ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วินิจ, -วินิจ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ diag (ไดแอ็ก) | (vi) มาจากคำว่า diagnose วินิจฉัยโรค, วินิจจัยเพื่อหาสาเหตุของความเจ็บป่วย |
|
| วินิจ | (v) inspect, See also: examine, consider, think over, investigate, Syn. พิจารณา, พินิจ, ไตร่ตรอง, Example: คณะแพทย์วินิจพิจารณาถึงข้อดีและข้อเสียของยาตัวใหม่ | วินิจฉัย | (v) judge, See also: make a final decision, decide, contemplate, consider, Syn. ตัดสิน, Example: แพทย์ยังวินิจฉัยไม่ได้ว่าคนไข้เป็นอะไร, Thai Definition: พิจารณาเพื่อตัดสิน | คำวินิจฉัย | (n) decision, See also: judgement, verdict, ruling, Syn. คำตัดสิน, คำพิพากษา, Example: ในวรรคสองของมาตรานี้บัญญัติให้ถือคำวินิจฉัยของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญเป็นที่ยุติ, Count Unit: ข้อ | วินิจฉัยโรค | (v) diagnose, Example: การแพทย์ในปัจจุบันนี้ใช้คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค, Thai Definition: พิจารณารักษาโรค, วิเคราะห์โรค | การวินิจฉัยโรค | (n) diagnosis, Example: การวินิจฉัยโรคในปัจจุบันได้มีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้าช่วยในการวินิจฉัยโรคมากขึ้น |
| วินิจ | ก. ตรวจตรา, พิจารณา. | วินิจฉัย | ก. ตัดสิน, ชี้ขาด, เช่น เรื่องนี้วินิจฉัยได้ ๒ ทาง | วินิจฉัย | ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ, เช่น คณะกรรมการขอเลื่อนเวลาออกไปอีกเพื่อวินิจฉัยปัญหาให้รอบคอบยิ่งขึ้น. | กระทงแถลง | น. ส่วนสำคัญในสำนวนความที่เป็นประเด็นและที่เกี่ยวกับประเด็นอันพึงเสนอวินิจฉัย. | การไต่สวนมูลฟ้อง | น. กระบวนไต่สวนของศาลเพื่อวินิจฉัยถึงมูลคดีที่จำเลยต้องหา. | การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. | เกณฑ์ | น. หลักที่กำหนดไว้ เช่น อายุเข้าเกณฑ์, หลักวินิจฉัย เช่น ถือความรู้เป็นเกณฑ์. | คดีดำ | น. คดีหมายเลขดำ ซึ่งหมายถึง คดีที่ฟ้องร้องต่อศาลและศาลได้ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาล โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เรียงเป็นลำดับไปจนสิ้นปี เมื่อศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว ศาลจะให้หมายเลขคดีใหม่เรียกว่าคดีหมายเลขแดง ควบคู่ไปกับคดีหมายเลขดำที่ให้ไว้เดิม เช่น คดีหมายเลขดำที่ ๑/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๑ หรือกล่าวโดยสรุป คดีดำ หมายถึง คดีที่ศาลยังมิได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดี ส่วนคดีแดง คือ คดีที่ศาลได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดีแล้ว. | คดีแดง | น. คดีหมายเลขแดง ซึ่งหมายถึง คดีที่ศาลได้มีคำพิพากษาหรือคำวินิจฉัยชี้ขาดคดี หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราวแล้ว โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เป็นลำดับไปจนสิ้นปี เรียกย่อ ๆ ว่า “คดีแดง” เช่น คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๐ หรือคดีแดงที่ ๑/๒๕๕๐. (ดู คดีดำ ประกอบ). | ความเห็น | น. ข้อวินิจฉัยหรือความเชื่อที่แสดงออกตามที่เห็น รู้ หรือ คิด เช่น ฉันมีความเห็นว่านักมวยไทยจะเป็นฝ่ายชนะ ผมมีความเห็นว่าเขาเป็นคนน่าเชื่อถือ. | คำพิพากษา | น. คำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล. | คำสั่งทางปกครอง | น. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ. | เครือดิน | น. ไม้เถาตามที่กล่าวไว้ในไตรภูมิวินิจฉัยว่ามีสัณฐานประดุจดังผักบุ้งและแพงพวย. | ง้วน ๑ | น. เรียกโอชะของบางสิ่ง เช่น ง้วนดิน คือ โอชะของดิน ที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ไตรภูมิโลกวินิจฉัยว่ามีรสหวาน, ง้วนผึ้ง คือ ละอองดอกไม้ที่ผึ้งนำมาสะสมไว้ที่รัง มีสีเหลือง มีรสมัน หอมหวาน. | จ | (จอ) พยัญชนะตัวที่ ๘ เรียกว่า จอ จาน เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น กิจ วินิจฉัย ตำรวจ. | ชี้ขาด | ก. สั่งเด็ดขาด, วินิจฉัยเด็ดขาด. | ฎีกา | การคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด | ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. | ดุลพินิจ | (ดุนละ-, ดุน-) น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลยพินิจ ก็ใช้. | ดุลยพินิจ | น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลพินิจ ก็ใช้. | ตุ๊กตา | ตัวอย่างที่สมมุติขึ้นมาประกอบคำอธิบายหรือวินิจฉัยเป็นต้น เช่น ตั้งตุ๊กตามาดู. | ไต่สวน | ก. สอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อวินิจฉัยว่าถูกต้องหรือไม่. | ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา | น. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. | พยานหลักฐาน | น. ในทางแพ่งหมายถึง สิ่งที่จะนำมาใช้ในการวินิจฉัยข้อเท็จจริง ในทางอาญาหมายถึง สิ่งที่จะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยหรือผู้ต้องหามีความผิดหรือบริสุทธิ์. | พระที่นั่ง | น. อาคารที่ประทับของพระมหากษัตริย์ซึ่งตามปรกติอยู่ในพระราชวัง เช่น พระที่นั่งบรมพิมาน พระที่นั่งอัมพรสถาน, อาคารที่เสด็จออกมหาสมาคม เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งวโรภาษพิมาน, ที่ประทับซ้อนบนพระแท่นราชบัลลังก์ภายใต้นพปฎลเศวตฉัตร เช่น พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์, ยานที่ประทับในการเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนแห่ทางบก เช่น พระที่นั่งพุดตานทอง พระที่นั่งราเชนทรยาน | มติ | ข้อวินิจฉัยญัตติที่เสนอต่อที่ประชุม. | ศาลรัฐธรรมนูญ | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ. | ศาสนจักร | (สาสะนะจัก, สาดสะนะจัก) น. อำนาจปกครองทางศาสนา เช่น ไตรภูมิโลกวินิจฉัยเป็นวรรณกรรมฝ่ายศาสนจักร, ถ้าเป็นฝ่ายพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธจักร, ถ้าเป็นฝ่ายคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสตจักร, คู่กับ อาณาจักร ซึ่งหมายความว่า อำนาจปกครองทางบ้านเมือง. | สืบเสาะและพินิจ | น. การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนำมาวิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์ จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น. | หลักเกณฑ์ | น. หลักที่กำหนดไว้เพื่อใช้วินิจฉัยและปฏิบัติตาม. | อนิยต | (อะนิยด) น. ชื่ออาบัติที่ไม่แน่นอนว่าจะเป็นอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ ซึ่งพระวินัยธรจะต้องวินิจฉัย. | อุทธรณ์ | ยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งหรือคำวินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่ |
| pathological diagnosis | การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | puncture, exploratory | การเจาะวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pharmacodiagnosis | การวินิจฉัยโรคด้วยยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiognosis | การวินิจฉัยโรคจากโฉมหน้าและสีหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physical diagnosis | กายวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | laboratory diagnosis | การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | radiodiagnosis | รังสีวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | radiodiagnostics | รังสีวินิจฉัยศิลป์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | radiological diagnosis | การวินิจฉัยทางรังสีวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | roentgen diagnosis | การวินิจฉัยด้วยรังสีเรินต์เกน [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, X-ray ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | ratio decidendi (L.) | เหตุผลในการวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ruling | คำวินิจฉัยชี้ขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | sound judicial discretion | ดุลยพินิจวินิจฉัยของศาลที่ถูกต้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | stigma (เอก.); stigmata (พหู.) | ๑. จุดเด่นช่วยวินิจฉัย๒. แต้ม, ดวง๓. ยอดเกสรตัวเมีย๔. จุดรับแสง [ มีความหมายเหมือนกับ eyespot ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stigmata (พหู.); stigma (เอก.) | ๑. จุดเด่นช่วยวินิจฉัย๒. แต้ม, ดวง๓. ยอดเกสรตัวเมีย๔. จุดรับแสง [ มีความหมายเหมือนกับ eyespot ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | serum diagnosis; serodiagnosis | การวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | syllabus | บทย่อคำวินิจฉัยของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | serodiagnosis; diagnosis, serum | การวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | adjudication | คำวินิจฉัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | administrative adjudication | การวินิจฉัยสั่งการในทางปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | abiding conviction | คำวินิจฉัยชี้ขาดว่ากระทำความผิดอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | award | คำวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arthroscopy, diagnostic | การส่องกล้องในข้อเพื่อวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitrament | คำวินิจฉัยชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judgment | ๑. คำพิพากษา, คำตัดสิน, คำวินิจฉัย๒. พินิศจัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judge | ๑. วินิจฉัย๒. ผู้พิพากษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judicial decision | คำวินิจฉัยของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | biological diagnosis | ชีวภาพวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | concentration | การรวมอำนาจวินิจฉัยสั่งการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | collusive action | คดีที่สมมุติข้อเท็จจริง (เพื่อให้ศาลวินิจฉัยข้อกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | clinical diagnosis | การวินิจฉัยทางคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | compiler diagnostics | ข้อวินิจฉัยโดยตัวแปลโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | cytodiagnosis | การวินิจฉัยโรคจากเซลล์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chose jugée (Fr.) | คดีที่ตัดสินเสร็จเด็ดขาดแล้ว, ปัญหาที่วินิจฉัยเด็ดขาดแล้ว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | X-ray diagnosis | การวินิจฉัยด้วยรังสีเอกซ์ [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, roentgen ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | differential diagnosis | การวินิจฉัยแยกโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | decision | คำวินิจฉัย, การวินิจฉัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | decision | คำวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | decision, judicial | คำวินิจฉัยของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | decision-making | การวินิจฉัยสั่งการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | distinguishing a case | การชี้ข้อแตกต่างในการวินิจฉัยคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | diagnostic cast | ชิ้นหล่อวินิจฉัย [ มีความหมายเหมือนกับ study cast และ study model ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | diagnostic check | การตรวจสอบวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | diagnostic program | โปรแกรมวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | diagnostic routine | รูทีนวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | diagnostic test | การทดสอบวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | diagnostician | ผู้เชี่ยวชาญการวินิจฉัยโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diagnostics | วิชาการวินิจฉัยโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diagnose | วินิจฉัย(โรค) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diagnosis | การวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
| Diagnosis | การวินิจฉัยโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnostic imaging | การดูภาพทางรังสีวินิจฉัย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnostic reagents and test kits | ชุดตรวจวินิจฉัยโรคสำเร็จรูป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | พระบรมราชวินิจฉัย | คำตัดสิน [ศัพท์พระราชพิธี] | Cytodiagnosis | การวินิจฉัยจากเซลล์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrodiagnosis | การวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Preimplantation genetic diagnosis | การวินิจฉัยทางพันธุกรรมก่อนการฝังตัว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnosis, Laboratory | การวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnostic exposure | การรับรังสีจากการวินิจฉัยโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการวินิจฉัยโรค หรือตรวจหาความบกพร่องของอวัยวะ [นิวเคลียร์] | Single Photon Emission Computed Tomography | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก, Example: [นิวเคลียร์] | Single Photon ECT | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Diagnostic program | โปรแกรมวินิจฉัย, Example: โปรแกรมที่ทดสอบคอมพิวเตอร์และช่วยให้เราค้นหาปัญหาที่ทำให้ระบบทำงานไม่ได้ตามที่ควร [คอมพิวเตอร์] | Positron Emission Tomography | เพ็ต, เทคนิคการถ่ายภาพการทำงานของอวัยวะด้วยวิธีกราดวิเคราะห์โพซิตรอนที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้นมากซึ่งผลิตจากไซโคลทรอนเข้าไปในกระแสเลือด เช่น การตรวจการทำงานของสมอง จะใช้กลูโคสซึ่งฝังตรึงด้วยสารกัมมันตรังสี ฟลูออร์-18 เพื่อแสดงการทำงานของสมองส่วนต่างๆ เป็นภาพสามมิติที่มีสีสันแตกต่างกัน ข้อดีของเทคนิคนี้ คือ สามารถแสดงผลได้รวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 นาที นอกจากนี้ยังสามารถใช้วินิจฉัยด้านอื่นๆ ได้ด้วย เช่น โรคหัวใจร่วมหลอดเลือด เนื้องอก และด้านลิ่มเลือดหรือโรคลมต่างๆ [นิวเคลียร์] | Medical exposure | การได้รับรังสีจากการแพทย์, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวินิจฉัยโรคหรือการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] | AIDS serodiagnosis | การวินิจฉัยกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมโดยตรวจซีรั่ม [TU Subject Heading] | Cytodiagnosis | เซลล์วินิจฉัย [TU Subject Heading] | Cytological techniques | เทคนิคการวินิจฉัยทางเซลล์ [TU Subject Heading] | Diagnosis | การวินิจฉัย [TU Subject Heading] | Diagnosis, Differential | การวินิจฉัยแยกโรค [TU Subject Heading] | Diagnosis, Surgical | ศัลยศาสตร์วินิจฉัย [TU Subject Heading] | Diagnostic imaging | การบันทึกภาพเพื่อวินิจฉัยโรค [TU Subject Heading] | Diagnostic techniques and procedures | การวินิจฉัยโรค [TU Subject Heading] | Diagnostic techniques, Neurological | การวินิจฉัยโรคประสาท [TU Subject Heading] | Diagnostic use | การใช้วินิจฉัย [TU Subject Heading] | Electrodiagnosis | การวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า [TU Subject Heading] | Histological Techniques | เทคนิคการวินิจฉัยทางจุลกายวิภาค [TU Subject Heading] | Laboratory techniques and procedures | การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [TU Subject Heading] | Nursing diagnosis | การวินิจฉัยทางการพยาบาล [TU Subject Heading] | Prenatal diagnosis | การวินิจฉัยก่อนคลอด [TU Subject Heading] | Serodiagnosis | การวินิจฉัยโรคทางเซรุ่ม [TU Subject Heading] | Ultrasonography ; Ultrasonic imaging | การวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading] | Ultrasonography, Prenatal | การวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading] | Horizon | ชั้นดิน, ชั้นดินวินิจฉัย, Example: 1) ชั้นดิน คือ ชั้นดินที่แบ่งเป็นชั้น ๆ ขนาน หรือเกือบขนานไปกับผิวหน้าดิน แต่ละชั้นมีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากสมบัติทางกายภาพ ชีวภาพ และลักษณะอื่น ๆ เช่น สี โครงสร้าง เนื้อดิน การยึดตัวและความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ซึ่งสามารถสังเกตได้ในสนาม การเรีย [สิ่งแวดล้อม] | Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] | Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Sanctions | การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | United Nations Security Council | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] | Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] | radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เป็นเทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการตรวจ ด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่ คำว่า Radionuclide organ imaging nuclear scanning [พลังงาน] | radiopharmaceutics , radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ [พลังงาน] | Single Photon Emission Computed Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี [พลังงาน] |
| การตรวจวินิจฉัย | [kān trūat winitchai] (n) EN: diagnosis FR: diagnostic [ m ] | การวินิจฉัย | [kān winitchai] (n) EN: diagnosis | การวินิจฉัยปัญหา | [kān winitchai panhā] (n, exp) EN: problem diagnosis | การวินิจฉัยโรค | [kān winitchai rōk] (n, exp) EN: diagnosis | คำวินิจฉัย | [khamwinitchai] (n) EN: decision ; judgement ; verdict ; ruling ; finding ; adjudication | คำวินิจฉัยของผู้เชี่ยวชาญ | [khamwinitchai khøng phūchīochān] (n, exp) EN: expert's report ; expert opinion ; professional opinion FR: rapport d'expert [ m ] | ข้อวินิจฉัย | [khøwinitchai] (n) EN: decision ; judgment | ผลการวินิจฉัยข้อเท็จจริง | [phon kān winitchai khøthetjing] (n, exp) EN: finding | วินิจฉัย | [winitchai] (v) EN: judge ; make a final decision ; decide ; come to a conclusion ; adjudicate ; diagnose ; contemplate ; consider FR: juger ; décider | วินิจฉัยโรค | [winitchai rōk] (v, exp) EN: diagnose FR: diagnostiquer (une maladie) |
| theses | (n) |พหูพจน์ของ thesis| วิทยานิพนธ์, ข้อสรุป, ข้อวินิจฉัย เช่น Finding model theses or dissertations can help you gauge how much (or how little) you have to do. A good model can also serve as an inspiration for you. |
| adjudicate | (vt) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน | adjudicate | (vi) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน, Syn. judge, adjudge | debate | (n) การพิจารณา, See also: การใช้ดุลยพินิจ, การไตร่ตรอง, การใคร่ครวญ, การวินิจฉัย, Syn. cogitation, consideration, deliberation, meditation, reflection | diagnose | (vt) วินิจฉัยโรค | diagnosis | (n) การวินิจฉัยโรค, See also: การหาสาเหตุ, Syn. prognosis, pathology, analysis, determination | diagnostic | (adj) ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยโรค, See also: ซึ่งใช้ในการหาสาเหตุ, Syn. demonstrative, distinquishing | discriminate | (vi) แยกแยะ, See also: วินิจฉัย, เห็นความแตกต่าง, Syn. recognize, identify | endoscope | (n) เครื่องมือแพทย์ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวใช้สอดเข้าไปในร่างกายเพื่อวินิจฉัยโรคหรือผ่าตัด | estimation | (n) การประเมิน, See also: การวินิจฉัย, การอนุมาน, Syn. assessment, evaluation, judgement | inference | (n) การอนุมาน, See also: ข้อวินิจฉัย, ข้อสรุป, Syn. implication, sequence, reasoning, Ant. fact | know best | (phrv) คิดดีที่สุด, See also: วินิจฉัยได้ดีที่สุด, ตัดสินใจได้ดีที่สุด, รู้ดีที่สุด | misdiagnose | (vt) วินิจฉัยผิดพลาด | misdiagnosis | (n) การวินิจฉัยผิด | opinion | (n) ข้อวินิจฉัย, See also: คำวินิจฉัย | predicable | (adj) ยืนยันได้ว่า, See also: สรุปได้ว่า, วินิจฉัยได้ว่า | predicable | (n) สิ่งที่ยืนยันได้, See also: สิ่งที่วินิจฉัยไว้ | prejudge | (vt) ตัดสินก่อน, See also: วินิจฉัยก่อนล่วงหน้า, Syn. presuppose, forejudge, presume | ruling | (n) คำวินิจฉัย, See also: คำตัดสิน, การชี้ขาด, Syn. decision, judgment | separate | (vt) บอกความแตกต่าง, See also: แยกแยะ, วินิจฉัย, Syn. distribute, classify | sift | (vt) วินิจฉัย, See also: ตรวจอย่างละเอียด, กลั่นกรอง, คัดเลือก, Syn. investigate, scrutinize, Ant. disregard | thesis | (n) ข้อวินิจฉัย, See also: ข้อสมมุติ, ข้อสรุป, Syn. contention, proposal | well-judged | (adj) ซึ่งมีวินิจฉัยดี, See also: ซึ่งตัดสินใจได้ถูกต้อง | workup | (n) การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์อย่างครบถ้วน |
| assert | (อะเซิร์ทฺ') vt. ยืนยัน, ถือ (สิทธิ์) , อ้าง, แสดงสิทธิ์, วินิจฉัย, พิทักษ์, รักษา. -asserter, assertor n. -assertory adj. (declare) | assertion | (อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement | atomic cocktail | ปริมาณสารกัมมันตภาพรังสีที่ใช้ในการรักษาหรือวินิจฉัยมะเร็ง | diagnose | (ได'อักโนส) v. วินิจฉัย, ตรวจโรค, วิเคราะห์., See also: diagnosable adj. ดูdiagnose, Syn. analyze | diagnosis | (ไดแอกโน'ซิส) n. การวินิจฉัย, การตรวจโรค, | diagnostic | (ไดแอกนอส'ทิค) adj. เกี่ยวกับการวินิจฉัย | diagnostic program | ชุดคำสั่งวินิจฉัยหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนประกอบใด ๆ ของเครื่อง หรือวินิจฉัยข้อผิดพลาดของการลงรหัส | discriminate | (ดิสคริม'มะเนท) vi. แยกแยะ, แบ่งแยก, เลือกที่รักมักที่ชัง, วินิจฉัย., Syn. distinguish | discrimination | (ดิสคริมมะเน'เชิน) n. การแยกแยะ, การแบ่งแยก, การเลือกที่รักมักที่ชัง, การวินิจฉัย., Syn. perception, bias, Ant. equity, impartiality | distinguish | (ดิสทิง'กวิช) vt. ทำให้แตกต่าง, จำแนก, รู้ถึงข้อแตกต่าง, วินิจฉัย, ทำให้เด่น, กระทำตัวดีเป็นพิเศษ vi. แสดงความแตกต่าง, จำแนก, See also: distinguishable adj. ดูdistinguish distinguisher n. ดูdistinguish distinguishingly n., adv. ดูdistinguish dis | estimate | (เอส'ทิเมท) v., n. (การ) ประมาณ, ประเมิน, กะ, ตีราคา, คำนวณ, คิด, วินิจฉัย, ความคิดเห็น, ค่าที่ประเมิน, ราคาที่ประเมิน., See also: estimator n. ดูestimate, Syn. evaluate | estimation | (เอสทิเม'เชิน) n. การประมาณ, การประเมิน, การวินิจฉัย, ความคิดเห็น, ความนับถือ, ความเคารพ, Syn. estimate | exploration | (เอคซฺพละเร'เชิน) n. การสำรวจค้น, การสำรวจ, การตรวจ, การวินิจฉัย, สอบสวน | explore | (เอคซฺพลอร์') (explored, exploring, explores } v. สำรวจตรวจค้น, สำรวจ, ตรวจ, วินิจฉัย | explorer | (เอคซฺพลอ'เรอะ) n. ผู้สำรวจ, นักสำรวจ, ผู้สำรวจตรวจค้น, ผู้วินิจฉัย, ผู้สอบสวน, เครื่องตรวจ | finding | (ไฟ'ดิง) n. การค้นหา, การตรวจสอบ, การค้นพบ, สิ่งที่ค้นพบ, คำพิพากษา, คำวินิจฉัย, See also: findings n., pl. เครื่องมือช่าง, เครื่องมือเครื่องใช้เล็ก ๆ น้อย, Syn. result, answer, verdict | ill-judged | (อิล'จัดจฺดฺ') adj. ไม่รอบคอบ, ไม่ฉลาด, ซึ่งวินิจฉัยผิดพลาด, Syn. injudicious | indeterminable | (อินดิเทอ' มินนะเบิล) adj. หาค่าไม่ได้, กำหนดไม่ได้, วินิจฉัยไม่ได้, ตกลงใจไม่ได้, See also: indeterminableness n. indeterminably adv. | inference | (อิน'เฟเรินซฺ) n. การอนุมาน, การสรุป, สิ่งที่ส่อให้เห็น, ข้อสรุป, ข้อวินิจฉัย, Syn. conclusion, deduction | inscrutable | (อินสครู'ทะเบิล) adj. ไม่สามารถจะวินิจฉัยได้, ไม่สามารถหยั่งรู้ได้, ยากที่จะเข้าใจได้, ลึกลับ, ลับลมคมใน., See also: inscrutability, inscrutableness n. inscrutably adv, Syn. mysterious, hidden | judge | (จัดจฺ) { judged, judging, judges } n. ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสิน v. พิพากษา, ตัด, สิน, ชี้ขาด, วินิจฉัย, เดา, ประมาณ, ปกครอง., See also: judgeable adj. ดูjudge judger n. ดูjudge judgeship n. ดูjudge | judgement | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | judgment | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | know | (โน) { knew, known, knowing, knows } vt. รู้, รู้ดี, รู้จัก, รู้ว่า, ทราบ, เข้าใจ, จำได้, ตระหนักดี, วินิจฉัย, ออก, มองออก, ชำนาญ, สังวาส. vi. รู้, รู้จัก, รู้ดี. -Id. (know the ropes เข้าใจ, คุ้นเคยกับ) n. -Phr. (in theknow รู้เรื่องภายใน), Syn. un | miscalculate | (มิสแคล'คิวเลท) vt., vi. คำนวณผิด, วินิจฉัยผิด., See also: miscalculation n. misculculator n., Syn. err, mistake | miscast | (มิสคาสทฺ') vt. วินิจฉัยผิด, คาดการณ์ไม่ดี | place | (เพลส) n. สถานที่, บริเวณ, จุดหมาย, ที่, ที่พัก, เขต, ฐานะ, ตำแหน่ง, สภาพ, สถานการณ์, เทศะ, หน้าที่, การงาน, ที่ตั้ง, โอกาสที่เหมาะ. -Phr. (give place to ให้ความสำคัญ, ถูกแทนที่โดย) -Phr. (go places ประสบความสำเร็จ) -Phr. (take place เกิดขึ้น) vt. จัด, วาง, กะ, คาดคะเน, บรรจุ, ใส่, เอาไว้, ฝาก, มอบ, แต่งตั้ง, วินิจฉัย, ปรับเสียง, วางลูก, ส่งกระสุน vi. อยู่ในอันดับ | predicable | (เพรด'ดะคะเบิล) adj. ยืนยันได้ว่า, สรุปได้ว่า, วินิจฉัยได้ว่า. n. สิ่งที่ยืนยันได้, สิ่งที่วินิจฉัย, See also: predicability n. | predicate | (เพรด'คะเคท) vt. ยืนยัน, วินิจฉัยสรุป, กล่าว. vi. ยืนยัน. adj. ซึ่งยืนยัน, ซึ่งสรุป., See also: predication n. predicative adj. | prejudge | (พรีจัดจฺ') vt. ตัดสินก่อน, วินิจฉัยก่อนล่วงหน้า., See also: prejudger n. prejudgment n. prejudgement n. | preparation | (เพรพพะเร'เชิน) n. การเตรียม, การเตรียมการ, วิธีการเตรียมการ, สิ่งที่เตรียม, ตัวอย่างสำหรับตรวจ วินิจฉัยหรืออื่น ๆ , (พระคัมภีร์ไบเบิล) วันก่อนวันSabbath, the Preparation บทสวดมนต์น้ำในพิธีศาสนาหรือ Mass (ดู) | profile | (โพร'ไฟล์) n. รูปภายนอก, รูปโครงร่าง, รูปเส้นรอบนอก, รูปหน้าเสี้ยว, รูปด้านข้าง, โครงร่าง, ภาพเงา, การวินิจฉัยขบวนการ, ประวัติบุคคลโดยย่อ vt. วาดรูปดังกล่าว, บรร-ยายประวัติบุคคลโดยย่อ, วาดโครงร่าง, วาดภาพเงา., See also: profilist n. คำที่มีความหมายเหมือน | pronounce | (พระเนาซฺ') vt. ออกเสียง, อ่าน, แถลง, ประกาศ, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสิน (คดี) , ออกเสียง, แถลง, ประกาศ, See also: pronounceable adj. pronouncer n., Syn. enunciate | proposition | (พรอพพะซิซ'เชิน) n. การสอน, ข้อเสนอ, แผน, โครงการ, หัวข้อ, ข้อวินิจฉัย, ญัตติ, เรื่องราว, ปัญหา, จุดประสงค์, ข้อเสนอเพื่อร่วมประเวณีที่ไม่ถูกกฎหมาย. vt. เสนอ, เสนอข้อเรียกร้อง, See also: propositional adj. | research | (รีเซิร์ชฺ', รี'เซิร์ชฺ) n. การวิจัย, การค้นคว้า, การวินิจฉัย, การสืบเสาะ, การสำรวจ vi., vt. วิจัย, ค้นคว้า, See also: researchable adj. researcher n. researchist n., Syn. scrutiny, study, inquire, investigation | ruling | (รู'ลิง) n. การวินิจฉัย, การชี้ขาด, การลากเส้นด้วยไม้บรรทัด adj. ปกครอง, ครอบงำ, ควบคุม, แพร่หลาย, มีอยู่ทั่วไป, Syn. decision, governing | separate | (เซพ'พะเรท) vt., vi., adj. แยกออก, แยก, แยกกัน, แบ่งสรร, แยกแยะ, วินิจฉัย, สกัด, กระจายออก, ไม่ต่อเนื่อง, เด่นชัด, ชัดเจน, กระจาย, โดดเดี่ยว, อิสระ, เฉพาะบุคคล, เอกเทศ, เดียวดาย, (วิญญาณ) หลุดออกจากกาย n. สิ่งที่แยกออก, ลูกหลาน., See also: separateness n. | size | (ไซซ) n.ขนาด vt. แบ่งแยกตามขนาด, ประเมินตามขนาด size up ประเมิน ประมาณ วินิจฉัยได้มาตรฐาน ได้ขนาด, Syn. magnitude, immensity, rank | thesis | (ธี'ซิส) n. วิทยานิพนธ์, ข้อวินิจฉัย, ข้อสมมุติ, ข้อสรุป, บทความวิจัย, บทความ pl. theses | well-judged | (เวล'จัดจฺทฺ) adj. วินิจฉัยได้ดี, ตัดสินใจได้ถูกต้อง, เหมาะสม |
| diagnose | (vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค | diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค | discern | (vt) สังเกตเห็น, มองเห็น, มองออก, รู้, วินิจฉัยออก | discernible | (adj) ซึ่งมองออก, ซึ่งมองเห็นได้, ซึ่งสังเกตเห็น, ซึ่งวินิจฉัยออก | estimation | (n) การประมาณ, การประเมิน, การตีราคา, ความคิดเห็น, การวินิจฉัย | exploration | (n) การสำรวจ, การตรวจค้น, การสอบสวน, การวินิจฉัย | explore | (vt) สำรวจ, ตรวจค้น, ตรวจ, วินิจฉัย, วิเคราะห์ | identification | (n) การชันสูตร, การวินิจฉัย, การชี้ตัว, การแยกแยะ | indefinable | (adj) ไม่แน่นอน, ไม่มีกำหนด, คลุมเครือ, วินิจฉัยไม่ได้ | infer | (vt) ลงความเห็น, วินิจฉัย, สรุป, อนุมาน, แสดง | inference | (n) การลงความเห็น, การวินิจฉัย, การสรุป, การอนุมาน, การแสดง | miscalculation | (n) การคำนวณผิด, การคาดผิด, การกะผิด, การวินิจฉัยผิด | misconstrue | (vt) เข้าใจผิด, ตีความผิด, แปลความผิด, วินิจฉัยผิด | misjudge | (vt) พิจารณาผิด, ตัดสินใจผิด, วินิจฉัยผิด | predicate | (vt) กล่าว, ยืนยันว่าเป็นจริง, วินิจฉัย, สรุป | prejudge | (vt) ตัดสินใจล่วงหน้า, วินิจฉัยล่วงหน้า | pronounce | (vt) ประกาศ, แถลง, อ่าน, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสินคดี | pronouncement | (n) การประกาศ, การกล่าว, คำวินิจฉัย, คำแถลง, ความคิดเห็น | proposition | (n) ข้อเสนอ, ทฤษฎีบท, โจทย์, เรื่อง, ปัญหา, ญัตติ, ข้อวินิจฉัย | research | (n) การวิจัย, การค้นคว้า, การสำรวจ, การวินิจฉัย | thesis | (n) วิทยานิพนธ์, ข้อสมมุติ, เรื่องแต่ง, ข้อวินิจฉัย, บทความ |
| Hepatobiliary scintigraphy (HIDA) | เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี | self-diagnostic | (n, adj) อัตตาวินิจฉัย |
| 診断 | [しんだん, shindan] ตรวจโรค, วินิจฉัยโรค, Syn. 診察 |
| 準備 | [じゅんび, junbi] (n) (เพรพพะเร'เชิน) n. การเตรียม, การเตรียมการ, วิธีการเตรียมการ, สิ่งที่เตรียม, ตัวอย่างสำหรับตรวจ วินิจฉัยหรืออื่น ๆ , (พระคัมภีร์ไบเบิล) วันก่อนวันSabbath, the Preparation บทสวดมนต์น้ำในพิธีศาสนาหรือ Mass (ดู) |
| 診る | [みる, miru] TH: วินิจฉัย(โรค) EN: to examine |
| krankschreiben | (vi) |schrieb krank, hat krankgeschrieben| (แพทย์) วินิจฉัยว่าป่วย (ทำให้สามารถลางานได้) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |