มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ reacts | [รี แอ็คส์] ปฏิกิริยาตอบสนองกลับ |
| ปฏิกิริยา | (n) reaction, Syn. การตอบรับ, การตอบสนอง, ผลสะท้อน, Example: ชาวบ้านเริ่มมีปฏิกิริยาคัดค้านการปลูกป่าของโครงการ | ปฏิกิริยา | (n) reaction, Syn. แรงโต้ตอบ, การตอบสนอง, การตอบรับ, แรงสะท้อน, ผลสะท้อน, Example: ชาวบ้านเริ่มมีปฏิกิริยาคัดค้านการปลูกป่าของโครงการ | ปฏิกิริยาเคมี | (n) chemical reaction, Example: การทำงานของเซลล์อาศัยปฏิกิริยาเคมีที่ซับซ้อนมากมายหลายอย่าง, Thai Definition: การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารที่ทำปฏิกิริยากัน | ปฏิกิริยาตอบโต้ | (n) respond, See also: react, Syn. ปฏิกิริยาโต้ตอบ, Example: รัฐบาลอินเดียมีปฏิกิริยาตอบโต้การทดลองนิวเคลียร์ของปากีสถานอย่างรุนแรง, Thai Definition: การกระทำโต้กลับไป, การกระทำตอบสนองกลับไป | ปฏิกิริยาลูกโซ่ | (n) chain reaction | ปฏิกิริยาสะท้อน | (n) reaction, See also: response, repercussion, Example: พฤติกรรมส่วนมากในชีวิตประจำวันของเราไม่ใช่ปฏิกิริยาสะท้อน แต่เป็นพฤติกรรมที่เราตั้งใจทำ, Thai Definition: การกระทำที่ย้อนกลับมา | ปฏิกิริยาข้างเคียง | (n) side reaction, Syn. ผลข้างเคียง, Example: หากกินยานี้ติดต่อกันนานเกินไปจะเกิดปฏิกิริยาข้างเคียงจากการใช้ยา, Thai Definition: ผลอื่นๆ ที่เกิดสนองตามหลังมา | ปฏิกิริยาเรือนกระจก | (n) greenhouse effect, Example: นักวิทยาศาสตร์เห็นพ้องกันว่า ปฏิกิริยาเรือนกระจกเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไข |
| |
| | Polymerase chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Polymerase chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส, Example: <p>เทคนิค PCR เป็นเทคนิคที่ทำได้ง่ายในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลอง โดยสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอให้เพียงพอต่อการนำไปศึกษาโดยใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมง ปัจจุบันเทคนิค PCR เริ่มจากเตรียมส่วนผสมในหลอดทดลองให้ประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลักๆ คือ ดีเอ็นเอตั้งต้น (ดีเอ็นเอ 2 สายจับกัน) ไพรเมอร์ (primer) 2 สาย (ดีเอ็นเอสายเดี่ยวสายสั้นๆ 2 สาย สามารถไปจับปลายของดีเอ็นเอตั้งต้นแต่ละสาย) ดีเอ็นเอโพลีเมอเรส (DNA polymerase เป็นเอนไซม์ที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทำหน้าที่สร้างดีเอ็นเอสายใหม่ต่อจาก primer โดยการคัดลอกจากดีเอ็นเอตั้งต้น) dNTPs (deoxynucleotide triphosphates เป็นหน่วยย่อยของดีเอ็นเอนำไปต่อโดย DNA polymerase เพื่อสร้างดีเอ็นเอสายใหม่) หลังจากนั้นนำส่วนผสมไปควบคุมอุณหภูมิและเวลาเป็นรอบๆ โดยใช้เครื่องควบคุมอัตโนมัติ โดยแต่ละรอบเริ่มจากควบคุมอุณหภูมิและเวลาให้ดีเอ็นเอ 2 สายที่จับกันแยกออกจากกันเป็นดีเอ็นเอสายเดี่ยว 2 สาย แล้วควบคุมอุณหภูมิและเวลาให้ primer แต่ละสายจับกับดีเอ็นเอสายเดี่ยว แล้วควบคุมอุณหภูมิและเวลาอีกครั้งให้ DNA polymerase สร้างดีเอ็นเอสายใหม่ต่อจาก primer ดังนั้นเมื่อผ่านรอบแรกดีเอ็นเอเพิ่มขึ้น 2 เท่า และเมื่อเข้ารอบสองดีเอ็นเอที่เพิ่มขึ้น 2 เท่าในรอบแรกจะกลายเป็นดีเอ็นเอตั้งต้นของรอบสอง ทำให้เมื่อควบคุมอุณหภูมิและเวลาหลายๆ รอบดีเอ็นเอจะเพิ่มขึ้น 2 ยกกำลัง n เท่า เมื่อ n คือ จำนวนรอบ เนื่องจากใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีในแต่ละรอบ ทำให้เมื่อผ่านไปเป็นชั่วโมง ดีเอ็นเอจะเพิ่มขึ้นมากมายเพียงพอต่อการนำไปศึกษา <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> 1. สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. "เอนไซม์ที่ใช้ในการโคลนยีน" ในพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. หน้า 42-65. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. <br>2. Promega. PCR Amplification. Retrieved May 24, 2012. from http://www.promega.com/resources/product-guides-and-selectors/protocols-and-applications-guide/pcr-amplification/ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fission effect | ปฏิกิริยาฟิชชั่น, Example: ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากการใช้อนุภาคนิวตรอนหรืออนุภาคอื่น ยิงเข้าไปที่นิวเคลียสของธาตุหนัก แล้วทำให้นิวเคลียสแตกตัวเป็นนิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส ที่มีมวลใกล้เคียงกัน และมีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ นิวคลีออนสูงกว่านิวเคลียสเดิม ขบวนการฟิชชั่นที่เกิดขึ้นนี้ จะมีนิวตรอนอิสระเกิดขึ้นด้วย นิวตรอนอิสระนี้จะไปชนนิวตรอนอื่นของ ธาตุ เช่น ยูเรเนียม ก็จะเกิดฟิชชั่นต่อไปอีก เรียกว่า "ปฏิกิริยาลูกโซ่" ซึ่งต่อเนื่องกันไปไม่หยุดยั้ง และจะเกิดพลังงานมหาศาล แนวความคิดนี้ถูกนำไปใช้ในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fusion effect | ปฏิกิริยาฟิวชั่น, Example: ปฏิกิริยาหลอมตัวของนิวเคลียสและมีพลังงานคายออกมาด้วย นิวเคลียสที่ใช้หลอดจะต้องเป็นนิวเคลียสเล็กๆ (A<20) หลอมรวมกลายเป็นนิวเคลียสเบาที่ใหญ่กว่าเดิม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Annihilation | ประลัย, ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคกับปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้นๆ แล้วอนุภาคทั้งสองหายไปกลายเป็นรังสีแกมมาพลังงานเท่ากันเคลื่อนที่ออกไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่นการรวมตัวของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอน ได้รังสีแกมมาพลังงานรวม 1.02 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู Antimatter ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Chain reaction, Fission | ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส, ปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสที่สามารถเกิดขึ้นซ้ำๆ ได้เอง โดยนิวเคลียสจะดูดกลืนนิวตรอนแล้วเกิดการแบ่งแยกของนิวเคลียสขึ้น พร้อมกับปลดปล่อยนิวตรอนใหม่เพิ่มขึ้นออกมา ซึ่งจะถูกนิวเคลียสอื่นๆ ดูดกลืนต่อไปอีก และทำให้เกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสต่อเนื่องไปเรื่อยๆ (ดู nuclear fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Thermonuclear reaction | ปฎิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์, ปฏิกิริยาการหลอมตัวของนิวเคลียสเบาภายใต้อุณหภูมิสูงมาก ไปเป็นนิวเคลียสของอะตอมที่หนักกว่า และปลดปล่อยพลังงานออกมา [นิวเคลียร์] | Nuclear reactions | ปฏิกิริยานิวเคลียร์, ปฏิกิริยาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม เช่น ฟิชชัน ฟิวชัน การจับยึดนิวตรอน หรือ การสลายกัมมันตรังสี ซึ่งแตกต่างกับปฏิกิริยาเคมี ที่จำกัดอยู่เพียงการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ นิวเคลียส [นิวเคลียร์] | Fission chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส [นิวเคลียร์] | Fusion | ฟิวชัน, การหลอมนิวเคลียส, ปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียสของธาตุเบาสองนิวเคลียส เป็นนิวเคลียสที่หนักกว่าพร้อมปลดปล่อยพลังงานออกมา เช่น การหลอมนิวเคลียสของดิวเทอเรียมกับทริเทียมเป็นฮีเลียม, Example: [นิวเคลียร์] |
| | | fuel cell | (n) เซลกำเนิดไฟฟ้า โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี ระหว่างออกซิเจน กับ ไฮโดรเจน ซึ่งเมื่อรวมตัวกันแล้วจะได้น้ำ และพลังงานออกมา คาดกันว่าจะนำมาใช้อย่างแพร่หลาย สำหรับเป็นแหล่งพลังงานของรถยนต์ไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว หรืออุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ต่างๆ โดยสามารถเติมพลังงานในรูปแบบของการเติมไฮโดรเจนที่ปั้ม หรือซื้อไฮโดรเจนกระป๋องสำหรับอุปกรณ์นั้นๆมาเปลี่ยน (สิงหาคม 2546) | oxidizing agent | (n) ตัวเติมออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ได้รับอิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันลดลง, See also: A. reducing agent | reducing agent | (n) ตัวลดออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ให้อิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น, See also: A. oxidizing agent | exergonic reaction | (n) ปฏิกิริยาทางเคมีที่ปล่อยพลังงาน, ปฏิกิริยาคายพลังงาน, Syn. exothermic reaction |
| | abstraction | (แอ็บสแทรค' เชิน) n. นามธรรม (รูป, ผล, ปฏิกิริยา, มโนคติ) , การเอาหรือแยกออก, ภาวะใจลอย -abstractionist n. | agent | (เอ' เจินทฺ) n. ตัวแทน, ผู้แทนจำหน่าย, แรงหรือสิ่งตามธรรมชาติที่ใช้เพื่อผลเฉพาะอย่าง, ยา, น้ำยา, พนักงานเจ้าหน้าที่, สายลับ, สารที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี, Syn. performer | atom bomb | ระเบิดปรมาณูซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียม U -235 ทำให้ส่วนของมวลของมันเปลี่ยนเป็นพลังงานที่มหาศาล. | catalysis | (คะแทล'ลิซิส) n. การเร่งปฏิกิริยาทางเคมีโดยการเติมสารกระตุ้น, ปฏิกิริยาระหว่างบุคคลหรือแรงโดยมีตัวกระตุ้นที่ไม่ถูกกระทบกระเทือน, See also: catalytic adj. ดูcatalysis pl. catalyses, Syn. katalysis, stimulation | catalyst | (แคท'ทะลิสทฺ) n. ตัวเร่งปฏิกิริยา, ตัวเร่ง, Syn. katalyst | chain reaction | n. ปฏิกิริยาลูกโซ่ | flip | (ฟลิพ) vt., n. (การ) โยน, ติด (เหรียญ) , เหวี่ยงขึ้นในอากาศให้หมุนคว้าง, สะบัด, พลิก (ไพ่) , โบก, กระตุก (เบ็ด) , ตีลังกา, หวด (แส้) . vi. ดีดนิ้ว, กระพือ, มีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างตื่นเต้น, ตีลังกา, Syn. flick, jerk, twirl | fusion | (ฟิว'เชิน) n. การหลอมละลาย, การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมละลาย, การผสมของพรรคการเมือง, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่หนักขึ้น (nuclear, See also: fusion, Syn. coalescence, combine, Ant. separate | inert | (อินเนิร์ท') adj. เฉื่อยชา, ไม่มีชีวิตชีวา, เหงาหงอย, ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ ไม่มีฤทธิ์ทางยา., See also: inertness n., Syn. immobile | interact | (อินเทอแรคทฺ') vi. ทำปฏิกิริยากับ, มีปฏิกิริยาต่อ. n. ละครสลับฉาก, การหยุดพักระหว่างฉาก, See also: interactive adj. |
| interact | (vt) มีปฏิกิริยาต่อกัน, มีผลกระทบต่อกัน | interaction | (n) ปฏิกิริยา | reaction | (n) การตอบสนอง, ปฏิกิริยา, การโต้ตอบ, การสะท้อน | reactionary | (adj) ตรงข้าม, แย้ง, เกี่ยวกับปฏิกิริยาโต้ตอบ, เกี่ยวกับการตอบสนอง | reflex | (n) ภาพสะท้อน, ปฏิกิริยาโต้ตอบ | retroactive | (adj) มีปฏิกิริยาโต้ตอบ, มีผลย้อนหลัง |
| pcr | (phrase) ปฏิกิริยาลูกโซ่ polymerase (PCR) |
| 酸化 | [さんか, sanka] (n) ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, See also: R. oxidation |
| Reaktion | (n) |die, pl. Reaktionen| ปฏิกิริยา, See also: Related: reagieren | reagieren | (vi) |reagierte, hat reagiert| ทำปฏิกิริยา เช่น Wasser reagiert nicht mit Sauerstoff. น้ำไม่ทำปฏิกิริยากับออกซิเจน | chemisch | (adj, adv) ทางเคมี, ที่เกี่ยวกับเคมี เช่น In unserem Körper entstehen viele chemische Reaktionen. ในร่างกายของเรามีปฏิกิริยาทางเคมีเกิดขึ้นมากมาย | Reaktionszentrum | (n) |das, pl. Reaktionszentren| ศูนย์รวมการรับแสงของปฏิกิริยาสังเคราะห์ด้วยแสงในคลอโรพลาสต์ เช่น Die absorbierte Energie wird über eine Vielzahl von Pigmenten zum sogenannten Reaktionszentrum geleitet. Dieser Energietransferprozess ist sehr schnell., In Pflanzen ist jedes Reaktionszentrum der Photosynthese von mehreren hundert Farbstoff-Molekülen umgeben. | Reaktionszentrum | (n) |das, pl. Reaktionszentren| ศูนย์กลางการเกิดปฏิกิริยา เช่น Das Reaktionszentrum dieses Enzyms ist bei allen Virussubtypen gleich gebaut und verändert sich im Gegensatz zur Virushülle nicht. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |