ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: มิตร, -มิตร- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ xoxo | (slang) คำลงท้ายจดหมายหรือข้อความ ที่แสดงถึงความรัก, ความจริงใจ, หรือ มิตรภาพ โดยสัญญลักษณ์ x และ o หมายถึงการจูบและกอด, See also: Hugs and kisses |
|
| มิตรปฏิรูปก์ | (n) เพื่อนไม่แท้, เพื่อนปลอม, คนที่แสร้งเป็นมิตร |
| มิตร | (n) friend, See also: ally, companion, associate, buddy, fellow, Syn. เกลอ, สหาย, มิตรสหาย, เพื่อน, เพื่อนเกลอ, Ant. ศัตรู, Example: บางคนเราจะมีความรู้สึกที่ดีต่อเขา และมีแนวโน้มที่จะผูกมิตรกัน, Count Unit: คน, Thai Definition: เพื่อนรักใคร่คุ้นเคย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ฉันมิตร | (adv) as friends, See also: like friends, like one's friend, Example: สัมพันธภาพระหว่างสยามและญี่ปุ่นดำเนินไปอย่างฉันมิตร เรามีการค้าขายกันอย่างราบรื่น, Thai Definition: มีความเป็นมิตร | มิตรจิต | (n) friendliness, See also: geniality, Syn. ความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อ, ความรักใคร่, ความประนีประนอม, Example: เธอไม่มีมิตรจิตกับเขาเสียเลย | มิตรจิต | (n) friendliness, See also: geniality, Syn. ความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อ, ความรักใคร่, ความประนีประนอม, Example: เธอไม่มีมิตรจิตกับเขาเสียเลย | มิตรภาพ | (n) friendship, See also: friendliness, cordiality, companionship, Example: การที่มีความคิดเห็นคล้ายคลึงกันจะเป็นพื้นฐานแห่งมิตรภาพ, Thai Definition: ความเป็นเพื่อน, Notes: (สันสกฤต) | มิตรแท้ | (n) true friend, See also: good friend, Syn. เพื่อนแท้, เพื่อนยาก, Example: มิตรแท้ย่อมเป็นที่พึ่งพาอาศัยได้ในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ, Count Unit: คน | ญาติมิตร | (n) kindred, See also: kin, kinfolk, relatives and friends, Example: แม่เตรียมข้าวปลาอาหารไว้เลี้ยงดูญาติมิตร ที่จะมาเยี่ยมเยียนในวันสงกรานต์, Count Unit: คน, Thai Definition: เพื่อนฝูงและญาติพี่น้อง | พันธมิตร | (n) alliance, See also: ally, association, partnership, coalition, Syn. ผู้ส่งเสริม, ผู้ช่วยเหลือ, แนวร่วม, Ant. ศัตรู, Example: แบงก์ขนาดกลางและเล็กโดนกดดันให้ดิ้นรนแสวงหาพันธมิตรจากต่างชาติมาร่วมลงทุน | พันธมิตร | (n) alliance, See also: ally, association, partnership, coalition, Ant. ศัตรู, Example: สหรัฐไม่ค่อยให้ความสำคัญประเทศไทยสักเท่าไร แม้จะเป็นพันธมิตรร่วมรบในสงครามเวียดนาม, Thai Definition: ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐที่จะช่วยเหลือกันตามสนธิสัญญาที่ทำไว้เพื่อร่วมรบหรือเพื่อการป้องกันร่วมกัน | มิตรสหาย | (n) friends, See also: company, Syn. มิตร, สหาย, เพื่อน, เพื่อนพ้อง, เพื่อนฝูง, Example: บางครั้งนักการเมืองก็พร้อมจะสละมิตรสหายได้เพื่อแลกกับอำนาจและผลประโยชน์, Count Unit: คน, Thai Definition: เพื่อนผู้ร่วมทำกิจกรรมต่างๆ ที่ชอบพอรักใครหรือรู้ใจกัน | มิ่งมิตร | (n) beloved woman, See also: lover, sweetheart, Syn. เมียรัก, Example: ผมเลือกไม่ผิดเลยที่ได้เขามาเป็นมิ่งมิตร, Count Unit: คน | มิ่งมิตร | (n) valued friend, See also: bosom friend, close friend, Syn. เพื่อนรัก, เพื่อนสนิท, Example: ไม่มีใครเป็นมิ่งมิตรที่ดีได้เท่าเธอ, Count Unit: คน | มิ่งมิตร | (n) beloved woman, See also: lover, sweetheart, Syn. เมียรัก, Example: ผมเลือกไม่ผิดเลยที่ได้เขามาเป็นมิ่งมิตร, Count Unit: คน | มิ่งมิตร | (n) valued friend, See also: bosom friend, close friend, Syn. เพื่อนรัก, เพื่อนสนิท, Example: ไม่มีใครเป็นมิ่งมิตรที่ดีได้เท่าเธอ, Count Unit: คน | เป็นมิตร | (v) be friendly, See also: be on friendly terms, be friends, Example: หากครูเป็นมิตรกับศิษย์ได้ก็จะทำให้บรรยากาศในการเรียนดีมาก, Thai Definition: เป็นเพื่อนรักใคร่คุ้นเคย | ปัจจามิตร | (n) foe, See also: enemy, adversary, Syn. ศัตรู, ข้าศึก, ปัจนึก, Ant. มิตร, เพื่อน, Example: ทัศนะของคนไทยต่อพม่าในฐานะปัจจามิตรมีพัฒนาการอย่างสืบเนื่องจนฝั่งรากลึกในสังคมไทย | สร้างมิตร | (v) make friends, See also: socialize, Syn. ผูกมิตร, สร้างสัมพันธ์, ผูกสัมพันธ์, Ant. สร้างศัตรู, Example: พรรคของเราสร้างมิตรทางการเมืองมาตลอด | กัลยาณมิตร | (n) true friend, See also: good friend, Syn. มิตรแท้, เพื่อนแท้, Example: โดยทั่วไปบุคคลย่อมต้องการกัลยาณมิตรไว้เป็นที่พึ่งและเป็นกำลังใจที่ดี, Count Unit: คน | สัมพันธมิตร | (n) ally, Syn. แนวร่วม, พันธมิตร | สัมพันธมิตร | (n) ally, See also: alliance, Example: ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นสัมพันธมิตรที่ดีต่อกัน, Thai Definition: ประเทศที่ตกลงร่วมมือและช่วยเหลือกันและกัน | ความเป็นมิตร | (n) friendship, See also: companionship, fellowship, Syn. มิตรภาพ, ความเป็นเพื่อน, Ant. ความเป็นศัตรู, ความเป็นอริ, Example: ชายหนุ่มเดินเข้ามาด้วยทีท่าปราศจากความเป็นมิตร | ฝ่ายพันธมิตร | (n) Allied, See also: alliance, Aliies, Syn. กลุ่มพันธมิตร, ฝ่ายสัมพันธมิตร, Ant. ฝ่ายอักษะ, Example: เพราะกองทัพญี่ปุ่นแพ้สงคราม จึงต้องเสียค่าปรับปฏิกรณ์สงครามให้แก่ฝ่ายพันธมิตร | มิตรจิตมิตรใจ | (n) friendly feelings, See also: cordiality, friendliness, sympathy, Syn. น้ำใจ, Thai Definition: ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน, Notes: (สำนวน) | ไร้ญาติขาดมิตร | (v) have no kith and kin, See also: find oneself in a forlorn position, Example: ป้าช่วยนั้นดูเหมือนจะไร้ญาติขาดมิตร ไม่มีใครไว้พึ่งพายามเจ็บป่วย, Thai Definition: ไม่มีญาติพี่น้อง หรือไม่มีเพื่อนฝูงที่สามารถให้ความช่วยเหลือและพึ่งพาได้ | ฝ่ายสัมพันธมิตร | (n) the Allies, See also: Allied side, Ant. ฝ่ายอักษะ, Example: ขบวนการเสรีไทยหันไปให้การสนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตรร่วมขับไล่กองทหารญี่ปุ่นออกจากประเทศไทย, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: กลุ่มประเทศ 26 ประเทศ ที่ร่วมกันต่อสู้กับฝ่ายอักษะในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 |
| กัลยาณมิตร | (กันละยานะมิด) น. ชื่อเพลงไทยประเภทโหมโรงเสภา อัตรา ๓ ชั้น แต่งขึ้นจากเพลงหน้าพาทย์ชื่อชำนาญ. | คู่มิตร | น. ผู้ที่มีชะตาถูกกัน เป็นมิตรกัน, ผู้ที่รักใคร่กัน ไม่เป็นภัยแก่กัน ตรงข้ามกับ คู่ศัตรู. | ญาติมิตร | (ยาด-) น. ญาติและเพื่อนฝูง. | ญาติมิตร | (ยาด-) ก. ร่วมวงเล่นไพ่ตอง เช่น ไปญาติมิตรกัน. | ตัดญาติขาดมิตร | ก. ตัดขาดจากกัน. | ปัจจามิตร | น. ข้าศึก, ศัตรู. | พันธมิตร | น. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐที่จะช่วยเหลือกันตามสนธิสัญญาที่ทำไว้ เพื่อร่วมรบหรือเพื่อการป้องกันร่วมกัน. | มิ่งมิตร | น. เพื่อนรัก, เมียรัก. | มิตร, มิตร- | (มิด, มิดตฺระ-) น. เพื่อนรักใคร่คุ้นเคย เช่น มิตรแท้ มิตรเทียม ฉันมิตร. | มิตรจิต | น. ความมีนํ้าใจเอื้อเฟื้อเสมือนเพื่อนรัก, ความรักใคร่ประนีประนอมฐานเพื่อนรัก, เช่น มีมิตรจิตต่อกัน. | มิตรจิตมิตรใจ | น. ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน เช่น ต่างก็มีมิตรจิตมิตรใจต่อกัน. | มิตรภาพ | น. ความเป็นเพื่อน เช่น มิตรภาพระหว่างเขาทั้งสอง. | มิตรสหาย | (มิด-) น. เพื่อนฝูง. | สัมพันธมิตร | น. เรียกกลุ่มประเทศอันประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ที่รวมเป็นแกนร่วมรบกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร. | อมิตร | (อะมิด) ว. ไม่ใช่เพื่อน. | อมิตร | (อะมิด) น. ข้าศึก, ศัตรู. | กบเต้นกลางสระบัว | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า หมายชิดมิตรเชือนไม่เหมือนหมาย. | กัลยาณ- | (กันละยานะ-) ว. งาม, ดี, ใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส เช่น กัลยาณคุณ = คุณอันงาม กัลยาณธรรม = ธรรมอันดี กัลยาณมิตร = มิตรดี. | เกลือเป็นหนอน | น. ญาติมิตร สามีภรรยา บุตรธิดา เพื่อนร่วมงาน หรือคนในบ้าน คิดคดทรยศ, ไส้เป็นหนอน ก็ว่า. | ไกรสิทธิ | (ไกฺรสิด) น. ราชสีห์ เช่น สูจงนฤมิตรเป็นราชไกรสิทธิ (ม. คำหลวง มัทรี). | คุณ ๒ | น. อาถรรพณ์ คือ พิธีทำร้ายต่ออมิตร โดยเสกสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าในตัวหรือฝังรูปฝังรอย เรียกกันว่า กระทำคุณ, ผู้ถูกกระทำ เรียกว่า ถูกคุณ, คุณไสย ก็ว่า. | คุณไสย | น. อาถรรพณ์ คือ พิธีทำร้ายต่ออมิตร โดยเสกสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าในตัวหรือฝังรูปฝังรอย เรียกกันว่า กระทำคุณไสย, ผู้ถูกกระทำ เรียกว่า ถูกคุณไสย, คุณ ก็ว่า | คู่ศัตรู | น. ผู้ที่มีชะตาไม่ถูกกัน เป็นศัตรูกัน, ผู้ที่เป็นภัยแก่กัน, ตรงข้ามกับ คู่มิตร. | จอด | รัก เช่น มิตรใจเรียมจอดเจ้า จักคิด ถึงฤๅ (นิ. นรินทร์). | ดวงเดือนประดับดาว | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า เจ็บจิตมิตรหมางค้างเขินขวย เวียนวนหลงลมงมงงงวย ฉาบฉวยรวยเร่อเธอถูกทาง. | เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว | ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดบัวไม่ไว้ใย ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย. | เด็ดบัวไม่ไว้ใย | ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย. | เด็ดปลีไม่มีใย | ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, เด็ดบัวไม่ไว้ใย ก็ว่า. | ตรึก ๒ | (ตฺรึก) ก. หมด, สิ้น, เปลือง, น้อย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ตรึก, มิตรึก, หมายความว่า มาก, เช่น จึงองค์มิสาระปันหยี จึงตอบว่าข้าจะให้ไก่ดีดี ของเรามีไม่ตรึกอย่าร้อนใจ (อิเหนา), ท่านก็ไม่ขัดสนจนพราย มากมายตามพรูอยู่มิตรึก แรกรักจะรำพันให้ครั่นครึก (ขุนช้างขุนแผน), ฤๅจะใคร่ได้เมียสาวสาว ขาวขาวดี ดีมีไม่ตรึก (มณีพิชัย). | ตัวเปล่าเล่าเปลือย | ว. ยังไม่มีครอบครัว เช่น เธอไม่ใช่คนตัวเปล่าเล่าเปลือยนะ, ตัวเปล่า ก็ว่า, ไร้ญาติขาดมิตร เช่น เขาเป็นคนตัวเปล่าเล่าเปลือย. | ทิศ ๖ | น. ทิศที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของบุคคล มี ทิศเบื้องหน้าหรือบูรพทิศ ได้แก่ บิดามารดากับบุตร ทิศเบื้องขวาหรือทักษิณทิศ ได้แก่ ครูอาจารย์กับศิษย์ ทิศเบื้องหลังหรือปัจฉิมทิศ ได้แก่ สามีกับภรรยา ทิศเบื้องซ้ายหรืออุตรทิศ ได้แก่ มิตร ทิศเบื้องบนหรือปุริมทิศ ได้แก่ สมณพราหมณ์กับศาสนิกชน และทิศเบื้องล่างหรือเหฏฐิมทิศ ได้แก่ นายกับบ่าวหรือผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา. | โทธก | (-ทก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๑ พยางค์ กำหนดด้วย ภะคณะ ภะคณะ ภะคณะ และครุ ๒ พยางค์ ตามลำดับเหมือนกันทุกบาท (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย (ชุมนุมตำรากลอน). | นกสองหัว | น. คนที่ทำตัวฝักใฝ่เข้าด้วยทั้ง ๒ ฝ่ายที่ไม่เป็นมิตรกันโดยหวังประโยชน์เพื่อตน. | บาป, บาป- | (บาบ, บาบปะ-) ว. ชั่ว, มัวหมอง, เช่น บาปมิตร = มิตรชั่ว. | ปฏิรูป, ปฏิรูป- | เทียม, ไม่แท้, เช่น มิตรปฏิรูป. | ผู้ชายพายเรือ | น. ผู้ชายทั่วไป เช่น ผู้ชายพายเรืออยู่เต็มไป (ขุนช้างขุนแผน), ผู้ชายรายเรือ ก็ว่า เช่น ดิฉันเป็นผู้หญิงสาว ไม่เหมือนผู้ชายรายเรือ (มิตรสภา). | ผูก | ก. เอาเชือกเป็นต้นสอดคล้องกันให้เกิดเป็นเงื่อน เพื่อทำให้มั่นหรือติดต่อกันในตัวหรือกับสิ่งอื่น เช่น ผูกเชือก ผูกลวด ผูกโบ, ติดต่อหรือติดพันกันแน่นกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ผูกใจ ผูกโกรธ ผูกมิตร, ประกอบเข้า เช่น ผูกประโยค ผูกปริศนา ผูกลาย, ติดพันกันด้วยเรื่องสิทธิและหน้าที่ตามที่ตกลงกัน เช่น ผูกตลาด ผูกท่า | ฝังรอย | น. วิธีทำคุณอย่างหนึ่ง โดยเอารอยตีนของอมิตรมาเสกคาถาอาคม แล้วนำไปฝังที่ใต้บันไดเรือน ป่าช้า หรือทางสามแพร่ง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฝังรูป เป็น ฝังรูปฝังรอย. | ฝังรูป | น. วิธีทำคุณอย่างหนึ่ง โดยปั้นรูปสมมุติของอมิตรขึ้นด้วยขี้ผึ้งหรือดินเหนียวจากป่าช้า เสกคาถาอาคม แล้วนำไปฝังที่ใต้บันไดเรือน ป่าช้า หรือทางสามแพร่ง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฝังรอย เป็น ฝังรูปฝังรอย. | สองตาก็ไม่แล, สองตาก็ไม่อยากแล | คำที่แสดงอาการว่าไม่แยแสหรือตัดรอนไม่เป็นมิตรไมตรีกันอีกต่อไป. | สองฝักสองฝ่าย | ว. ที่ทำตัวเข้าด้วยทั้ง ๒ ข้าง ซึ่งมักไม่เป็นมิตรกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน เช่น ประเทศเล็กที่ช่วยตัวเองไม่ได้ มักต้องทำตัวสองฝักสองฝ่ายกับประเทศใหญ่เพื่อความอยู่รอดของตน. | สัขยะ | (สักขะยะ) น. มิตรภาพ, ความสนิทสนมกัน, ความรักใคร่กัน. | สันถวไมตรี | น. ความเป็นมิตรสนิทสนมกัน เช่น ต้อนรับด้วยสันถวไมตรี ทูตสันถวไมตรี. | สัมพันธไมตรี | น. ความเกี่ยวข้องผูกพันกันฉันมิตร เช่น ประเทศไทยมีสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน. | สายสัมพันธ์ | น. ความผูกพันกันมาช้านาน, ความเกี่ยวข้องเป็นมิตรไมตรีกันมานาน, เช่น ไทยกับจีนมีสายสัมพันธ์อันดีมาหลายร้อยปีแล้ว. | สารถีชักรถ | ชื่อเพลงยาวกลบทแบบหนึ่ง ตัวอย่างว่า สงสารกายหมายมิตร์คิดสงสาร ประมาณจิตร์ผิดเพราะเชื่อเหลือประมาณ เสียดายการที่คิดเปล่าเศร้าเสียดาย (จารึกวัดโพธิ์). | เสียดแทง | ว. อาการที่กล่าวให้เจ็บใจด้วยความริษยาเป็นต้น เช่น วาจาเสียดแทงย่อมทำลายมิตร. | เสื่อมคลาย | ว. น้อยลง, ลดลง, เช่น มิตรภาพเสื่อมคลายลงเพราะต่างฝ่ายต่างเอาเปรียบกัน. | ไส้เป็นหนอน | น. ญาติมิตร สามีภรรยา บุตรธิดา เพื่อนร่วมงาน หรือคนในบ้าน คิดคดทรยศ, เกลือเป็นหนอน ก็ว่า. | เหนียวแน่น | แน่นแฟ้น เช่น มิตรภาพระหว่างประเทศทั้งสองนี้เหนียวแน่นมาก. |
| synthermal | -ร่วมอุณหภูมิ, -อุณหภูมิตรงกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | ally | พันธมิตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ally | พันธมิตร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alliance | ความเป็นพันธมิตร, พันธไมตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | alliance | ๑. พันธไมตรี, ความเป็นพันธมิตร (ก. ระหว่างประเทศ)๒. ความเกี่ยวดอง (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | amiable action | การกระทำฉันมิตร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | amicable numbers | จำนวนเชิงมิตร [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | co-belligerency | การเป็นพันธมิตรในสงคราม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | friendly suit | คดีความฉันมิตร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Hostile Takeover | การเข้าครอบครองกิจการอย่างไม่เป็นมิตร [ธุรกิจ] | Coalitions | การรวมตัวเป็นพันธมิตร [TU Subject Heading] | Friendship | ความเป็นมิตร [TU Subject Heading] | Friendship in art | มิตรภาพในศิลปะ [TU Subject Heading] | Thai-Myanmar Friendship Bridge | สะพานมิตรภาพไทย-พม่า [TU Subject Heading] | Australia New Zealand Army Corps Day | วันที่ระลึกทหารผ่านศึกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2458 หน่วยปฏิบัติการร่วมของกองทัพบกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ยกพลขึ้นบกบนคาบ สมุทรกาลิโปลี (Gallipoli) ช่องแคบดาร์ดาแนล (Dardanelles) ประเทศตุรกีเพื่อเปิดเส้นทางเดินเรือให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรไปสู่ทะเลดำใน สงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ทั้งสองประเทศจึงถือเอาวันที่ 25 เมษายนของทุก ๆ ปี เป็นวันที่ระลึกและจัดพิธีไว้อาลัยแก่ทหารผ่านศึกในสมรภูมิครั้งนั้นและทหาร ผ่านศึกที่เสียชีวิตในสมรภูมิอื่น ๆ ด้วย [การทูต] | Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] | concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] | Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] | Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] | Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] | Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] | Major Non-NATO Ally | พันธมิตรหลักนอกสนธิสัญญานาโต [การทูต] | National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | retortion | การตอบโต้การกระทำของรัฐอื่นซึ่งมิได้เป็นความผิดในทาง กฎหมายระหว่างประเทศ แต่มีลักษณะที่ไม่เป็นมิตร [การทูต] | Thai Corner | มุมหนังสือไทย " เป็นโครงการบริจาคหนังสือ ตำราเรียนภาษาไทย รวมทั้งศิลปวัตถุของไทย หรือศูนย์วัฒนธรรมไทยเพื่อการเผยแพร่ภาษาไทยและศิลปวัฒน- ธรรมไทยให้แก่ประเทศเพื่อนบ้านหรือมิตรประเทศ โดยอาจใช้สถานที่ในห้องสมุดสาธารณะ หรือในมหาวิทยาลัยของต่างประเทศ หรือในสถานทูตสถานกงสุลไทยโดยจัดตั้งเป็นมุมเฉพาะสำหรับจัดวางหนังสือไทยให้ ชาวต่างชาติได้อ่านหรือศึกษาภาษาไทย บางแห่งอาจเรียกชื่อว่า Thai Collection ก็ได้ " [การทูต] | Unfriendly Act | การกระทำที่ไม่เป็นมิตร กล่าวคือ เมื่อรัฐหนึ่งประกาศว่า จะถือว่าการปฏิบัติบางอย่างของอีกประเทศหนึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นมิตร นั่นหมายความว่า เป็นการเตือนว่าการกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ [การทูต] | reduce | ใช้น้อย, ลดการใช้, ลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน โดยเลือกใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดขยะหรือมลพิษน้อย เช่น หลีกเลี่ยงการเลือกซื้อสินค้าชนิดที่ใช้ครั้งเดียว ผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการใช้งานต่ำ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้บรรจุภัณฑ์ห่อหุ้มหลายชั้น เลือกซื้อสินค้าหรื [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| I know you didn't like him, but, for my sake, you must be friends now. | ฉันรู้ว่าคุณไม่ชอบเขา แต่ขอเถอะคะ เห็นแก่ฉัน คุณสองคนต้องเป็นมิตรต่อกัน Wuthering Heights (1992) | Do you think I'm going to accept friendship from you now? | คิดว่าดิฉันจะยอมรับ มิตรภาพจากคุณ ในตอนนี้ดอกหรือ Wuthering Heights (1992) | You should be friends with your cousin. | เธอควรเป็น มิตรกับญาติตัวเองนะ Wuthering Heights (1992) | This guy will do anything for her. But they're allies. | ผู้ชายคนนี้จะยอมทำทุกอย่างเพื่อเธอ แต่พวกเขาเป็นพันธมิตรกัน The Joy Luck Club (1993) | General Jodl... signed the "Act of Unconditional Surrender"... of all German land, sea and air forces in Europe... to the Allied Expeditionary Force, and simultaneously to the Soviet High Command. | กองทัพเยอรมัน ทั้งบก เรือ อากาศ ยอมจำนนต่อทัพสัมพันธมิตร และ... ...กองบก.สูงสุดโซเวียต Schindler's List (1993) | We're associates of your business partner, Marsellus Wallace. | เราร่วมงานของพันธมิตรทางธุรกิจของคุณ Marsellus วอลเลซ Pulp Fiction (1994) | You do remember your business partner, don't you? | คุณไม่จำเป็นพันธมิตรทางธุรกิจของคุณทำไม่ได้คุณ? Pulp Fiction (1994) | I thought so. | ดังนั้นผมคิดว่า คุณจำได้พันธมิตรทางธุรกิจของคุณ Marsellus วอลเลซ Pulp Fiction (1994) | - Just take it to a friendly place, that's all! | - เพียงแค่เอามันไปยังสถานที่ที่เป็นมิตรที่ทุกคน! Pulp Fiction (1994) | Marsellus ain't got no friendly places in the Valley. | Marsellus จะไม่ได้ไม่สถานที่ที่เป็นมิตรในหุบเขา Pulp Fiction (1994) | - I'm calling my partner in Toluca Lake. | - ฉันโทรพันธมิตรของฉันในโตลูกาทะเลสาบ Pulp Fiction (1994) | I would if I could, but the signs are neither good nor bad. - We should look again later. | ข้าอยากบอก แต่นิมิตรไม่ดีไม่ร้ายต้องดูอีกทีวันหลัง Rapa Nui (1994) | Just some pointers. You know, for old time's sake. Why? | สอนข้าฝึกทีเถอะ ช่วยแนะนำเพื่อมิตรภาพเก่าก่อน Rapa Nui (1994) | Bartolo, Pierre must remain, for his comrades and ourselves, what he is: a hero. | O.A.S. คือ กองกำลังติดอาวุธลับเพื่อต่อต้านการแยกประเทศแอลจีเรีย บาร์โตโล่ ปิแอร์ สำหรับมิตรสหายและพวกเราเขาคือ: Wild Reeds (1994) | Super. Take care, now. | หัวหน้าเผ่าบอกว่า "คุณเป็นมิตรของวาชูตู" Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | This will cement the friendship between our Phooey and the Dictator of Bacteria. | มิตรภาพแน่นหนาดั่งปูนซีเมนต์ ระหว่าง ผู้นำสวะๆ กับ แบคทีเรีย ผู้มาเยือน The Great Dictator (1940) | I don't get this treatment in my own joint! | ผมไม่ได้รับการปฏิบัติ ในฐานะมิตร The Great Dictator (1940) | I'll be your friend, your companion. I'll be happy with that. | ฉันจะเป็นเพื่อน เป็นมิตรคู่ใจของคุณ แค่นี้ฉันก็มีความสุขแล้ว Rebecca (1940) | When the Allies open the doors... | เมื่อฝ่ายพันธมิตรเปิดรั้วเหล่านี้ Night and Fog (1956) | Friendly little argument. | อาร์กิวเมนต์น้อยที่เป็นมิตร 12 Angry Men (1957) | And of their mating too, and of their friendliness with each other, and their play. | และการผสมพันธุ์ของมันมาก ด้วย และเป็นมิตรของมันกับแต่ละ อื่น ๆ และการเล่นของมัน The Old Man and the Sea (1958) | We are going for a friendly walk with the police down by the river. | พวกเราจะไปเดินเล่นที่คือมิตร กับตำรวจลงแม่น้ำ โอดูที่ว่า Help! (1965) | Well, Clapper, is your good lady wife a willing partner to this hoggins? | ก็คแลปเปอเป็นภรรยาที่ก็ของ คุณผู้หญิง พันธมิตรยินดีที่จะกามกิจนี้ หรือไม่? How I Won the War (1967) | On the approach of a friendly aircraft, the bearer stands in a prominent position and displays the triangle thus. | เกี่ยวกับวิธีการของเครื่องบิน มิตร ผู้ถือยืนอยู่ในตำแหน่งที่โดด เด่น และแสดงรูปสามเหลี่ยมจึง How I Won the War (1967) | You don't offer friendship. You don't even think to call me Godfather. | คุณไม่ได้มีมิตรภาพ คุณไม่ได้คิดที่จะโทรหาฉันเจ้าพ่อ The Godfather (1972) | If you'd come in friendship, the scum that ruined your daughter would be suffering this very day. | หากคุณต้องการมาในมิตรภาพ ฝาที่ทำลายลูกสาวของคุณจะได้รับความทุกข์ทรมานวันนี้มาก The Godfather (1972) | This friend would give his friendship to Mr. Woltz, if Mr. Woltz would grant us a favor. | เพื่อนคนนี้จะทำให้มิตรภาพของเขากับนาย Woltz, ถ้านาย Woltz จะให้เราโปรดปราน The Godfather (1972) | They wouldn't be friendly long if I was involved in drugs instead of gambling, which they regard as a harmless vice, but drugs is a dirty business. | พวกเขาจะไม่เป็นมิตรนานถ้าผมมีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติดแทนการเล่นการพนัน ซึ่งพวกเขาถือว่าเป็นรองไม่เป็นอันตราย แต่ยาเสพติดเป็นธุรกิจที่สกปรก The Godfather (1972) | "Amity," as you know, means "friendship." | "อามิตี้" อยางที่รู้กัน เเปลว่า "มิตรภาพ" Jaws (1975) | Gear is our ally...the gasoline will be ours. | ความกลัวคือพันธมิตรของเรา น้ำมันจะเป็นของเรา The Road Warrior (1981) | Well, look, John, we can't have you running around out there, wasting friendly civilians. | ก็ ดูสิ จอห์น เราไม่สามาร มีคุณ วิ่งไปรอบๆออกที่นั้น การสูญเสียพลเรือนที่เป็นมิตร First Blood (1982) | - There are no friendly civilians. - I'm your friend, Johnny. | ไม่มีพลเรือนที่เป็นมิตร ผมคือเพื่อนของคุณ จอห์นนี่ First Blood (1982) | We have come to crown victory with friendship. | เรามามอบชัยชนะอย่างฉันท์มิตร Gandhi (1982) | they're our allies. oh! we're Americans! | เป็นพันธมิตรของเรา เราเป็นชาวอเมริกัน! ดร.ฮัดลีย์ Spies Like Us (1985) | Egg's away! | แต่มิตรภาพของพวกเราไม่มีวันสิ้นสุด Full House (1987) | You seem a decent fellow. I hate to kill you. | เหมือนนายเป็นมิตรแท้ ข้าไม่อยากฆ่านาย The Princess Bride (1987) | You seem a decent fellow. I hate to die. | เหมือนนายเป็นมิตรแท้ ข้าไม่ปรารถนาที่จะตาย The Princess Bride (1987) | And Roberts and I eventually became friends. | โรเบิร์ตกับข้ากลายเป็นมิตรกัน The Princess Bride (1987) | Fish, friends, dragonflies... | ปลา มิตรสหาย แมลงปอ Ginî piggu: Manhôru no naka no ningyo (1988) | Even those who would be our allies would not understand. | แม้ผู้ที่จะเป็นพันธมิตรของเราจะไม่เข้าใจ Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | Some say that the path from inner turmoil begins with a friendly ear. | บางคนบอกว่าเส้นทางจากความวุ่นวายภายใน ... ... เริ่มต้นด้วยการเป็นมิตรกับหู Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | He made them partners. | เขาสร้างพันธมิตร Goodfellas (1990) | Everybody wanted to be nice to him. | ทุกคนเป็นมิตรกับเขา Goodfellas (1990) | With respect, Rinpoche... if your intention is to stop the Chinese from recruiting political allies... then demanding that they stop trying to bribe monks... is not the most effective tactic. | ด้วยความเคารพ ท่านรินโปเช หากความตั้งใจของท่านคือการ หยุดยั้งไม่ให้จีนรวบรวมพันธมิตรการเมือง การรับสั่งให้พวกนั้นหยุด ให้สินบนพระสงฆ์ Seven Years in Tibet (1997) | Thank you for your friendship. Heinrich." | ขอบคุณสำหรับมิตรภาพนะ ไฮน์ริช" Seven Years in Tibet (1997) | And having safely returned to the shore... may they be joyfully reunited with their relatives. | และเดินทางกลับฝั่ง ด้วยความปลอดภัย ให้ได้พบปะสังสรรค์ กับครอบครัวและญาติมิตร Seven Years in Tibet (1997) | He didn't have a country, he didn't even have a birth date. | เขาเป็นคนไร้สัญชาติ ไม่มีกระทั่งวันเกิด ไม่มีญาติมิตร The Legend of 1900 (1998) | Comrades, students, revolutionary companions-in-arms... | สหายทุกท่าน นักเรียนทุกคน และมิตรของพรรคประชาชน The Red Violin (1998) | A crowd of faces... friends and family, enemies, lovers. | มิตรสหาย ครอบครัว ศัตรู หรือ คู่รัก The Red Violin (1998) | Maybe you should pick it up a bit, dear. | บางที คุณควรจะผูกมิตรซักหน่อยก็ดีนะ Dark Harbor (1998) |
| ฉันมิตร | [chan mit] (adv) EN: as friends ; like friends | ฝ่ายพันธมิตร | [fāi phanthamit] (n) EN: ally ; alliance ; allies | แกงจืดรวมมิตร | [kaēng jeūt rūam mit] (xp) EN: ruam mit soup | การแข่งขันเพื่อมิตรภาพ | [kān khaengkhan pheūa mittraphāp] (n, exp) EN: friendly match FR: rencontre amicale [ f ] | การตกลงกันฉันมิตร | [kān toklong kan chan mit] (n, exp) EN: amicable agreement ; entente cordiale | ความไม่เป็นมิตร | [khwām mai pen mit] (n, exp) EN: hostility ; animosity ; resentment | ความเป็นมิตร | [khwām pen mit] (n, exp) EN: friendship ; companionship ; fellowship FR: amitié [ f ] | มิตร | [mit] (n) EN: friend ; companion ; fellow FR: ami [ m ] ; amie [ f ] ; copain [ m ] (fam.) ; copine [ f ] (fam.) ; camarade [ m, f ] ; compagnon [ m ] ; pote [ m ] (fam.) | มิตรไมตรี | [mitmaitrī] (n) EN: hospitality | มิตรจิต | [mittrajit] (n) EN: friendliness ; geniality FR: bonté [ f ] ; bienveillance [ f ] | มิตรจิตมิตรใจ | [mittrajit-mittrajai] (n) EN: friendly feelings ; cordiality ; friendliness ; sympathy FR: sympathie [ f ] | มิตรภาพ | [mittraphāp] (n) EN: friendship ; cordiality ; friendliness ; companionship FR: amitié [ f ] | เป็นมิตร | [pen mit] (v) EN: be friendly ; be on friendly terms ; be friends | เป็นมิตร | [pen mit] (adj) FR: amical ; cordial | เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | [pen mit kap singwaētløm] (adj) EN: eco-friendly ; environment-friendly ; environmentally-friendly ; non-polluting ; ecologically sound | เป็นพันธมิตร | [pen phanthamit] (n) EN: ally FR: allié [ m ] | พันธมิตร | [phanthamit] (n) EN: alliance ; association ; partnership ; coalition FR: alliance [ f ] ; partenariat [ m ] ; coalition [ f ] | พันธมิตร | [phanthamit] (n) EN: ally FR: allié [ m[ | พันธมิตรฯ | [Phanthamit] (org) EN: the Alliance (PAD) FR: l'Alliance (PAD) | พันธมิตรฝ่ายเหนือ | [Phanthamit Fāi Neūa] (org) EN: Northern Alliance | พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย | [Phanthamit Prachāchon Pheūa Prachāthippatai] (org) EN: People's Alliance for Democracy (PAD) FR: Alliance du Peuple pour la Démocratie (PAD) | ผูกมิตร | [phūkmit] (v) EN: befriend ; make friends FR: se lier d'amitié | ประเทศพันธมิตร | [prathēt phanthamit] (n, exp) EN: allied country FR: pays allié [ m ] ; pays ami [ m ] | รวมมิตร | [rūam mit] (n, exp) FR: assortiment [ m ] ; mélange [ m ] | สัมพันธมิตร | [samphanthamit] (n) EN: ally ; alliance FR: allié [ m ] ; alliance [ f ] | สร้างมิตร | [sāng mit] (v, exp) EN: make friends ; socialize FR: se faire des amis | สะพานมิตรภาพ | [Saphān Mittraphāp] (n, prop) EN: Friendship Bridge FR: pont de l'Amitié [ m ] | สพรั่ง กัลยาณมิตร (เปย, บิ๊กเปย) | [Saphrang Kanlayānamit (Poēi, Bik Poēi)] (n, prop) EN: Saprang Kalayanamitr FR: Saprang Kalayanamitr | ส่งเสริมมิตรภาพ | [songsoēm mittraphāp] (v, exp) EN: improve frienship ; promote friendship | สุสานทหารสัมพันธมิตรดอนรัก | [Susān Thahān Samphanthamit Døn Rrak] (n, prop) EN: Kanchanaburi War Cemetery ; Don Rak United Nation Cemetery ; Don Rak War Cemetery | ทหารสัมพันธมิตร | [Thahān Samphanthamit] (n, prop) EN: Allied forces FR: Forces alliées [ fpl ] ; Alliés [ mpl ] | วัดไตรมิตร | [wat Traimit] (n, prop) EN: Wat Traimit ; Temple of the Golden Buddha FR: wat Traimit ; temple du Bouddha d'or [ m ] | อย่างเป็นมิตร | [yāng pen mit] (adv) EN: friendly FR: amicalement | ญาติมิตร | [yāt-mit] (n, exp) EN: kindred ; kin ; kinfolk (old) ; relatives and friends FR: famille [ f ] ; parents et amis [ mpl ] |
| condescension | (n) การกระทำที่แสดงให้เห็นว่าผู้กระทำเชื่อว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้อื่น เช่น He gave us very friendly advice without a trace of condescension. เขาให้คำแนะนำที่เป็นมิตรมากๆ กับพวกเรา โดยไม่ได้มีท่าทีว่าเขาคิดว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าเราแต่อย่างใด | hostile takeovers | (n) การซื้อกิจการแบบไม่เป็นมิตร | schmoozer | (n) คนที่ชอบ schmooze, ชอบพูดคุยกับผู้อื่นในลักษณะคุยเก่ง, ร่าเริง, หรือเป็นมิตรมากๆ | schmooze | (vi) การพูดคุยกับผู้อื่นในลักษณะคุยเก่ง, ร่าเริง, หรือเป็นมิตรมากๆ เช่น ในงานเลี้ยง เดิมคำนี้มักจะมีความหมายในเชิงลบ สื่อถึงคนที่คุยเก่ง แต่อาจเพื่อหาประโยชน์บางอย่างให้ตัวเอง แต่ในปัจจุบันก็มีความหมายในทางกลางๆ ไม่ได้เชิงลบเสมอไป ดูบทความอธิบายคำว่า schmooze ที่ https://dict-blog.longdo.com/whats-all-this-schmoozing-about-in-english/ |
| adversary | (n) คู่ต่อสู้, See also: อมิตร, ข้าศึก, คู่ปรปักษ์, คู่อาฆาต, ปรปักษ์, ศัตรู, Syn. enemy, opponent | agreeable | (adj) เป็นมิตร | alliance | (n) สหพันธ์, See also: สมาพันธ์, องค์กร, พันธมิตร, Syn. union, league, federation | allied | (adj) ซึ่งเป็นพันธมิตรกันโดยสนธิสัญญา | amiable | (adj) เป็นมิตร, See also: เป็นกันเอง | amiably | (adv) อย่างเป็นมิตร | amicable | (adj) เป็นมิตร, See also: เป็นกันเอง, Syn. peaceable, friendly, neighborly | amity | (n) มิตรภาพ, See also: สัมพันธไมตรี, ความสัมพันธ์ฉันท์มิตร, Syn. friendship | approachable | (adj) ที่เข้าถึงได้ง่าย, See also: ที่เป็นมิตร, ที่สนิทได้ง่าย, Syn. friendly, receptive, sanction | alienate from | (phrv) ทำให้เหินห่าง, See also: ทำให้แตกแยก, เมินหมาง, ไม่เป็นมิตร | ally to | (phrv) เป็นพันธมิตรกับ | ally with | (phrv) เป็นพันธมิตรกับ, See also: เข้าร่วมกับ | augur ill | (phrv) เป็นลางร้าย, See also: เป็นลางสังหรณ์ที่ไม่ดี, เป็นนิมิตร้าย, Syn. bode ill | bantering | (adj) ซึ่งหยอกเล่นอย่างเป็นมิตร | befriend | (vt) ผูกมิตร, See also: เป็นมิตร, ตีสนิท, ทำตัวเป็นเพื่อนกับ, ตีสนิท, เข้ากับ | bluff | (adj) เป็นมิตรแต่พูดตรงโดยไม่สนใจความรู้สึกของคนอื่น, See also: เป็นมิตรแต่โผงผาง, Syn. outspoken | bonhomie | (n) ความมีมิตรไมตรี | brush-off | (n) การทำท่าทีไม่สนใจ (อย่างไม่เป็นมิตรและไม่สุภาพ) | camaraderie | (n) ความเป็นมิตร, See also: ความสัมพันธ์ที่ดี, Syn. companionship, intimacy | chap | (n) ผู้ชาย (ไม่เป็นทางการ), See also: มิตร, Syn. man, boy, fellow | chilly | (adj) เย็นชา, See also: ไม่เป็นมิตร, Syn. unfriendly, hostile | coalition | (n) การรวมเป็นหนึ่งเดียว, See also: การร่วมกัน, การร่วมมือกัน, การประสานกัน, สัมพันธมิตร, Syn. partnership, league, cooperation, combination, solidification | combination | (n) พันธมิตร, See also: กลุ่มคน, Syn. association, federation, league, coalition, cartel, combine, monopoly, bloc, cabal, conspiracy, union, alliance, organisation, organization | conciliate | (vt) ทำให้เป็นมิตร, Syn. pacify, make friendly | conciliatory | (adj) มีแนวโน้มที่เป็นมิตร, Syn. friendly | concord | (n) ความเป็นมิตรภาพกัน, See also: ความกลมเกลียว, Syn. friendship | cool | (adj) เย็นชา, See also: ซึ่งไร้ความรู้สึก, ซึ่งไม่เป็นมิตร, Syn. unfriendly | cordial | (adj) ที่ดูอบอุ่นและเป็นมิตร, Syn. genial, warm, welcoming | chum up | (phrv) เข้ากันได้ดี, See also: เป็นมิตรกับ, Syn. pal up | cotton up to | (phrv) เริ่มเป็นมิตรกับ (คำไม่เป็นทางการ) | cross swords with | (phrv) เริ่มแตกแยก (ทางความคิด, มิตรภาพฯลฯ) กับ, See also: ขัดแย้ง, แตกแยก | fraternize with | (phrv) เป็นมิตรกับ, See also: สนิทสนมกับ, มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ | disagreeable | (adj) หยาบคาย, See also: ไม่เป็นมิตร, Syn. unpleasant | endogamy | (n) การแต่งงานของคนที่อยู่ในเผ่าเดียวกัน, See also: การแต่งงานในหมู่ญาติมิตร | fellowship | (n) สัมพันธภาพ, See also: มิตรภาพ, ความเป็นมิตร, การคบหาสมาคม, Syn. comradeship, sociability, intimacy, Ant. enmity, unsociability | fireside | (adj) เป็นมิตร, See also: เป็นกันเอง, Syn. friendly | foe | (n) ศัตรู, See also: ข้าศึก, ปรปักษ์, อมิตร, อริ, Syn. enemy, opponent, adversary, Ant. friend, ally | forbidding | (adj) ที่ไม่เป็นมิตร, See also: ดูน่ากลัว, ดูอันตราย, Syn. threatening, hostile, Ant. friendly | friend | (n) มิตร, See also: เพื่อน, สหาย, เกลอ, มิตรสหาย, พวกพ้อง, Syn. companion, comrade, Ant. anemy, foe | friendliness | (n) ความเป็นมิตร, See also: ความมีไมตรี, ความเป็นกันเอง, ความเป็นเพื่อน, Syn. amiability, cordiality, kindliness, Ant. hostility, inimicality, unfriendliness | friendly | (adj) เป็นมิตร, See also: เป็นกันเอง, เหมือนเป็นเพื่อน, Syn. amiable, cordial, kindly, Ant. hostile, inimical, unfriendly | friendly | (adv) อย่างเป็นมิตร, See also: อย่างเป็นกันเอง, อย่างเพื่อน | friendship | (n) มิตรภาพ, See also: ความเป็นมิตร, ความเป็นเพื่อน, ความสัมพันธ์อย่างเพื่อน, Syn. camaraderie, companionship, fellowship, Ant. enmity, hostility | frosty | (adj) ซึ่งไม่เป็นมิตร, See also: เย็นชา | get along | (phrv) เป็นเพื่อนกันได้, See also: เป็นมิตร, เข้ากันได้ดี, Syn. get along with, get on, get on with | get along with | (phrv) เข้ากันได้ดี, See also: เป็นมิตรกันดีกับ, Syn. get along, get on with, go on | get in with | (phrv) คุ้นเคยกับ, See also: เป็นมิตรกับ มักเป็นคนมีตำแหน่งสูงหรือมีอำนาจ, Syn. be in with, keep in with | get on with | (phrv) เป็นมิตรกับ, See also: เข้ากันได้กับ, Syn. get along with, get on | get on | (phrv) เป็นมิตรกับ, See also: เป็นเพื่อนกับ, Syn. get along, get along with | go on | (phrv) เข้ากันได้, See also: เป็นมิตรกัน, Syn. get along, get along with |
| aaf | abbr. Allied Air Forces. (กองทัพอากาศพันธมิตร) Army Air Forces กองบินทหารบก | affable | (แอฟ' ฟะเบิล) adj. เป็นมิตร, ง่าย , กรุณา | alliance | (อะไล' เอินซฺ) n. พันธมิตร, สันนิบาต, การแต่งงาน, ความสัมพันธ์ที่เกิดจากการแต่งงาน, สหพันธ์, ข้อตกลงระหว่างประเทศ, Syn. fusion, union -A.difference, disparity | allied | (อะไลดฺ', แอล' ไลดฺ) adj. เป็นพันธมิตรกันโดยสนธิสัญญา, ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน, มาจากที่เดียวกัน, มีแหล่งกำเนิดเดียวกัน, Syn. united | allies | (แอล' ไลซ, อะไลซ') n. พหูพจน์ของ ally, พันธมิตร -Allies ชาติพันธมิตร, สมาชิกสนธิสัญญานาโต้ (NATO) | ally | (vt, vi. อะไล', -n. แอล' ไล, อะไล') ผูกพัน, เข้าข้าง, เป็นพันธมิตร, พันธมิตร, ประเทศพันธมิตร, พรรคพวก, ผู้ช่วย, สิ่งที่เกี่ยวดองกัน. -alliable adj., Syn. confederate, partner-A. enemy | amicable | (แอม' มิคะเบิล) adj. เป็นมิตร, ฉันมิตร, รักใคร่กัน, มีไมตรีจิต. -amicability, amicableness n., Syn. friendly | amity | (แอม' มิที) n. มิตรภาพ, สัมพันธไมตรี, ไมตรีจิต, Syn. friendship, Ant. hostility | antisocial | (แอนทีโซ' เชียล) adj. ต่อต้านสังคม, เบื่อหน่ายสังคม, เป็นปฏิปักษ์ หรือไม่เป็นมิตรกับผู้อื่น. -antisocialistic adj. | antogonistic | (แอนแทก' โกนิสทิค) adj. ซึ่งต่อต้าน, เป็นปรปักษ์, ไม่เป็นมิตร, Syn. hostile, opposed, Ant. supportive, harmonious | association | (อะโซชีเอ'เชิน) n. สมาคม, บริษัท, การร่วมกัน, ความสัมพันธ์, สันนิบาตพันธมิตร, สหภาพ, การเชื่อมติดกัน, ความคิดเห็นร่วมกัน, กลุ่มของพืชที่อยู่ร่วมกัน, เกมฟุตบอล, การสังสรรค์, Syn. fellowship, organization, link | auld lang syne | (ออลด'ฺ แลง ไซน์') อดีตกาล (โดยเฉพาะที่สดชื่น) , มิตรภาพที่เก่าแก่ | auspice | (ออ'สพิสฺ) n., (pl. auspices) ความอุปถัมภ์, สุภมงคลสมัย, ฤกษ์ดี, การทำนาย (ตามลักษณะการบินของนก) , นิมิตร (patronage) | axis | (แอค' ซิส) n., (pl. axes) แกน, เพลา, เส้นศูนย์กลาง, สัมพันธมิตร, แนวหลักในการพัฒ-นาหรือเคลื่อนที่, กระดูกสันหลังที่คอ (ชิ้นที่ 2) , อักษะ (เยอรมัน ญี่ปุ่นและอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่ 2) , ชื่อกวางในอินเดียและลังกา, Syn. coalition | bad blood | n. ความเป็นศัตรู, ความไม่เป็นมิตร | bonhomie | (บอน'ฮะมี) n. มิตร ไมตรี, ความร่าเริงชื่นบาน | camaraderie | (คามะรา'ดะรี) n. มิตรภาพที่ดี | chilliness | (ชิล'ลิเนส) n. ความเมินเฉย, ความเย็นชา, ความไม่เป็นมิตร | chummy | (ชัม'มี) adj. สนิทสนม, มีมิตรไมตรีจิตเป็นมิตร, เป็นเพื่อนกัน, See also: chumminess n. | coalition | (โคอะลิช'เชิน) n. การร่วมกัน, การร่วมมือกัน, สัมพันธมิตร, รัฐบาลผสม, การประสานกัน., See also: coalitionist, coalitoiner n., Syn. alliance | combination | (คอมบะเน'เชิน) n. การรวมกัน, จำนวนสิ่งของที่รวมกัน, พันธมิตร, รหัสตัวเลขหรืออักษรของกุญแจที่ไขด้วยการหมุนตัวเลข หรือหมุนอักษรดังกล่าว, การจัดเป็นกลุ่ม -Phr. (in combination with ร่วมกับ), Syn. combining, joining, blend | companion | (คัมแพน'เยิน) { companioned, companioning, companions } n. เพื่อน, สหาย, มิตร, เพื่อนร่วมงาน, สิ่งเปรียบเทียบ, คู่มือ, ผู้ที่เป็นเพื่อนเฝ้าดูคนไข้, อัศวินตำแหน่งต่ำสุด, ชื่อดาว, ที่ครอบบันไดในตัวเรือ, บันไดในตัวเรือ vt. เป็นเพื่อน, Syn. frien | comrade | (คอม'ริด, คอม'เรด) n. สหาย, เพื่อน, มิตรสนิท, เพื่อนสมาชิกหรือพรรค, สมาชิกพรรค คอมมิวนิสต์, Syn. friend, companion | concord | (คอน'คอร์ด) n. ความสอดคล้องกัน, การปรองดองกัน, การลงรอยกัน, สัญญา, ข้อตกลง, ความสงบ, มิตรภาพ, เสียงที่กลมกลืนกัน, Syn. accord, agreement, treaty, Ant. discord | confederate | (คันเฟด'เดอริท) adj. ซึ่งรวมกันในรูปสหพันธ์ สันนิบาต หรืออื่น ๆ, See also: Confederate เกี่ยวกับกลุ่ม 11 รัฐภาคใต้ของสหรัฐอเมริกา ที่แยกตัวออกเป็นอิสระในปี ค.ศ.1860-61 n. พันธมิตร, ผู้สมรู้ ร่วมคิด. vt., vi. รวมกันเป็นกลุ่ม คำที่มีความหมายเหมือน | confederation | (คันเฟดดะเร'เชิน) n. การร่วมกลุ่ม, ภาวะที่ถูกรวมกลุ่ม, สันนิบาตหรือพันธมิตร, กลุ่มรัฐที่รวมกัน, The Confederation การรวมกลุ่ม13 รัฐแรกเริ่มของสหรัฐตามสนธิสัญญา Articles of Confederation 1781-1789, See also: confederationism, confederationist, confederal | connection | (คะเนค'เชิน) n. การเชื่อมต่อ, การเชื่อมผนึก, ความสัมพันธ์, พันธะ, วงศ์วานวงศ์ญาติมิตร, ญาติ, การสังวาส, Syn. juncture, union, associate | cordial | (คอร์'เดียล) adj. ด้วยความรักใคร่, ด้วยมิตรไมตรีจิต, ด้วยน้ำใสใจจริง, อบอุ่น, สนิทสนม. n. ยาบำรุงหัวใจ, เหล้าหวานหอมที่เจือปนเครื่องเทศ, ยากระตุ้น., See also: cordialness n., Syn. warm, sincere, Ant. cool, cold | federal | (เฟด'เดอเริล) adj. สหพันธ์, สหรัฐ, สมาพันธรัฐ, สันนิบาต, พันธมิตร, กลาง | federation | (เฟดเดอเร'เชิน) n. การรวมเข้าเป็นสหรัฐหรือสมาพันธรัฐ, กลุ่มการเมือง (สหรัฐ, สมาพันธรัฐ, สหพันธ์, สันนิบาต, พันธมิตรหรืออื่น ๆ), Syn. league | fellowship | (เฟล'โลชิพ) n. ตำแหน่งผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย, ตำแหน่งสมาชิกของสมาคมวิชาการ, ความสัมพันธ์ของมนุษย์, มิตรภาพ, การคบหา, ความเป็นมิตร, สมาคมของบุคคลที่มีอาชีพ, รสนิยม, บริษัท, กลุ่มนักวิจัยในมหาวิทยาลัย. vt. รับเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมหรือกลุ่ม. vi. ร่วมเป็นสมาชิกของสมาค | forbidding | (ฟอร์บิด'ดิง) adj. ไม่เป็นมิตร, น่ากลัว, อันตราย, มีภัยคุกคาม., See also: forbiddingly adv. forbiddingness n. | foretoken | (ฟอร์'โทเคิน) n. การเตือนล่วงหน้า, ลาง, นิมิตร. vt. เป็นลางบอก | francophil | adj. ซึ่งเป็นมิตรหรือชอบฝรั่งเศส | francophile | adj. ซึ่งเป็นมิตรหรือชอบฝรั่งเศส | fremd | (เฟรมดฺ) adj. ต่างถิ่น, แปลก, ไม่เป็นมิตร | friend | (เฟรนดฺ) n. เพื่อน, สหาย, มิตร, พวกพ้อง, ผู้สนับสนุน, ผู้ช่วยเหลือ, คนคุ้นเคย, สมาชิกของกลุ่มหรือสมาคมเดียวกัน. -Phr. (make friends with คบเป็นเพื่อนกับ) . vt. ทำให้เป็นเพื่อน, See also: friendless adj. friendlessness n. -S... | friendly | (เฟรนดฺ'ลี) adj., adv. เป็นมิตร, กรุณา, ให้ความช่วยเหลือ, ให้ความสนับสนุน, เหมาะ -friendlily adv., See also: friendliness n., Syn. helpful, kind | friendship | (เฟรนดฺ'ชิพ) n. มิตรภาพ | genial | (จี'เนียล, เจน'เยิล) adj. ใจดี, เห็นใจคนอื่น, ร่าเริง, มีมิตรไมตรีจิต, เบิกบานใจ, มีลักษณะของอัจฉริยบุรุษ, เกี่ยวกับคาง, See also: genialness n., Syn. cordial, lively | geniality | (จีนีแอล'ลิที) n. ความใจดี, ความเห็นอกเห็นใจคนอื่น, ความร่าเริงเบิกบานใจ, ความมีมิตรไมตรีจิต, Syn. cheerfulness, kindliness -A.cheerlessness | get | (เกท) { got, gotten, getting, gets } vt. ได้, ได้มา, ได้รับ, เอา, ไปเอามา vi. มาถึง, บรรลุ -Phr. (get along จัดการ, ก้าวหน้า, ตกลง, เป็นมิตร) . | heartily | (ฮาร์ท'ทิลี) adv. อย่างจริงใจ, อย่างแท้จริง, ด้วยมิตรไมตรีจิต, อย่างยิ่ง, โดยสิ้นเชิง, อย่างเอร็ดอร่อย, Syn. cordially, sincerely | hearty | (ฮาร์ท'ที) adj. อบอุ่นใจ, มีมิตรไมตรีจิต, ร่าเริง, จริงใจ, แท้จริง, เต็มใจ, กระตือรือร้น, แข็งแรง, รุนแรง, มากมาย, อุดมสมบูรณ์. n. คนกล้า, คนดี, สหาย., See also: heartily adv. heartiness n., Syn. genial, cordial, Ant. cool, weak, mild | homely | (โฮม'ลี) adj. ไม่สวย, ไม่ดึงดูดใจ, ธรรมดา ๆ , เป็นมิตรมาก., See also: homeliness n., Syn. unpretentious | hospitable | (ฮอส'พิทะเบิล) adj. มีมิตรไมตรีจิต, มีอัธยาศัย, ชอบต้อนรับแขก, ตอนรับขับสู่, เมตตากรุณา, ต้อนรับความคิดใหม่ ๆ, See also: hospitably adv., Syn. cordial, receptive | hospitality | (ฮอสพิแทล'ลิที) n. ความมีมิตรไมตรีจิต, ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่, Syn. welcome, conviviality, cordiality | hostile | (ฮอส'ไทลฺ, ฮอส'เทิล) adj. เป็นปรปักษ์, ต่อต้าน, มีเจตนาร้าย, เป็นศัตรู, ไม่เป็นมิตร, ไม่รับแขก, See also: hostility adv., Syn. contrary, antagonistic | hostility | (ฮอลทิล'ลิที) n. ความเป็นปรปักษ์, การมีเจตนาร้าย, การเป็นศัตรู, การไม่เป็นมิตร., See also: hostilities n. สงคราม, การทำสงคราม, Syn. enmity, animosity | inimical | (อินิม'มิเคิล) adj. ไม่เป็นมิตร, เป็นปฏิปักษ์, มีเจตนาร้าย, เป็นอันตราย., See also: inimically adv. inimicalness. inimicality n., Syn. inimicable, hostile, Ant. friendly |
| affection | (n) ความรัก, ความเสน่หา, ความชอบ, ความเป็นมิตร, อารมณ์ | alliance | (n) พันธมิตร, การเกี่ยวดอง, การผูกพัน, การเกี่ยวพัน | allied | (adj) เป็นพันธมิตรกัน, เกี่ยวพันกัน, เกี่ยวดองกัน | ally | (n) พันธมิตร, พรรคพวก, พวกพ้อง | amicable | (adj) กลมเกลียวกัน, เป็นมิตร, ฉันมิตร, รักใคร่กัน | amity | (n) มิตรภาพ, สัมพันธภาพ, สัมพันธไมตรี, สันติภาพ | associate | (n) มิตรสหาย, เพื่อนฝูง, พรรคพวก, ผู้ร่วมงาน, ภาคี | backyard | (n) ความเป็นศัตรู, ความเกลียดชัง, ความไม่เป็นมิตร | chillness | (n) ความเย็นชา, ความเฉยเมย, ความเยือกเย็น, ความไม่เป็นมิตร | chummy | (adj) สนิทสนม, เป็นเพื่อนกัน, เป็นมิตร | coalition | (n) การประสานกัน, การรวมกัน, การร่วมมือกัน, รัฐบาลผสม, สัมพันธมิตร | combination | (n) การรวมกัน, การจัดกลุ่ม, พันธมิตร | companion | (n) เพื่อน, สหาย, มิตร, เพื่อนร่วมงาน, สิ่งที่ไปด้วยกัน | companionship | (n) มิตรภาพ, ไมตรีจิต, สัมพันธไมตรี | comrade | (n) เพื่อน, สหาย, มิตร | comradeship | (n) ความเป็นเพื่อน, มิตรภาพ | confederate | (n) ผู้สมรู้ร่วมคิด, สัมพันธมิตร, พันธมิตร | confederation | (n) การร่วมมือกัน, สหภาพ, สมาพันธ์, สันนิบาต, พันธมิตร | cordial | (adj) เต็มใจ, จริงใจ, ด้วยน้ำใสใจจริง, ด้วยมิตรไมตรีจิต, ฉันมิตร | cordiality | (n) มิตรภาพ, ความจริงใจ, ไมตรีจิต, น้ำใสใจจริง | disaffected | (adj) ไม่เป็นมิตร, ไม่ซื่อสัตย์, ไม่พอใจ, เหินห่าง | disaffection | (n) ความไม่เป็นมิตร, ความไม่ซื่อสัตย์, ความไม่พอใจ, ความเหินห่าง, ความบาดหมาง | federal | (adj) เกี่ยวกับสหพันธ์, เกี่ยวกับสันนิบาต, เกี่ยวกับพันธมิตร | federate | (adj) ซึ่งรวมเป็นสหพันธ์, ซึ่งเป็นพันธมิตร, ซึ่งเป็นสหพันธรัฐ | fellow | (n) มิตรสหาย, เพื่อน, ภาคีสมาชิก, มนุษย์, นักวิจัยในมหาวิทยาลัย | fellowship | (n) มิตรภาพ, ความสัมพันธ์, การคบหาสมาคม, ทุนเรียนในมหาวิทยาลัย | friend | (n) เพื่อน, เกลอ, สหาย, มิตร, พรรคพวก, ผู้ช่วยเหลือ | friendliness | (n) มิตรภาพ, ไมตรีจิต, มิตรไมตรี, มิตรจิตมิตรใจ | friendly | (adj) ฉันเพื่อน, ฉันมิตร, เป็นมิตร | friendship | (n) มิตรภาพ, มิตรไมตรีจิต, ความสัมพันธ์ฉันเพื่อน | genial | (adj) ร่าเริง, เบิกบาน, ใจดี, มีมิตรไมตรีจิต | hostile | (adj) เป็นศัตรู, มุ่งร้าย, เกลียดชัง, ไม่เป็นมิตร | hostility | (n) ความเป็นศัตรู, ความไม่เป็นมิตร, ความมุ่งร้าย, ความเกลียดชัง | league | (n) สมาคม, สันนิบาต, สหพันธ์, คณะ, พันธมิตร, ความยาวสามไมล์ | league | (vt) รวมกันเป็นสันนิบาต, รวมกลุ่ม, เป็นพันธมิตร | neighbourly | (adj) ฉันเพื่อนบ้าน, มีมิตรไมตรีจิต | PEN pen pal | (n) มิตรสัมพันธ์, เพื่อนทางจดหมาย | regard | (n) ความเอาใจใส่, การมองดู, ความนับถือ, มิตรภาพ, การพิจารณา | social | (adj) ชอบสมาคม, ในวงสังคม, เป็นกันเอง, ฉันมิตร | sodality | (n) ความเป็นเพื่อนกัน, ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน, มิตรไมตรีจิต | unfriendly | (adj) ไม่เป็นมิตร, มุ่งร้าย |
| collegiality | (n) วิทยามิตร | contingent on | ที่ทำตัวเข้าด้วยกันทั้ง 2 ข้าง ซึ่งมักไม่เป็นมิตรกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน, Syn. dependent on | goodwill | [กู้ดวิล] (n) กระชับมิตร, See also: benevolence, brotherhood, charity, cordiality, cordialness, fellowship, fr, Syn. amity | identification, friend or foe | (n) ระบบพิสูจน์ฝ่ายว่าเป็นมิตรหรือศัตรู |
| 愛想 | [あいそう, aisou] 1.อัธยาศัย 2.ท่าทีเป็นมิตร 3.การต้อนรับขับสู้ | 市民民主化同盟 | [しみんみんしゅかどうめい, shiminminshukadoumei] (n) พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, See also: S. PAD | 市民民主化同盟 | [しみんみんしゅかどうめい, shiminminshukadoumei] (n) พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy), See also: S. PAD | 同盟 | [どうめい, doumei] (n) พันธมิตร |
| 連立 | [れんりつ, renritsu] TH: พันธมิตร |
| feindlich | (adj) ไม่เป็นมิตร, ทำตัวเป็นศัตรู | Freundschaft | (n) |die, pl. Freundschaften| สัมพันธภาพ, มิตรภาพ, ความสัมพันธ์ฉันเพื่อน เช่น eine Freundschaft beenden | eisig | (adj) ที่เย็นชาเหมือนน้ำแข็ง, ที่ไม่เป็นมิตร เช่น ein eisiger Blick สายตาที่ไม่เป็นมิตร, Syn. unfreundlich | freundlich | (adj) เป็นมิตร, เป็นกันเอง, มีน้ำใจ, See also: A. unfreundlich, Syn. nett |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |