ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สหภาพ, -สหภาพ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ sweetheart contract | [สวีทฮ็าร์ต คอนแทร์คท์] (phrase) หากแปลกันตรงๆ คือ "สัญญารัก" ในเนื้อหาชองสิทธิการจ้างงาน สามารถอธิบายว่าป็นข้อตกลงระหว่างนายจ้างกับเจ้าพนักงานสหภาพแรงงานที่ซึ่งอำนวยผลประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่ายบนค่าใช้จ่ายของพนักงาน In the context of employment rights, a sweetheart contract can describe a deal between an employer and trade union officials which benefits them both at the expense of employees. |
| สหภาพ | (n) union, Count Unit: สหภาพ | สหภาพ | (n) union, Syn. สมาพันธ์, สมาคม, สหพันธ์, องค์กร, องค์การ, Example: คนงานรวมกันตั้งสหภาพกรรมกรขึ้น, Thai Definition: การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ 2 องค์การขึ้นไป เพื่อทำกิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น | สหภาพพม่า | (n) Union of Myanmar, Syn. พม่า, Example: ชาวกะเหรี่ยงไม่ต้องการที่จะเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพพม่า | สหภาพแรงงาน | (n) labor union | สหภาพโซเวียต | (n) Union of Soviet, Syn. โซเวียต |
|
| สหภาพ | น. การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ ๒ องค์การขึ้นไป เพื่อทำกิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหภาพศุลกากร สหภาพรัฐสภา | สหภาพ | ชื่อรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวของรัฐตั้งแต่ ๒ รัฐขึ้นไป เช่น สหภาพพม่า | สหภาพ | องค์การของลูกจ้าง เช่น สหภาพแรงงาน. | สหภาพแรงงาน | น. องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน. | จักรวรรดิ | (-หฺวัด) น. รัฐหรือสหภาพของรัฐต่าง ๆ ที่มีจักรพรรดิเป็นประมุข เช่น จักรวรรดิโรมัน, อาณาเขตหรืออาณาจักรที่อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยการปกครองอันเดียวกัน เช่น จักรวรรดิอังกฤษ. | สหพันธ์ | น. สหภาพหรือสมาคมตั้งแต่ ๒ สหภาพหรือ ๒ สมาคมขึ้นไปที่ร่วมกันดำเนินกิจการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสหภาพหรือสมาคมที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหพันธ์กรรมกร. | สัมพันธภาพ | น. ความผูกพัน, ความเกี่ยวข้อง, เช่น สัมพันธภาพระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตดีขึ้นตามลำดับ. | สัมพันธมิตร | น. เรียกกลุ่มประเทศอันประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ที่รวมเป็นแกนร่วมรบกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร. |
| labour union | สหภาพแรงงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | labour union | สหภาพแรงงาน [ ดู trade union และดู labour organization ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | shop, union | กิจการจ้างงานแบบสหภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | agreement, closed-shop | ข้อตกลงจ้างลูกจ้างเฉพาะที่เป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | agency shop agreement | ข้อตกลงร่วม (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | yellow-dog contract | ข้อตกลงไม่เข้าสหภาพแรงงาน (ของลูกจ้าง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | yellow dog contract | สัญญาที่ห้ามลูกจ้างเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | craft union | สหภาพแรงงานช่างฝีมือ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Council of Ministers of the European Union | คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Curtain, Iron | ม่านเหล็ก (สมญานามเรียกสหภาพโซเวียต) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | closed-shop agreement | ข้อตกลงจ้างลูกจ้างเฉพาะที่เป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | company union | สหภาพแรงงานเฉพาะบริษัท [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | company union | สหภาพแรงงานเฉพาะบริษัท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | customs union | สหภาพศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | customs union | สหภาพศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | contract, yellow-dog | ข้อตกลงไม่เข้าสหภาพแรงงาน (ของลูกจ้าง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | collective agreement | ข้อตกลงร่วม (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | collective bargaining | การร่วมเจรจาต่อรอง (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dues | ค่าบำรุง (พรรคการเมือง, สหภาพแรงงาน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | European Union (E.U.) | สหภาพยุโรป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | E.U. (European Union) | สหภาพยุโรป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Interparliamentary Union | สหภาพรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Iron Curtain | ม่านเหล็ก (สมญานามเรียกสหภาพโซเวียต) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Zollverein (G.) | สหภาพศุลกากร (เยอรมัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | zollverein (G.) | สหภาพศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trade union | สหภาพแรงงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | trade union | สหภาพแรงงาน [ ดู labour union และ ดู labour organization ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | union shop | กิจการจ้างงานแบบสหภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | union, company | สหภาพแรงงานเฉพาะบริษัท [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | union, company | สหภาพแรงงานเฉพาะบริษัท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | union, craft | สหภาพแรงงานช่างฝีมือ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | union, customs | สหภาพศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | union, customs | สหภาพศุลกากร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Union, Interparliamentary | สหภาพรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | union, labour | สหภาพแรงงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | union, labour | สหภาพแรงงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | union | สหภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | union | สหภาพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | union contract | สัญญาระหว่างสหภาพแรงงานกับนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | union, trade | สหภาพแรงงาน (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Customs union | สหภาพศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] | European Union | สหภาพยุโรป, Example: ประเทศสมาิชิกสหภาพยุโรปได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย ไซปรัส สาธารณรัฐเชค เดนมาร์ก เอสโทเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอร์แลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิธัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลต้า เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมาเนีย สโลวาเกีย สโลวิเนีย สเปน สวีเดน และ สหราชอาณาจักร [ธุรกิจ] | Women labor union members | สมาชิกสหภาพแรงงานสตรี [TU Subject Heading] | Asia-Pacific Parliamentarians' Union (APPU) | สหภาพสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก [TU Subject Heading] | Customs unions | สหภาพศุลกากร [TU Subject Heading] | European Union | สหภาพยุโรป [TU Subject Heading] | European Union countries | กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป [TU Subject Heading] | Government employee unions | สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ [TU Subject Heading] | Labor union members | สมาชิกสหภาพแรงงาน [TU Subject Heading] | Labor unions | สหภาพแรงงาน [TU Subject Heading] | Labor unions and education | สหภาพแรงงานกับการศึกษา [TU Subject Heading] | Military assistance, Soviet | ความช่วยเหลือทางทหารของสหภาพโซเวียต [TU Subject Heading] | Monetary unions | สหภาพการเงิน [TU Subject Heading] | Soviet Union | สหภาพโซเวียต [TU Subject Heading] | European Union (EU) | สหภาพยุโรป, Example: กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเดิม (ดู EEC)ที่ได้ตกลงกันตามสนธิสัญญามาสทริสต์ (ดู Maastricht Treaty) ที่จะรวมตัวกันอย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะใช้ระบบการเงินและการเมืองเดียวกัน และได้ตกลงที่จะใช้คำว่า สหภาพยุโรปซึ่งเป็นเป้าหมายของสนธิสัญญามาสทริสต์ ในการเรียกชื่อกลุ่มของตนแทนคำว่า ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป นับตั้งแต่ประเทศสมาชิกได้ลงนามรับรองสนธิสัญญาดังกล่าว เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา สมาชิกของสหภาพยุโรป นอกจากจะมีสมาชิกของประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเดิม 12 ประเทศแล้ว ยังรวมถึงประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ และออสเตรีย ซึ่งได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปอย่างสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2538 [สิ่งแวดล้อม] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | Africa, Caribean and Pacific Countries | กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคแอฟริกา หมู่เกาะในแคริบเบียน และแปซิฟิก ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าจากสหภาพยุโรป [การทูต] | ASEAN-EU Ministerial Meeting | การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] | ASEAN Regional Centre for Biodiversity Conservation | ศูนย์อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียน จัดตั้งขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป มีสำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | ASEAN-EU Senior Officials Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนกับ ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป จัดขึ้นทุก 12-18 เดือน เพื่อหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ [การทูต] | Bi-Polar | มหาอำนาจสองขั้วหรือสองค่าย ในช่วง 40 ปี ของสงครามเย็น ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2490 โลกแบ่งออกเป็นมหาอำนาจสองขั้ว ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต [การทูต] | Common Agricultural Policy | นโยบายร่วมเกษตร เป็นนโยบายด้านการเกษตรของสหภาพยุโรป [การทูต] | Common Foreign and Security Policy | นโยบายร่วมต่างประเทศและความมั่นคง (ของสหภาพยุโรป) " ผู้ที่ได้รับการมอบหมายให้ดูแลในเรื่องนี้ คือ ผู้แทนระดับสูงด้านนโยบายร่วมต่างประเทศและความมั่นคง (High Representative) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า Mr. CFSP " [การทูต] | Commonwealth of Independent States | เครือรัฐเอกราช " กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย " [การทูต] | Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] | Committee of Permanent Representatives | คณะกรรมการในกรอบสหภาพยุโรป ประกอบด้วยผู้แทนถาวรประจำสหภาพยุโรปของประเทศสมาชิก [การทูต] | European Central Bank | ธนาคารกลางยุโรป มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครแฟรงเฟิร์ต ประกอบด้วยผู้ว่าธนาคารกลางของประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป มีหน้าที่ดูแลนโยบายการเงินและการนำเงินสกุลยูโรมาใช้ในระบบยูโร (EURO System) [การทูต] | Council of Economic and Finance Ministers | คณะมนตรียุโรปด้านเศรษฐกิจและการคลัง " เป็นองค์กรในสหภาพยุโรปประกอบด้วยรัฐมนตรีเศรษฐกิจและ การคลังจากประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป " [การทูต] | Economic Integration | การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ " หมายถึง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป โดยการยกเลิกการเรียกเก็บภาษีศุลกากรและมาตรการอื่น ๆ ที่เป็นอุปสรรคทางการค้าให้แก่กันและกัน รวมทั้งอาจใช้นโยบายต่าง ๆ ร่วมกัน จำแนกได้หลายรูปแบบ เช่น เขตการค้าเสรี สหภาพศุลกากร ตลาดร่วม และสหภาพเศรษฐกิจ " [การทูต] | European Parliament | สภายุโรป เป็นองค์กรหนึ่งในสหภาพยุโรป สมาชิกสภายุโรปจะเป็นผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งมาจากกลุ่มประเทศสมาชิก สหภาพยุโรป ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 [การทูต] | European Union | สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต] | Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] | Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Hegemonic Power | มหาอำนาจที่ครอบงำ เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายในปี พ.ศ. 2534 สหรัฐอเมริกาได้กลายเป็น "มหาอำนาจเดียว" หรือ "มหาอำนาจที่ครอบงำ" [การทูต] | Intergovernmental Conference | การประชุมระหว่างรัฐบาลของสหภาพยุโรป " เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีต่างประเทศ เพื่อกำหนดทิศทางและ โครงสร้างของสหภาพฯ ตามสนธิสัญญาหลัก ๆ ที่สหภาพฯ มี " [การทูต] | International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] | International Telecommunica-tion Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | Inter- Parliamentary Union | สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยูที่นครเจนิวา ประเทศวิตเวอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 153 ประเทศ และ 8 กลุ่มสมาชิกสมทบ (กันยายน 2552) [การทูต] | Inter-Parliamentary Union | สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 140 ประเทศ (ตุลาคม 2547) [การทูต] | International Telecommunication Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ มีหน้าที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคม ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาในด้านโทรคมนาคม สนับสนุนการพัฒนาในด้านดังกล่าว เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชาติทั้งปวง [การทูต] | International Union for Conservation of Nature and Natural Resources | สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น The World Conservation Union) [การทูต] | International Union of Pure and Applied Chemistry | สหภาพระหว่างประเทศว่าด้วยเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Nuclear Test Ban | หมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Pacific Islands Forum | PIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต] | Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
| You're like a little trade union, all of you, aren't you? | พวกคุณนี่เหมือนสมาชิกสหภาพเลยสินะ Rebecca (1940) | - That's what unions are for. | อย่างแน่นอน อะไรคือสหภาพนี้ใช้ สำหรับ? โอ้รอสักครู่ฉันบอกโกหก Help! (1965) | He could make your future union problems disappear. | เขาจะทำให้ปัญหาสหภาพแรงงานในอนาคตของคุณหายไป The Godfather (1972) | Now we have unions and gambling, and that's great, but narcotics is the future. | ตอนนี้เรามีสหภาพแรงงานและการเล่นการพนันและที่ดี แต่ยาเสพติดเป็นอนาคต The Godfather (1972) | I'm Jacob Stein, American Federation of Musicians Union, Local 200. | ผม แจยโคบไซทน สหภาพนักดนตรีสหพันธรัฐคนอเมริกา ที่200. The Blues Brothers (1980) | Your union cards. May I see your cards, please? | บัตรสหภาพของคุณ ผมจะขอดูบัตรภาพของคุณ ผมจะดูได้ไหม The Blues Brothers (1980) | Suppose we ain't got no union cards, and we go in and start playing anyway? | สมมุติว่าพวกเราไม่มีบัตรสหภาพและพวกเราจะเล่นนอกจากนั้น The Blues Brothers (1980) | - Were them guys from the union? - What the hell, "union"? | พวกเขามาจากสหภาพใช่ไหม สหภาพคืออะไร The Blues Brothers (1980) | The Soviet ambassador has been expelled along with the entire staff. | เอกอัครราชทูตสหภาพโซเวียต ได้ถูกไล่ออก พร้อมด้วยพนักงานทั้งหมด 2010: The Year We Make Contact (1984) | All American personnel are ordered to leave Soviet territory immediately or they will be placed under arrest. | บุคลากรอเมริกันทั้งหมดได้รับ การสั่งซื้อ ให้ออกไปจากดินแดนของ สหภาพโซเวียตได้ทันที หรือพวกเขาจะถูกวางไว้ภายใต้ การจับกุม 2010: The Year We Make Contact (1984) | we're inside the Soviet union. | - เราอยู่ในสหภาพโซเวียตนะ Spies Like Us (1985) | it'ssoul finger by the bar-kays. | - พวกนั้นโดนสอบสวนแน่ หน่วย ICBM สหภาพโซเวียต Spies Like Us (1985) | "dash 8-8-3... dash 5, dash 3." | - 3" SAC-Com เตือนการโจมตี จากเอเชียกลาง ของสหภาพโซเวียต แก้ไขคำเตือนของ SAC เป็นการเตือนผิดพลาด เป็นเวลา 10 นาที Spies Like Us (1985) | the president must know that this attack was not initiated by the Soviet union. | ประธานาธิบดีต้องรับทราบ ว่าการโจมตีครั้งนี้ สหภาพโซเวียตไม่ได้เป็นฝ่ายเริ่ม Spies Like Us (1985) | In spite of glasnost, my friend's novel cannot yet be published... in the Soviet Union. | ทั้งๆที่มีการ glasnost นวนิยายของเพื่อนของฉันยังไม่สามารถนำมาเผยแพร่ ... ในสหภาพโซเวียต The Russia House (1990) | In a nutshell, the Soviet's strategic capability for waging nuclear war. | สรุปความสามารถในเชิงกลยุทธ์ของสหภาพโซเวียตสำหรับทำสงครามนิวเคลียร์ The Russia House (1990) | Which is about the time your visits to the Soviet Union became pretty regular. | ซึ่งเป็นเกี่ยวกับเวลาการเข้าชมของคุณไปยังสหภาพโซเวียตกลายเป็นปกติสวย The Russia House (1990) | I am operating on behalf of the Soviet Union. | ฉันกำลังปฏิบัติการในนามของสหภาพโซเวียต The Russia House (1990) | Barley buys Soviet books. He's keeping his cover in trim. | ข้าวบาร์เลย์ซื้อหนังสือของสหภาพโซเวียต เขารักษาปกของเขาในการตัดแต่ง The Russia House (1990) | A great loss to the Soviet scientific community. | การสูญเสียที่ดีในชุมชนวิทยาศาสตร์ของสหภาพโซเวียต The Russia House (1990) | The cable just snapped. The elevator plummeted ten flights. | สายมันขาด ร่วงลงมา 10ชั้น ในนั้นมีคนงานนอกสหภาพ The Truman Show (1998) | With deregulation privatization free trade what we're seeing is yet another enclosure and if you like private taking of the commons. | ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า การลดข้อบังคับ การแปรรูป การค้าเสรี (เอเลน เบอร์นาร์ด ผู้อำนวยการบริหาร โครงการสหภาพแรงงาน, ฮาร์วาร์ด) ทั้งหมดนี้คือการล้อมเขตที่ดินในอีกรูปแบบหนึ่ง เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ว่า การยึดสมบัติส่วนรวมมาเป็นของส่วนบุคคล The Corporation (2003) | As a sign of your union, you may kiss the bride. | เป็นสัญลักษณ์ของสหภาพของคุณคุณอาจจูบเจ้าสาว The Birdcage (1996) | You know, he was a rising star in the union for a while. | เขาเป็นดาวรุ่งของสหภาพอยู่พักนึง Four Brothers (2005) | Jerry and him used to hang during the union days. | เจอรี่กับเขาเคยสนิทกันยุคสหภาพเฟื่องฟู Four Brothers (2005) | Me and Jerry go way back from the union days. You know that, Bobby. | ฉันกับเจอรี่รู้จักกันตั้งแต่ยุคสหภาพ นายก็รู้ บ๊อบบี้ Four Brothers (2005) | I was in the union for a long time. | ผมอยู่ในสหภาพมานาน Four Brothers (2005) | The Reds lie... because in a united Spain, there's not a single home without fire or bread. | รักษาโรงสีไว้ สีแดงที่ตั้ง เพราะว่าสหภาพสเปน ไม่มีบ้านไหน ที่ไม่มีไฟหรือขนมปัง Pan's Labyrinth (2006) | ...because in a united Spain, there's not a single home without fire or bread. | เพราะในสหภาพสเปน ไม่มีบ้านไหน ที่ไม่มีไฟหรือขนมปัง Pan's Labyrinth (2006) | This janitors' union thing, that's exactly what we do here. | เรื่องสหภาพภารโรง เราเล่นเรื่องแบบนั้นที่นี่ The Devil Wears Prada (2006) | A man or woman that enters into union with Almighty God in the sanctity of marriage, should not demean theyselves by bending to another's will. | ผู้ชายหรือผู้หญิง\สิ่งนั้นเข้าไปเข้าไปในสหภาพกับพระเจ้าพระผู้เป็นเจ้า ในความเคารพสักการะจากฝูงชนของการแต่งงาน ไม่ควร demean theyselves\โดยการงอเพื่อ อื่นๆจะ. Black Snake Moan (2006) | There were two rivers in central Asia that were used by the former Soviet Union for irrigating cotton fields unwiseIy. | มีแม่น้ำ 2 สายในเอเชียกลาง ที่อดีตสหภาพโซเวียตเคยใช้ เพื่อการชลประทานสำหรับไร่ฝ้ายโดยไม่ยั้งคิด An Inconvenient Truth (2006) | You know, in the Soviet Union, ordering scientists to change their studies to conform with the ideology... I've seen scientists who were persecuted, | คุณรู้ไหม ในสหภาพโซเวียต การสั่งนักวิทยาศาสตร์ ให้เปลี่ยนผลการศึกษาให้สอดคล้องกับลัทธิ... ผมได้เห็นนักวิทยาศาสตร์ An Inconvenient Truth (2006) | Agricultural unions have asked the government to declare the KwaZulu-Natal Midlands and other regions a disaster area. | สหภาพเกษตรกรได้ขอให้รัฐบาล ประกาศว่าเขต ควาซูลู-นาทาล มิดแลนด์ส และเขตอื่นๆว่าเป็นเขตวิบัติภัย Faith Like Potatoes (2006) | Kids, I have very big news. | แล้วผมก็คงมีความสุขมาก ที่จะได้เรียกสหภาพพิทักษ์เสรีภาพ... ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ครับ ขอโทษสำหรับความไม่สะดวกด้วยครับ Harold (2008) | Labor negotiations are part of the process. Thoughts, musings? | กำลังต่อรองกับสหภาพแรงงาน Chuck Versus the Seduction (2008) | Union won't be able to do better. | สหภาพทำดีกว่านี้ไม่ได้แล้ว Easy as Pie (2008) | Señor Presidente, fellow members of the European Union, our friends from Africa, | ท่านประธานาธิบดี เพื่อนๆ สมาชิกสหภาพยุโรป มิตรประเทศอัฟริกา Vantage Point (2008) | Señor Presidente, fellow members of the European Union, | ท่านประธานอาวุโส, เหล่าสมาชิก ของสหภาพยุโรป Vantage Point (2008) | There's nothing I can do until we bust up this union. | ตอนนี้ ฉันทำอะไรไม่ได้ จนกว่าจะตกลงกับสหภาพได้ Madagascar: Escape 2 Africa (2008) | Can't you see these commies have my hands tied? No maternity leave. | ธอไม่เห็นหรอว่า พวกสหภาพกำลังบีบคั้นฉันอยู่ ไม่ ฉันไม่อนุมัติการลาคลอด Madagascar: Escape 2 Africa (2008) | This is textbook racial profiling... and I'd be more than happy to call the ACLU or the government... | นี่คือสมุดที่ระบุเชื้อชาติ... แล้วผมก็คงมีความสุขมาก ที่จะได้เรียกสหภาพพิทักษ์เสรีภาพ... Harold & Kumar Escape from Guantanamo Bay (2008) | He's the union president. | เขาเป็นประธานสหภาพ. Episode #1.5 (2008) | They think the Union President is a sea of money. Always digging money from me. | พวกเขาคิดว่า ประธานสหภาพ เป็นทะเล แห่งเงิน, ชอบมาขุดเงินจากฉันเรื่อยๆ Episode #1.5 (2008) | Hang Man = Harbor Union and stopped the vehicles from coming in. | แฮงแมน = สหภาพท่าเรือ พวกสหภาพท่าเรือ ปิดกั้นทางเข้าออก ของไซต์งานก่อสร้างของเรา และหยุดรถที่กำลังผ่านไปมา. Episode #1.5 (2008) | This is the funding for the construction of the union welfare building. | นี่.. เป็นเงินทุนสำรองสำหรับการก่อสร้าง ตึกสวัสดิภาพของสหภาพแรงงานฯ Episode #1.5 (2008) | But I see the union is still trash in your eyes! | แต่.. ผมมองคุณออกว่า สหภาพฯ ยังคงเป็นขยะในสายตาคุณ! Episode #1.5 (2008) | There was China, the Soviet Union, the peace settlement in Vietnam. | เช่นเรื่องจีน สหภาพโซเวียต การสร้างสันติภาพในเวียดนาม Frost/Nixon (2008) | The longer the Techno Union keeps control of Ryloth, the more difficult it'll be to free them. | ยิ่งสหภาพเทคโนควบคุมไรลอธนานขึ้นเท่าไหร่ เราจะยิ่งปลดปล่อยพวกเขายากขึ้นเท่านั้น Storm Over Ryloth (2009) | What do I make, the union scale? | ผมจะทำไงดี, ฟ้องสหภาพแรงงานดีมั๊ย? I Lied, Too. (2009) |
| สหภาพ | [saphaphāp] (n) EN: union FR: union [ f ] | สหภาพพม่า | [Saphaphāp Phamā] (n, prop) EN: Union of Myanmar | สหภาพแรงงาน | [saphaphāp raēng-ngān] (n, exp) EN: labour union ; trade union ; labor union (Am.) ; union FR: syndicat (du travail) [ m ] | สหภาพโซเวียต | [Saphaphāp Sōwīet] (n, prop) EN: Union of Soviet FR: Union soviétique [ f ] | สหภาพยุโรป | [Saphaphāp Yurōp] (n, prop) EN: European Union (EU) FR: Union européenne (UE) [ f ] |
| CIS | (n) กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States) คือ กลุ่มประเทศที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต |
| Burma | (n) สหภาพพม่า, See also: พุกามประเทศ, พุกาม | checkoff | (n) การเก็บเงินค่าสมาชิกสหภาพแรงงานโดยหักจากเงินเดือน | European | (n) เกี่ยวกัสหภาพยุโรป | federal | (n) สหพันธรัฐ, See also: สหรัฐ, สหพันธ์, สหภาพ | federation | (n) สหพันธรัฐ, See also: สหรัฐ, สหพันธ์, สหภาพ, Syn. alliance, confederacy | labor union | (n) สหภาพแรงงาน, Syn. trade union, union | non-union | (adj) ที่ไม่ใช่สหภาพ, Syn. non-unionised | non-union | (adj) ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพ, Syn. non-unionised | non-unionised | (adj) ที่ไม่ใช่สหภาพ, Syn. non-union | non-unionised | (adj) ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพ, Syn. non-union | non-unionized | (adj) ที่ไม่ใช่สหภาพ, Syn. non-union | non-unionized | (adj) ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพ, Syn. non-union | Russia | (n) ประเทศรัสเซีย, See also: สหภาพโซเวียต, Syn. Russian Federation | scab | (n) คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมหยุดงานประท้วง, See also: คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมสหภาพแรงงาน, Syn. apostate, deserter, knobstick, traitor, turncoat, strikebreaker | trade union | (n) สหภาพแรงงาน, Syn. organized labor, guild | U.S.S.R. | (abbr) สหภาพโซเวียต (คำย่อ Union of Soviet Socialist Republics), See also: ประเทศโซเวียต, โซเวียต | union | (n) สหภาพ, See also: สหพันธ, สมาคม | union | (n) สหภาพแรงงาน, See also: สหพันธ์แรงงาน, Syn. labor union | Union of Burma | (n) สหภาพพม่า, See also: ชื่อที่เป็นทางการของประเทศพม่า | Union of Soviet Socialist Republics | (n) สหภาพโซเวียต (อดีต), See also: สหภาพโซเวียต มีตัวย่อว่า USSR | unionise | (vt) จัดตั้งให้เป็นสหภาพแรงงาน | unionise | (vi) จัดตั้งให้เป็นสหภาพแรงงาน | unionization | (n) การจัดตั้งให้เป็นสหภาพแรงงาน | unionize | (vt) จัดตั้งให้เป็นสหภาพแรงงาน | unionize | (vi) จัดตั้งให้เป็นสหภาพแรงงาน | United Arab republic | (n) สหภาพเดิมสมัยอียิปต์ร่วมกับซีเรีย ก่อตั้งปีค.ศ 1958 | USSR | (n) คำย่อของสหภาพโซเวียต (Union of Soviet Socialist Republics) |
| a. a. u. | abbr. Amateur Athletic Union (สหภาพกีฬาสมัครเล่น) | afl-cio | abbr. American Federation of Labor and congress of Industrial Organization สหภาพแรงงานและองค์การสภาอุตสาหกรรมแห่งอเมริกา | association | (อะโซชีเอ'เชิน) n. สมาคม, บริษัท, การร่วมกัน, ความสัมพันธ์, สันนิบาตพันธมิตร, สหภาพ, การเชื่อมติดกัน, ความคิดเห็นร่วมกัน, กลุ่มของพืชที่อยู่ร่วมกัน, เกมฟุตบอล, การสังสรรค์, Syn. fellowship, organization, link | checkoff | n. การเก็บเงินค่าสมาชิกสหภาพกรรมการหรือแรงงาน โดยหักจากเงินเดือนประจำ | communal | (คะมิว'เนิล) adj. เกี่ยวกับชุมชน, เกี่ยวกับสหภาพ, See also: communality n. | confederacy | (คันเฟด'เดอระซี) n. สหภาพ, สหพันธ์, กลุ่มคนที่กระทำการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย, การร่วมกันคิดอุบาย, Syn. alliance, conspiracy, bloc, syndicate | consortium | (คันซอร์'เชียม) n. กลุ่มสถาบันการเงิน, สมาคมนายธนาคาร, สมาคม, ห้างหุ้นส่วน, สหภาพหรืออื่น ๆ, See also: consortial adj. ดูconsortium -pl. consortia -Conf. consortia | guild | (กิลดฺ) n. สมาคม, สมาคมอาชีพ, องค์การ, องค์การอาชีพ, สหภาพ, ประเภท, กลุ่ม | labor union | n. สหภาพแรงงาน | labour union | n. สหภาพแรงงาน | local | (โล'เคิล) adj. เฉพาะแห่ง, เฉพาะที่, ซึ่งหยุดทุกสถานที่. n. รถไฟหรือรถเมล์ที่หยุดทุกสถานี, สาขาของสมาคม สโมสร สหภาพหรือองค์การ, คนท้องถิ่น, ร้านเหล้าประจำท้องถิ่น., See also: localness n., Syn. limited, regional, Ant. general, worl | trade union | n. สหภาพการค้า, สหภาพแรงงาน., See also: trade-union adj. trade unionism n. trade unionist n. | union | (ยู'เนียน) n. การรวมกัน, ความสามัคคี, การสอดคล้องกัน, การสมรสกัน, การสังวาส, สหภาพ, สหพันธรัฐ, องค์การกรรมกร, เครื่องมือเชื่อมต่อ, ส่งท่อร่วม, การเชื่อมกัน. -Phr. (the Union สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยสหรัฐอเมริกา (สมัยก่อน)), Syn. unification | union of burma | n. สหภาพพม่า, Syn. Myanmar | unioncrat | (ยู'เนียนแครท) n. ผู้ยึดถือลัทธิสหภาพกรรมกร | unionism | (ยู'เนียนนิสซึม) n. หลักการของสหภาพกรรมกร, ลัทธิอยู่ร่วมกัน, ลัทธิรวมกัน | unionist | (ยู'เนียนนิสทฺ) n. นักลัทธิร่วมกัน, สมาชิกสหภาพแรงงาน, ผู้ยึดถือลัทธิสหภาพกรรมกร, ผู้ยึดถือลัทธิร่วมกัน, สมาชิกของสหภาพการค้า, See also: unionistic adj. | unorganized | (อันออร์'กะไนซดฺ) adj. ไม่ได้จัดขึ้น, ไม่ได้จัดเป็นรูป, ไม่ได้รวบรวมกัน, ไม่มีโครงสร้างทางอินทรีย์สาร, ไม่ได้เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานใด., Syn. unorganised | uzbekistan | (อูซเบค'คินแทน, -ทาน) n. ชื่อรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียตอยู่ในตอนใต้ของเอเชียกลาง |
| association | (n) สมาคม, บริษัท, สหภาพ, การพบปะสังสรรค์ | confederation | (n) การร่วมมือกัน, สหภาพ, สมาพันธ์, สันนิบาต, พันธมิตร | consortium | (n) สมาคม, สหภาพ, ห้างหุ้นส่วน, สมาคมนายธนาคาร | gild | (n) สมาคมอาชีพ, สมาคม, สหภาพ, กลุ่ม, องค์การ | guild | (n) สมาคมอาชีพ, สมาคม, สหภาพ, กลุ่ม, องค์การ | TRADE trade union | (n) สหกรณ์การค้า, สหภาพแรงงาน | union | (n) การรวมกัน, ความปรองดองกัน, สมาคม, สหภาพ | unionist | (n) สมาชิกสหภาพ, ผู้ถือสิทธิร่วมกัน |
| | 労働組合 | [ろうどうくみあい, roudoukumiai] (n) สหภาพแรงงาน | 労働組合員 | [ろうどうくみあいいん, roudoukumiaiin] (n) สมาชิกสหภาพแรงงาน | 欧州連合 | [おうしゅうえんごう, oushuuengou] (n) สหภาพยุโรป (EU) |
| 連合 | [おうしゅうえんごう, rengou] สหพันธ์ สหภาพ |
| EU | (n) |die| คำย่อของ Europäische Union สหภาพยุโรป |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |