ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: คำกริยา, -คำกริยา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ pigeonhole | ในกรณีเป็นคำกริยา to pigeonhole หมายถึง "ด้อยค่า" คนใดคนหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง * ในคำแปลของ Longdo Dict ไม่ได้ให้ความหมายนี้ไว้ | pigeonhole | (vt) ในกรณีเป็นคำกริยา to pigeonhole หมายถึง "ด้อยค่า" คนใดคนหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง * ในคำแปลของ Longdo Dict ไม่ได้ให้ความหมายนี้ไว้ |
|
| คำกริยา | (n) verb, Example: ในทางไวยากรณ์มีคำอยู่ 8 ประเภท คือ คำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำกริยา คำกริยาวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน และ คำอุทาน, Count Unit: คำ, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ที่แสดงอาการกริยาต่างๆ | คำกริยาวิเศษณ์ | (n) adverb, Syn. วิเศษณ์, Example: คำกริยาวิเศษณ์ช่วยเน้นความหมายของคำกริยาวิเศษณ์ที่ปรากฏร่วมด้วยให้หนักแน่นขึ้น, Count Unit: คำ, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ทำหน้าที่ขยายคำกริยา |
| กริยาวิเศษณ์ | น. คำวิเศษณ์ใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ด้วยกันให้มีความแปลกออกไป. | กริยาวิเศษณ์วลี | น. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี. | กริยาวิเศษณานุประโยค | (-วิเสสะนานุปฺระโหฺยก) น. อนุประโยคที่ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ในสังกรประโยค, ประโยควิเศษณ์ ก็ว่า. | คำ ๒ | น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท | เด่ | ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงตั้งขึ้น เช่น ชี้เด่ ตั้งเด่. | โด่ | ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงขึ้นไป หรือเด่นเห็นได้ชัดเจน เช่น นั่งหัวโด่ ตั้งโด่. | ได้ | ใช้ประกอบท้ายคำกริยา มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ความแวดล้อม คือ อาจ, สามารถ, เช่น เดินได้ เขียนได้ | ทรง | ใช้นำหน้าคำกริยาสามัญให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงทราบ ทรงยินดี ทรงขอบใจ ทรงยืน | เป็น ๑ | ก. คำกริยาสำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำกับคำเพื่อให้เห็นว่าคำหน้าและคำหลังมีภาวะ คือ ความมี ความเป็น เกี่ยวข้องกันอย่างไร เช่น ท่านเป็นเจ้า เขาเป็นนาย. | ผู้ | คำใช้ประกอบคำกริยาหรือประกอบคำวิเศษณ์ให้เป็นนามขึ้น เช่น ผู้กิน ผู้ดี. | ยัง | คำช่วยกริยาในประโยคคำถามปฏิเสธหรือประโยคปฏิเสธ โดยละกริยานั้นไว้ให้เข้าใจเอาเอง เช่น ถามว่า จะไปหรือยัง ตอบว่า ยัง, ถ้าใช้นำหน้าคำกริยาเข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า กริยานั้นกำลังกระทำอยู่ เช่น เขายังกินอยู่ เขายังนอนอยู่, ถ้าใช้นำหน้าคำวิเศษณ์เข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า ยังอยู่ในภาวะนั้น เช่น ยังเด็กอยู่ ยังสาวอยู่ ยังเช้าอยู่, ใช้ประกอบคำกริยาเชิงปฏิเสธที่เริ่มหรือกำหนดไว้แล้ว แต่ยังไม่เสร็จสิ้นลงไป เช่น ป่านนี้ยังไม่มา ทั้ง ๆ ที่น่าจะมาแล้ว, ใช้เข้าคู่กับคำอื่นเพื่อเชื่อมประโยคหน้ากับประโยคหลังที่มีข้อความในลักษณะคล้ายคลึงกันให้เนื่องกัน เช่น นอกจากโง่แล้วยังหยิ่งอีกด้วย นอกจากสวยแล้วยังรวยอีกด้วย. | ยังอีก | ใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ หมายความว่า ที่ยังไม่ได้ทำ ยังมีอยู่ เช่น งานที่ยังไม่ได้ทำ ยังอีกเยอะเลย | วิเศษณ-, วิเศษณ์ | (วิเสสะนะ-, วิเสด) น. คำจำพวกหนึ่งที่แต่งหรือขยายคำนาม คำกริยา หรือคำวิเศษณ์เพื่อบอกคุณภาพหรือปริมาณเป็นต้น เช่น คนดี นํ้ามาก ทำดี ดีมาก. | สม ๒ | ใช้ประกอบกับคำกริยาบางคำมีความหมายว่า ร่วมด้วยกัน รวมกัน เช่น สมคิด สมรู้. | หาไม่ ๒, หา…ไม่ | ว. ใช้ในความปฏิเสธ นิยมใช้คร่อมกับคำนามหรือคำกริยา เช่น หาใช่คนไม่ = ไม่ใช่คน หาพบไม่ = ไม่พบ. | อาการนาม | (อาการะนาม) น. คำนามที่บอกกิริยาอาการหรือความปรากฏเป็นต่าง ๆ ของคน สัตว์ และสิ่งของ ซึ่งมาจากคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ที่มักมีคำ “การ” หรือ “ความ” นำหน้า เช่น การยืน การเดิน การอยู่ ความรัก ความดี ความสวย. | อาขยาต | (-ขะหฺยาด) น. ชื่อคำกริยาประเภทหนึ่งในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต ประกอบด้วย ธาตุ วิภัตติ กาล บท พจน์ บุรุษ วาจก ปัจจัย เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกเนื้อความให้ชัดเจน เช่น กโรติ = ย่อมกระทำ ประกอบด้วย กรฺธาตุ ติวิภัตติ ปัจจุบันกาล ปรัสสบท เอกพจน์ ปฐมบุรุษ กัตตุวาจก โอปัจจัย. | อุปสรรค | คำสำหรับใช้เติมข้างหน้าคำนามหรือคำกริยาที่เป็นรูปคำบาลีหรือสันสกฤตให้มีความหมายแผกเพี้ยนไปจากเดิม หรือมีความหมายตรงข้ามกับความหมายเดิมเป็นต้น และถือเป็นคำเดียวกับคำนามหรือคำกริยานั้น เพราะตามปรกติจะไม่ใช้ตามลำพัง เช่น วัฒน์ = เจริญ อภิวัฒน์ = เจริญยิ่ง ปักษ์ = ฝ่าย ปฏิปักษ์ = ฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ศัตรู. |
| สดับปกรณ์ | เป็นทั้งคำกริยาและคำนามว่า สดับปกรณ์ (สะ-ดับ-ปะ-กอน) เป็นคำกริยา คือ บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย) ส่วนคำนามหมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุับันใช้เฉพาะเจ้านาย คำในภาษาบาลีเขียน สตฺตปฺปกรณ ส่วนภาษาสันสกฤตเขียน สปฺตปฺรกรณ หมายถึงพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ [ศัพท์พระราชพิธี] | Adverbials | คำกริยาวิเศษณ์ [TU Subject Heading] | Verb | คำกริยา [TU Subject Heading] | Verb phrase | คำกริยาที่เป็นวลี [TU Subject Heading] |
| | คำกริยา | [kham kriyā = kham kariyā] (n) EN: verb FR: verbe [ m ] | คำกริยาวิเศษณ์ | [kham kriyā wisēt] (n) EN: adverb FR: adverbe |
| active | (adj) ซึ่งประธานเป็นผู้กระทำ(คำกริยา) | adv | (n) คำกริยาวิเศษณ์ (คำย่อของ adverb), See also: คำช่วยกริยา | adverb | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำที่ทำหน้าที่ขยายกริยา คุณศัพท์ หรือคำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันเอง | adverbial | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ | at home with | (idm) (รู้สึก) สุขสบาย (มักใช้คำกริยา be หรือ feel) (คำไม่เป็นทางการ) | break | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา break, See also: แตกหัก, Syn. cracked | break | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา break, See also: แตกหัก, Syn. cracked | brought | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา bring, Syn. took | content word | (n) คำแสดงเนื้อหา (ทางไวยากรณ์ เช่น คำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ เป็นต้น), Syn. open-class word | does | (aux) กริยาช่องที่ 1 ของคำกริยา do | drank | (v) ดื่ม (กิริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา drink) | drawn | (vt) กิริยาช่อง 3 ของคำกริยา draw | drawn | (vi) กิริยาช่อง 3 ของคำกริยา draw | drew | (vi) กิริยาช่อง 2 ของคำกริยา draw | drew | (vt) กิริยาช่อง 2 ของคำกริยา draw | drove | (vi) กิริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา drive | drove | (vt) กิริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา drive | dug | (vi) กริยาช่อง 2 และ 3 ของคำกริยา dig | eaten | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา eat | eaten | (vi) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา eat | factitive | (adj) เกี่ยวกับคำกริยาที่ต้องการทั้งกรรมตรงและส่วนขยาย | frequentative | (adj) เกี่ยวกับคำกริยาที่แสดงการกระทำซ้ำๆ (ทางภาษาศาสตร์) | frequentative | (n) คำกริยาซ้ำ, See also: คำกริยากล้ำ | gave | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา give | gerund | (n) คำนามที่มาจากคำกริยาเติม ing | gnawn | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา gnaw | gnawn | (vi) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา gnaw | gone | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา go | gotten | (vi) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา get | gotten | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา get | graven | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา grave | grew | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา grow | inceptive | (n) คำกริยาที่แสดงการเริ่มต้นของการกระทำ (ทางภาษาศาสตร์) | inflection of verbs | (n) การผันคำกริยา (ทางไวยากรณ์), See also: วิภัตติ | knelt | (vi) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา kneel, Syn. knelled | knew | (vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา know | known | (vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา know, See also: รู้ | laid | (vt) คำกริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lay | laid | (vi) คำกริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lay | lain | (vi) คำกริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา lie | lay | (vi) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา lie, Syn. rest | leant | (vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lean | leant | (vi) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lean | led | (vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lead | led | (vi) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lead | left | (n) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา leave | lent | (vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lend | lent | (vi) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของคำกริยา lend | modal auxiliary | (n) คำกริยาช่วย, Syn. modal auxiliary verb | modal auxiliary verb | (n) คำกริยาช่วย, Syn. modal auxiliary |
| deponent | adj. เกี่ยวกับคำกริยาผิดรูป | impersonal | (อิมเพอ' ซะเนิล) adj. ไม่ใช่ส่วนตัว, ไม่มีลักษณะของมนุษย์, ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม. -n. คำกริยาหรือคำนามที่ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม. | inceptive | (อิมเซพ' ทิฟว) adj. เริ่มต้น, เริ่มแรกเกี่ยวกับกริยา (ไวยากรณ์) ที่เริ่มต้น. -n. คำกริยาที่แสดงการเริ่มต้น, Syn. inchoative | indicative | (อินดะเค' ทิฟว) adj. เป็นการชี้บอก, ซึ่งชี้แนะ, เป็นดรรชนี. -n. มาลาเล่าในไวยาการณ์, คำกริยาในมาลาบอกเล่าของไวยากรณ์., See also: indicatively adv., Syn. guiding | verb | (เวิร์บ) n. คำกริยา., See also: verbless adj. | verbal | (เวอ'เบิล) adj. เกี่ยวกับคำ, ประกอบด้วยคำเป็นคำพูด, ทีละคำ, เป็นวาจา, ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร, เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยคำกริยา.n. คำ, คำกริยา., See also: verbally adv., Syn. spoken, oral, stated, Ant. written, formal | verbal noun | n. คำนามที่มาจากคำกริยา | verbify | (เวอ'บิไฟ) vt. เปลี่ยนให้เป็นคำกริยา, ใช้คำกริยา., See also: verbification n. |
| | 放題 | [ほうだい, houdai] ...เท่าที่ต้องการ、มีไม่้อั้น (นิยมใชเติมหลังคำกริยา) | こっそり | [ほうだい, kossori] (adv) แอบทำ ขยายคำกริยาในประโยคว่าแอบทำ โดยที่ไม่ต้องการให้ใครรู้ | 助動詞 | [じょどうし, jodoushi] (n) คำกริยานุเคราะห์, See also: R. auxiliary verb | 副詞 | [ふくし, fukushi] (n) คำกริยาวิเศษณ์, See also: R. adverb |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |