ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: จเต, -จเต- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ใจเติบ | (v) be too broad-minded, Syn. ใจกว้าง, Example: แม้จะไม่อาจจะใจเติบอย่างที่ใครชอบกัน แต่ดีๆ ชั่วๆ ข้าพเจ้าก็คิดว่าตนเองเป็นคนรักเพื่อน, Thai Definition: มีใจอยากให้มากไว้หรือใหญ่โตไว้ | ใจเติบ | (adj) too broad-minded, Example: น้องเป็นคนใจเติบชอบทำในสิ่งที่เกินตัว, Thai Definition: มีใจกว้างขวางเกินสมควร | ใจเต้น | (v) be excited, Syn. ตื่นเต้น, Ant. สุขุม, ใจสงบ, Example: เหล่าสาวงามใจเต้นเมื่อพิธีกรจะประกาศชื่อผู้เข้ารอบสุดท้ายของการประกวดนางสาวไทย, Thai Definition: รู้สึกตื่นเต้น, หัวใจเต้นแรง |
|
| ใจเติบ | ว. มีใจกว้างขวางเกินสมควร | ใจเติบ | มีใจอยากให้มากไว้หรือใหญ่โตไว้. | กระดุบ ๆ | ว. อาการที่ชีพจรเป็นต้นเต้นเป็นระยะ ๆ เช่น หัวใจเต้นกระดุบ ๆ, ดุบ ๆ หรือ ตุบ ๆ ก็ว่า | คับแคบแอบใจ | ว. อึดอัดใจเต็มทน. | จอแจ | จวนแจ เช่น เวลาจอแจเต็มที. | จังหวะ | น. ระยะที่สม่ำเสมอ เช่น หัวใจเต้นเป็นจังหวะ, ระยะที่กำหนดไว้เป็นตอน ๆ เช่น เพลงจังหวะช้า จังหวะเร็ว พูดเป็นจังหวะ, โดยปริยายหมายความว่าโอกาสอันควร เช่น เจ้านายกำลังโกรธ ไม่มีจังหวะจะเข้าพบ. | ใจ | น. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด ใจซื่อ | ดุบ ๆ | ว. อาการที่ชีพจรเป็นต้นเต้นเป็นระยะ ๆ เช่น หัวใจเต้นดุบ ๆ ชีพจรเต้นดุบ ๆ, กระดุบ ๆ หรือ ตุบ ๆ ก็ว่า. | ตึก ๆ, ตึ้ก ๆ, ตึ้กตั้ก | ว. เสียงดังอย่างเสียงหัวใจเต้นเวลาเหนื่อยหรือตกใจเป็นต้น. | ทะทึก | ว. อาการที่ใจเต้นตึก ๆ. | นมผง | น. สิ่งที่มีลักษณะเป็นผง ได้จากการนำน้ำนมไปผ่านกรรมวิธีซึ่งทำให้ส่วนที่เป็นน้ำระเหยออกไปหมด อาจเติมสารเคมีที่มีประโยชน์ต่อร่างกายลงไปด้วยก็ได้. | ระทึก | ก. อาการที่ใจเต้นตึก ๆ. | สะทึก | ก. ใจเต้นตึก ๆ. | อะดักอะเดี้ย, อะดักอะเดื่อ, อะดักอะแด้ | ว. อึดอัดเต็มทน, คับใจเต็มทน. |
| | Bradycardia | ภาวะหัวใจเต้นช้า [TU Subject Heading] | Tachycardia | ภาวะหัวใจเต้นเร็ว [TU Subject Heading] | Tachycardia, Sinus | ภาวะหัวใจเต้นเร็วจากไซนัส [TU Subject Heading] | Ambassador | เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต] | Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] | Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] | Final Act | กรรมสารสุดท้าย คือคำแถลงหรือคำสรุปอย่างเป็นทางการจากเรื่องราวการ ประชุม คำแถลงนี้จะระบุสนธิสัญญาและอนุสัญญาที่ได้มีการลงนามกันอันเป็นผลจากการ ประชุม และในบางกรณีจะผนวกความเห็นหรือข้อเสนอแนะหรือความปรารถนาจากที่ประชุมไว้ ด้วย ผู้แทนที่มีอำนาจเต็มเท่านั้นจะเป็นผู้ลงนามในกรรมสารสุดท้าย ในตอนสุดท้ายของการประชุม [การทูต] | full powers | หนังสือมอบอำนาจเต็ม [การทูต] | Head of Diplomatic Mission | บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ? [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | Vienna Convention on Consular Relations | อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1961 สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้ตกลงให้จัดการประชุมระหว่างผู้แทนผู้มีอำนาจเต็ม จากประเทศสมาชิก เพื่อทำหน้าที่พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล และได้ประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1963 ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม ถึงวันที่ 22 เมษายน มีประเทศสมาชิกเข้าร่วมประชุม เป็นจำนวน 92 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ส่วนประเทศโบลิเวีย กัวเตมาลา ปละปารากวัย ได้เข้าร่วมประชุมด้วยในฐานะผู้สังเกตการณ์ (Observers)มีข้อน่าสังเกตว่า ในข้อ 73 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างอนุสัญญานี้ว่า จะไม่มีผลกระทบต่อความตกลงระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่ใช้บังคับระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงดังกล่าว และไม่มีข้อความใดในอนุสัญญานี้ที่จะตัดหนทางของรัฐในการทำความตกลงระหว่าง ประเทศ เพื่อยืนยันหรือเติมต่อหรือยืดขยายบทแห่งอนุสัญญานี้ออกไปอีก [การทูต] | Vienna Convention on Diplomatic Relations | อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1959 ให้จัดการประชุมระหว่างผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากประเทศสมาชิก เพื่อพิจารณาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการติดต่อและการคุ้มกันทางการทูต และได้เริ่มต้นประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม ถึงวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1961 มีรัฐบาลของประเทศสมาชิกส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมร่วมด้วย 81 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย อนุสัญญาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1964 [การทูต] | Anti-Arrhythmia Agents | ยาแก้หัวใจเต้นผิดจังหวะ, ยากดกล้ามเนื้อหัวใจ [การแพทย์] | Appendicitis, Acute | หัวใจเต้นเสียจังหวะอย่างเฉียบพลัน [การแพทย์] | Arrhythmia | ภาวะหัวใจเสียจังหวะ, หัวใจเต้นผิดจังหวะ, หัวใจเสียจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะ, หัวใจเต้นผิดปกติ, ชีพจรไม่สม่ำเสมอ, การเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจ, หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ, หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะของหัวใจ, หัวใจเต้นจังหวะไม่สม่ำเสมอ [การแพทย์] | Arrhythmia, Cardiac | หัวใจเต้นผิดจังหวะ, การเต้นผิดจังหวะของหัวใจ, การเต้นผิดปกติของหัวใจ, หัวใจเต้นผิดปกติ, หัวใจเสียจังหวะ, โรคหัวใจเต้นผิดปกติ, การเต้นของหัวใจเสียจังหวะ, การเต้นผิดปกติของหัวใจ, หัวใจเสียจังหวะ, คาร์ดิแอคอะริธเมีย, หัวใจเต้นผิดปกติ [การแพทย์] | Arrhythmia, Supraventricular | หัวใจเต้นผิดจังหวะจากตำแหน่งเหนือต่อเวนตริเกิ้ล [การแพทย์] | Arrhythmia, Ventricular | การเต้นไม่เป็นจังหวะของหัวใจห้องล่าง, หัวใจเต้นผิดจังหวะจากเวนตริเกิ้ล [การแพทย์] | Atrial Fibrillation | หัวใจเต้นผิดปกติ, เอเตรียลฟิบริลเลชัน, การสั่นของหัวใจห้องบน [การแพทย์] | Brady-Arrhythmias | หัวใจเต้นช้า [การแพทย์] | Bradycardia | อาการหัวใจช้า, หัวใจเต้นช้า, หัวใจเต้นช้าลง, การเต้นของหัวใจลดลง [การแพทย์] | Bradycardia, Severe | หัวใจเต้นช้ามาก [การแพทย์] | Cardiac Dysrhythmia | หัวใจเต้นผิดจังหวะ [การแพทย์] | Deceleration | หัวใจเต้นช้าลง [การแพทย์] | Extrasystole | เอ็กซตราซิสโตลล์, เอกซ์ตราซิสโตลี, หัวใจเต้นผิดจังหวะ, เอ็กซตราซิย์สโตล [การแพทย์] | Food Additives, Intentional | สารเสริมอาหารชนิดที่ตั้งใจเติมลงไป [การแพทย์] | soda ash | โซดาแอช, ชื่อสามัญของโซเดียมคาร์บอเนตชนิดไม่มีน้ำผลึก (Na2CO3) อาจเตรียมได้จากกระบวนการแอมโมเนีย -โซดา หรือโซลเวย์โดยใช้เกลือหินเป็นวัตถุดิบ ใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้ว สบู่ และกระดาษ ถ้ามีสูตรเคมีเป็น Na2CO3 .10H2O เรียกว่า โซดาซักผ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | bronze | ทองสัมฤทธิ์, โลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก ซึ่งอาจมีสัดส่วนต่าง ๆ กัน บางครั้งอาจเติมโลหะอื่นด้วย เช่น สังกะสี ตะกั่ว หรือ นิกเกิล เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | soap | สบู่, เป็นเกลือของโซเดียมหรือโพแทสเซียมของกรดไขมัน เช่น กรดสเตียริก กรดปาล์มมิติกหรือกรดไอเลอิก ซึ่งเตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างเบสกับไขมันและอาจเติมสารปรุงแต่งให้มีสีและกลิ่นที่ต้องการ ใช้ชำระล้างหรือการซักฟอก เสื้อผ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Heart, Hyperkinetic | หัวใจเต้นอย่างแรง [การแพทย์] | Mammography | เต้านม; การบันทึกภาพ, เต้านม; การบันทึกภาพรังสี, แมโมกราฟฟี่, ตรวจเต้านมโดยวิธีฉายเอ็กซเรย์ [การแพทย์] |
| อำนาจเต็ม | [amnāt tem] (n, exp) EN: proxy in blank ; carte blanche FR: carte blanche [ f ] | ผู้มีอำนาจเต็ม | [phū mī amnā tem] (n, exp) EN: plenipotentiary FR: personne qui a pleins pouvoirs [ f ] |
| beat | (n) ใจเต้น, See also: หอบ, ใจสั่น, Syn. palpitation | be satiate with | (phrv) อิ่มแปล้กับ, See also: พอใจเต็มที่กับ | cardiopulmonary resuscitation | (n) การช่วยชีวิตด้วยการเป่าลมหายใจเข้าทางปาก, See also: การทำให้หัวใจเต้นอีกครั้งโดยการเป่าลมเข้าทางปากและใช้มือปั๊มที่หน้าอกหลายๆ ครั้ง, Syn. kiss of life, mouth-to-mouth resuscitation | one's heart misses a beat | (idm) ใจเต้นตึกตัก, See also: ใจเต้นระส่ำ, Syn. one's heart skips a beat, Ant. one's heart skips a beat | one's heart skips a beat | (idm) ใจเต้นตึกตัก, See also: ใจเต้นระส่ำ, Syn. one's heart misses a beat, Ant. one's heart misses a beat | mammogram | (n) การตรวจเต้านมด้วยเอ็กซเรย์ | mammography | (n) การเอ็กซเรย์เต้านม, See also: การตรวจเต้านมด้วยรังสีเอ็กซเรย์ | plenipotentiary | (adj) ซึ่งมีอำนาจเต็มที่, See also: ซึ่งมีอำนาจสมบูรณ์, ซึ่งให้อำนาจเต็มที่ | plenipotentiary | (n) บุคคลที่มีอำนาจเต็มที่, Syn. diplomat, emissary | presidium | (n) คณะกรรมการบริหารที่มีอำนาจเต็มที่ของโซเวียต, See also: กลุ่มผู้เป็นสภาบริหารสูงสุดของประเทศคอมมิวนิสต์, Syn. praesidium | satiate | (vt) ทำให้พอใจเต็มที่, See also: ปรนเปรอ, บำรุงเลี้ยงดูเต็มที่, ทำให้เต็มอิ่ม | tachycardia | (n) ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ |
| adrenal gland | ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด | arrhythmia | (อะริธ'เมีย) n. ภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ, ภาวะไม่ได้จังหวะ., Syn. arrhythmia, arythmia, arythmia -arrhythmia al | bradycardia | อาการหัวใจเต้นช้า | might | (ไมทฺ) n. อำนาจ, ความสามารถ, ประสิทธิภาพ, กำลังกาย, แรง, อำนาจหรือกำลังที่เหนือกว่า -Phr. (with might and main มีอำนาจเต็มที่) v. อดีตกาลของ may- | omnificient | (ออมนิฟ'ฟิซันทฺ) adj. ซึ่งสร้างทุกสิ่งทุกอย่าง, มีอำนาจเต็มที่, มีอำนาจครอบคลุม, See also: omnificience . | page printer | เครื่องพิมพ์รายหน้าหมายถึง เครื่องพิมพ์ที่จัดเรียงตัวพิมพ์ไว้จนเสร็จเต็มหน้าก่อน จึงจะพิมพ์ลงบนกระดาษ เช่น เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) เป็นต้น | parasympathetic | adj. ซึ่งเกี่ยวกับการแบ่งตามระบบ กะโหลกศีรษะกับกระดูกก้นกบ ของระบบประสาทอัตโนมัติ ทำให้หัวใจเต้นช้าลง ช่วยให้การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารเพิ่มมากขึ้น ม่านตาหดลง หลอดลมหดตัว ความดันโลหิตต่ำลง เหงื่อออกน้อยลง อุณหภูมิร่างกายลดลง กระเพาะปัสสาวะหดตัว การบีบตัวของมดลูกมากขึ้น ต่อมขับฮอร์โมนมากขึ้น | plenipotentiary | (เพลนนิพะเทน'เชียริ) n. คนที่มีอำนาจเต็มที่. adj. มีอำนาจเต็ม, ให้อำนาจเต็มที่, เต็มที่, สมบูรณ์, ครบองค์ | sympathetic | (ซิมพะเธท'ทิค) adj. เห็นอกเห็นใจ - เป็นระบบประสาทที่มีใยประสาทมาจากไขสันหลังส่วนอก และเอว แต่มี center อยู่ในไขสันหลัง เป็นระบบประสาทที่มักใช้ในผู้ที่ใช้พลังงานทันทีทันใด หรือในขณะตื่นเต้น สู้รบ หรือป่วยไข้ ทำให้ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว หลอดลมขยายตัว หลอดเลือดหดตัวเล็กน้อย ความดันเลิอดสูงขึ้น เหงื่อออกมาก อุณหภูมิร่างกายเพิ่มมากขึ้น กระเพาะปัสสาวะยืดอออก การบีบตัวของมดลูกลดลง ต่อมขับฮอร์โมนน้อยลง, Syn. kindly, kind | tachycardia | อาการหัวใจเต้นเร็ว | thyroid stimulating hormo | thyroid stimulating hormone เป็นฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมการเจริญเติบโตของต่อมธัยรอยด์และกระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์ทำงานโดยสร้างฮอร์โมนธัยรอกซินออกมา ทำให้ metabolic rate เพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็วขึ้น และ glycogen ที่ตับจะถูกเปลี่ยนเป็น glucose มากขึ้น | tsh | ย่อมาจาก thyroid stimulating hormone เป็นฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมการเจริญเติบโตของต่อมธัยรอยด์และกระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์ทำงานโดยสร้างฮอร์โมนธัยรอกซินออกมา ทำให้ metabolic rate เพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็วขึ้น และ glycogen ที่ตับจะถุกเปลี่ยนเป็น glucose มากขึ้น |
| | Parasymapathetic | [ซิมพะเธท'ทิค] adj. เห็นอกเห็นใจ - เป็นระบบประสาทที่มีใยประสาทมาจากไขสันหลังส่วนอก และเอว แต่มี center อยู่ในไขสันหลัง เป็นระบบประสาทที่มักใช้ในผู้ที่ใช้พลังงานทันทีทันใด หรือในขณะตื่นเต้น สู้รบ หรือป่วยไข้ ทำให้ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว หลอดลมขยายตัว หลอดเลือดหดตัวเล็กน้อย ความดันเลิอดสูงขึ้น เหงื่อออกมาก อุณหภูมิร่างกายเพิ่มมากขึ้น กระเพาะปัสสาวะยืดอออก การบีบตัวของมดลูกลดลง ต่อมขับฮอร์โมนน้อยลง คำที่มีความหมายเหมือนกัน: kindly, kind | service minded | มีจิตใจเต็มใจที่จะช่วย หรือให้บริการ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |