะทุ | eruption | (n) การปะทุ, การระเบิด, การแตกออก, การพุ, ผื่นพุ | eruptive | (adj) ซึ่งปะทุออกมา, ซึ่งระเบิดออก, ซึ่งแตกออก, ซึ่งเป็นผื่นพุ | part | (vi) จากกัน, แยกทาง, พรากจากกัน, ทอดทิ้ง, แตกออก | split | (vi) กะเทาะ, แตกออก, ปริ, แบ่งแยก |
| Thromboembolic | การปิดกั้นของหลอดเลือดโดยอนุภาคที่แตกออกจากลิ่มเลือดที่บริเวณที่ก่อตัว |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |