ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ขึ้นต้น, -ขึ้นต้น- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ขึ้นต้น | (v) begin, See also: commence, start, Syn. เริ่ม, เริ่มต้น, เกริ่น, Ant. ลงท้าย, จบ, Example: เมื่อเขียนจดหมายถึงพ่อแม่ เรามักจะขึ้นต้นจดหมายว่ากราบเท้าคุณพ่อคุณแม่, Thai Definition: ตั้งต้นเรื่องหรือเริ่มลงมือเขียนตอนต้นเรื่อง | คำขึ้นต้น | (n) introduction, See also: preface, foreword, prologue, preamble, Syn. คำนำ, บทนำ, Example: หนังสือแนะนำเกี่ยวกับเรื่องการเขียนเล่มหนึ่งของฝรั่งให้คำขึ้นต้นในเรื่องการเขียนบทกวีไว้น่าท้อถอยสำหรับคนที่คิดจะเป็นกวี |
| ขึ้นต้นไม้สุดยอด | ก. ขึ้นถึงตำแหน่งสูงสุดแล้ว. | คำขึ้นต้น | น. คำใช้เขียนขึ้นต้นจดหมายถึงผู้รับตามฐานะของผู้รับแต่ละคน เช่น นมัสการ ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงพระภิกษุ เรียน ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงบุคคลธรรมดา | คำขึ้นต้น | คำใช้ขึ้นต้นสำหรับร้อยกรองบางประเภท เช่น บัดนั้น เมื่อนั้น ครานั้น สักวา. | กรวด ๒ | (กฺรวด) ว. สูงชัน เช่น หลังคากรวด, คู่กับ หลังคาดาด, ในคำประพันธ์ใช้ว่า จรวด หรือ ตรวด ก็มี เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้ (ม. ร่ายยาว ชูชก). | กระ ๔ | ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ. | กระหม่อม | คำสำหรับใช้ควบกับคำที่ขึ้นต้นว่า “เกล้า” เช่น ทราบเกล้าทราบกระหม่อม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ในการเขียนหนังสือใช้ไปยาลน้อยแทนก็ได้ เช่น ทราบเกล้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวาย. | กลอนบทละคร | น. กลอนเล่าเรื่อง ใช้เป็นบทแสดง วรรคแรกจะต้องขึ้นต้นด้วย เมื่อนั้น บัดนั้น หรือ มาจะกล่าวบทไป. | กลอนเพลงยาว | น. กลอนที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงความรัก หรือเล่าสู่กันฟัง เป็นต้น ขึ้นต้นด้วยวรรครับหรือวรรคที่ ๒ ของบท. | กัลป-, กัลป์ | (กันละปะ-, กัน) น. กัป, อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์มาล้างโลก ซึ่งได้แก่ช่วงเวลากลางวัน วันหนึ่งของพระพรหม คือ ๑, ๐๐๐ มหายุค (เท่ากับ ๔, ๓๒๐, ๐๐๐, ๐๐๐ ปีมนุษย์) เมื่อสิ้นกัลป์ พระอิศวรจะล้างโลกด้วยไฟประลัยกัลป์ โลกจะไร้สิ่งมีชีวิตและอยู่ในความมืดมนจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ แล้วพระพรหมก็จะสร้างโลกเป็นการขึ้นต้นกัลป์ใหม่ โลกจะถูกสร้างและถูกทำลายเช่นนี้สลับกันตลอดอายุของพระพรหม ทั้งนี้ตามคติของพราหมณ์, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ กัป เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. | ขอเดชะ | น. คำขึ้นต้นและคำลงท้ายในการกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ. | ขึ้นชื่อว่า | ใช้เป็นคำประกอบหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความ เช่น ขึ้นชื่อว่าคนพาลละก็ต้องหลีกให้ห่างไกล. | ขุนพัฒน์ | น. บุคคลที่ได้รับอนุญาตผูกขาดอากรการพนัน เพื่อส่งรายได้ให้แก่รัฐ, มาจากทินนามที่มีคำขึ้นต้นว่า พัฒน เช่น ขุนพัฒนสมบัติ ขุนพัฒนาภิรมย์. | คชนาม | น. นามราหู, อักษรชื่อที่ขึ้นต้นด้วย ย ร ล ว. | จตุรงคประดับ | (จะตุรงคะ-) น. ชื่อกลอนกลบทโบราณ มีบังคับพิเศษคือ กลอน ๔ วรรค ในแต่ละบทขึ้นต้นวรรคด้วยคำ ๒ คำซ้ำกัน ตัวอย่างว่า พระหน่อไทยได้สดับแสดงกิจ พระหน่อคิดจิตวาบระหวาบหวาม พระหน่อตรึกนึกคะเนคะนึงความ พระหน่อนามแจ้งกระจัดกระจ่างใจ (ชุมนุมตำรากลอน). | จับยาม | ก. นับยามตามหลักยามสามตา (ตรีเนตร) โดยนับตามหลัก ๓ หลัก คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร เวียนกันไป โดยนับขึ้นต้นที่อาทิตย์ ถ้าวันจับยามเป็นวันข้างขึ้น ให้นับเวียนขวาจากอาทิตย์ไปยังจันทร์และอังคาร ถ้าวันจับยามเป็นวันข้างแรม ให้นับเวียนซ้ายจากอาทิตย์ไปยังอังคารและจันทร์ แล้วทำนายตามตำรา. | ฉ่าง | ก. เสี่ยงทายว่าใครจะเป็นผู้ขึ้นต้น, ลองดูว่าท่าไหนจะดี, (โดยมากใช้สำหรับเล่นลูกเต๋าหรือไพ่). | ดอย ๓ | ก. ตอก เช่น ดอยลูกทอยขึ้นต้นไม้ | ดาว ๒ | น. ชื่อเสือชนิด Panthera pardus (Linn.) ในวงศ์ Felidae ขนาดใหญ่รองลงมาจากเสือโคร่ง ขนสีนํ้าตาลแกมเหลือง มีแต้มสีดำคล้ายรอยขยุ้มตีนหมากระจายทั่วตัว ว่องไว ปีนขึ้นต้นไม้ได้ดี บางตัวขนส่วนที่เป็นสีน้ำตาลแกมเหลืองเป็นสีดำ และมีแต้มสีดำอยู่ทั่วตัวเช่นกัน เห็นได้ชัดเมื่อถูกแสง เรียก เสือดำหรือเสือแมลงภู่. | ตรวด | (ตฺรวด) ว. กรวด, สูงชัน, เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้ (ม. ร่ายยาว ชูชก), ใช้ว่า จรวด ก็มี. | ตั้งต้น | ก. เริ่มทำ, ขึ้นต้น. | ตาไก่ | น. ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปคล้ายตาไก่ ดังนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สำหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ฟองมัน ก็เรียก | ตามที่จริง | สัน. คำขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร, ที่จริง หรือ อันที่จริง ก็ว่า. | ทะ ๑ | คำใช้นำหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ท ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ทะท่าว ทะทึก. | ที่จริง | ว. จริง, แท้, แน่นอน. สัน. คำขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร, อันที่จริง หรือ ตามที่จริง ก็ว่า. | แท้ที่จริง | ว. คำขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร มีความหมายอย่างเดียวกับ ที่จริง อันที่จริง ตามที่จริง. | ธรรมคุณ | น. ชื่อบทแสดงคุณของพระธรรม มีบาลีขึ้นต้นว่า สฺวากฺขาโต และลงท้ายว่า ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ. | นมักการ, นมัสการ | คำที่ใช้ขึ้นต้นและลงท้ายจดหมายที่มีไปถึงพระภิกษุสามเณร. | นารายณ์ประลองศิลป์ | น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดบังคับวรรคหนึ่ง ๙ คำ แบ่งเป็น ๓ จังหวะ จังหวะละ ๓ คำ แต่ละจังหวะให้ขึ้นต้นด้วยการซ้ำคำเดิม และ ๒ คำหลังให้สัมผัสเสียงพยัญชนะกันทั้ง ๓ จังหวะ ส่วน ๒ คำหลังของ ๒ จังหวะแรกให้ใช้เสียงสระเดียวกันเฉพาะแต่ละจังหวะ เช่น ระรื่นชื่นระรวยชวยระเริงฉาว จนข่าวหนาวจนเคืองเนื่องจนเขาหนี ทำซื่อดื้อทำสู้ดูทำสิ้นดี อารีชีอารอบชอบอารมณ์ชาย (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ). | บัดนั้น | ว. คำขึ้นต้นข้อความของบทละคร (ใช้แก่ตัวละครที่ไม่ใช่ตัวเจ้าหรือมิได้เป็นตัวเอกในตอนนั้น ๆ ). | ปากเป็ด ๒ | น. ชื่องูหลามชนิด Python curtus Schlegel ในวงศ์ Pythonidae ตัวอ้วนสั้นสีแดงหรือส้ม มีลายดำ เหลือง และเทา อาศัยตามโพรงไม้โพรงดินริมน้ำหรือฝังตัวในโคลนใต้วัชพืชริมฝั่งน้ำ ตามปรกติไม่ขึ้นต้นไม้ หากินตามพื้นดิน โดยการเฝ้ารอเหยื่อ กินหนู นกน้ำ พบทางภาคใต้ของประเทศไทยและมาเลเซีย ไม่มีพิษ. | ปี่แก้ว | น. ชื่องูขนาดเล็กถึงขนาดกลางหลายชนิด ในสกุล Oligodon วงศ์ Colubridae หัวหลิมเล็ก คอโต หางสั้น แต่ละชนิดมีสีสันและลวดลายต่างกัน อาศัยอยู่ตามซอกหินซอกดิน หากินตามพื้นดิน กินไข่นก ไข่สัตว์เลื้อยคลาน แมลง หนู สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ไม่ขึ้นต้นไม้ ทำเสียงขู่ได้ มีหลายชนิด เช่น ปี่แก้วใหญ่ [ O. joynsoni (Smith) ] ปี่แก้วลายกระหรืองอดด่าง [ O. cinereus (Günther) ] ไม่มีพิษ. | เปิงมางคอก | น. ชุดกลองเปิงมางจำนวน ๗ ลูก เทียบเสียงสูงต่ำแขวนเรียงไว้ในคอก ใช้ในวงปี่พาทย์มอญ เพื่อตีรัวนำก่อนเมื่อขึ้นต้นบรรเลงปี่พาทย์มอญตีขัดสอดประสานกับตะโพนมอญ. | พะอง | น. ไม้ไผ่ป่าตัดแขนงให้ยาวพอที่เท้าจะเหยียบขึ้นลงได้ สำหรับผูกพาดขึ้นต้นไม้ต่างบันได ถ้าต้นไม้สูงมากก็อาจใช้ไม้ไผ่หลายลำผูกต่อ ๆ กันขึ้นไป, โดยปริยายเรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. | ฟองมัน | น. ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปอย่างนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สำหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ตาไก่ ก็เรียก. | ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. | เมื่อนั้น | ว. คำขึ้นต้นข้อความของบทละคร (ใช้แก่ตัวละครที่เป็นตัวเจ้าหรือเป็นตัวเอกในตอนนั้น ๆ ). | แม่คู่ | น. นักสวดผู้ขึ้นต้นบท. | ยามสามตา | น. ชื่อวิธีจับยามของหมอดู ใช้นับตามหลัก ๓ หลัก คือ อาทิตย์ จันทร์ และอังคาร เวียนกันไป โดยนับขึ้นต้นที่อาทิตย์ ถ้าวันจับยามเป็นวันข้างขึ้น ให้นับเวียนขวาจากอาทิตย์ไปยังจันทร์และอังคาร ถ้าวันจับยามเป็นวันข้างแรม ให้นับเวียนซ้ายจากอาทิตย์ไปยังอังคารและจันทร์ แล้วทำนายตามตำรายามสามตาหรือตรีเนตร. | แย้ ๑ | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์ Uromastycidae ลำตัวแบนราบคล้ายกิ้งก่า ยาวประมาณ ๑๖ เซนติเมตร ข้างตัวมีสีสวย ไม่มีหนามสันหลัง อาศัยขุดรูอยู่ในดิน หากินตามพื้นดิน กินพืชและตัวอ่อนแมลง ไม่ขึ้นต้นไม้ ในประเทศไทยที่พบแล้วมี ๔ ชนิด คือ ชนิด Leiolepis belliana (Hardwick & Gray), L. reevesii (Gray), L. triploida Peters และ L. boehmei Darevski & Kupriyanova. | โยนกลอน | ก. ขึ้นต้นกลอนแล้วโยนให้คนอื่นแต่งต่อ. | รื้อร่าย | น. ชื่อทำนองเพลงร้องอย่างลำนำ ใช้ร้องขึ้นต้นเรื่อง มี ๒ ทำนอง คือ รื้อร่ายในที่ใช้ในการแสดงโขนและละครใน และรื้อร่ายนอกที่ใช้ในการแสดงละครนอกและการแสดงอื่น ๆ มีหุ่นกระบอกเป็นต้น. | เริ่มต้น | ก. ตั้งต้น, ขึ้นต้น, เช่น เขาเริ่มต้นถักเสื้อตัวใหม่แล้ว ครูเริ่มต้นแต่งคำประพันธ์. | เรียน ๑ | คำขึ้นต้นจดหมายหรือที่ใช้ในการจ่าหน้าซองในหนังสือราชการที่เขียนถึงบุคคลทั่วไป หรือจดหมายส่วนตัวที่บุคคลธรรมดาเขียนถึงกันเพื่อแสดงความนับถือ. | ลายสอ | น. ชื่องูขนาดกลางในวงศ์ Colubridae ยาวประมาณ ๑ เมตร ลำตัวสีน้ำตาล น้ำตาลอมแดง หรือน้ำตาลเข้ม มีลายเป็นแถบสีดำข้างลำตัว และสีน้ำตาลเข้มบนหลังตลอดตัว เกล็ดบนหลังมีสัน อยู่ตามพื้นดิน ไม่ขึ้นต้นไม้ หากินเวลากลางวัน กินกบ เขียด และสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก ดุแต่ไม่มีพิษ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น ลายสอบ้าน [ Xenochrophis piscator (Schneider) ] ลายสอหัวเหลือง [ Sinonatrix percarinata (Boulenger) ]. | ลิลิตดั้น | น. ลิลิตที่ใช้ร่ายดั้นขึ้นต้น แล้วใช้โคลงดั้นกับร่ายดั้นสลับระคนอยู่ในเรื่องเดียวกัน เช่น ลิลิตยวนพ่าย. | ลิลิตสุภาพ | น. ลิลิตที่ใช้ร่ายสุภาพหรือร่ายโบราณขึ้นต้น แล้วใช้โคลงสุภาพกับร่ายสุภาพหรือร่ายโบราณสลับระคนอยู่ในเรื่องเดียวกัน เช่น ลิลิตพระลอ ลิลิตตะเลงพ่าย ลิลิตนิทราชาคริต. | ว่าไปทำไมมี | ใช้เป็นคำขึ้นต้นประโยค หมายความว่า อันที่จริง เช่น ว่าไปทำไมมี เราคนกันเองทั้งนั้น. | ศุภมัสดุ | (-มัดสะดุ) น. ขอความดีความงามจงมี, เป็นคำใช้ขึ้นต้นลงท้ายในประกาศที่เป็นแบบหรือข้อความที่สำคัญ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ. | สร- ๓ | (สฺระ-) คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น สรนุก. | สรวมชีพ | ก. ขอชีวิต, ขอจงให้ชีวิตหรือปกป้องชีวิต, ใช้ขึ้นต้นคำกราบบังคมทูลอย่างขอเดชะ. |
|
| phak(o)-; phac(o)- | แก้วตา [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย phak(o)- ดูที่ phac- หรือ phaco- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | phak(o)-; phac(o)- | แก้วตา [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย phak(o)- ดูที่ phac- หรือ phaco- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | phac(o)-; phak(o)- | แก้วตา [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย phak(o)- ดูที่ phac- หรือ phaco- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | phac(o)-; phak(o)- | แก้วตา [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย phak(o)- ดูที่ phac- หรือ phaco- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pre-; prae- | ก่อน, ข้างหน้า [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย prae- ดูที่ pre- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prae-; pre- | ก่อน, ข้างหน้า [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย prae- ดูที่ pre- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | leuk-; leuc- | ขาว [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย leuk- ดูที่ leuc- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | leuc-; leuk- | ขาว [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย leuk- ดูที่ leuc- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | oesophag-; esophag- | หลอดอาหาร [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย esophag- ดูที่ oesophag- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | carriage-return line feed (CRLF) | อักขระขึ้นต้นบรรทัดใหม่ (ซีอาร์แอลเอฟ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | CRLF (carriage-return line feed) | ซีอาร์แอลเอฟ (อักขระขึ้นต้นบรรทัดใหม่) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | esophag-; oesophag- | หลอดอาหาร [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย esophag- ดูที่ oesophag- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | haem-; hem- | เลือด [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย "hem- เลือด" ดูที่ haem- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | hem-; haem- | เลือด [ ศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย "hem- เลือด" ดูที่ haem- ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] |
| คำขึ้นต้น | [kham kheun ton] (n, exp) EN: form of address |
| begin | (vi) ขึ้นต้น, See also: ตั้งต้น | commence | (vt) ตั้งต้น, See also: เริ่มต้น, ขึ้นต้น, Syn. begin, start | commence | (vi) ตั้งต้น, See also: เริ่มต้น, ขึ้นต้น, Syn. begin, start | darling | (n) คำเรียกขานแสดงการทักทาย (ใช้กับคนคุ้นเคย) เพื่อขึ้นต้นย่อหน้าในจดหมาย, See also: ที่รัก, ยอดรัก, สุดที่รัก, Syn. honey, sweetheart, dear | intro | (n) คำนำ (ภาษาพูด), See also: คำขึ้นต้น | K | (abbr) คำย่อของหน่วยวัดซึ่งขึ้นต้นด้วยกิโล | madam | (n) คุณผู้หญิง (คำสุภาพใช้ขึ้นต้นในการเขียนจดหมาย), Syn. Mrs, madam, dame, mam | salutation | (n) คำทักทาย (คำขึ้นต้นจดหมาย), Syn. address | Sir | (n) คำเรียกขึ้นต้นจดหมาย, Syn. Mister, Your Honor, Your Excellency, Your Majesty | tree | (vt) ไล่ขึ้นต้นไม้ | v | (abbr) ตัวย่อคำที่ขึ้นต้นด้วยอักษร v (เช่น verse, versus, very) |
| * | เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ | asterisk | (แอส'เทอริสคฺ) n. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) , สิ่งที่มีลักษณะคล้ายดาว. -vt. ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์หรือดาว ดอกจัน <คำแปล>* <เครื่องหมาย>เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ | file name | ชื่อแฟ้ม (ข้อมูล) แฟ้มข้อมูลก็ดี โปรแกรมหรือชุดคำสั่งก็ดี จะต้องมีชื่อที่ ไม่ซ้ำกัน เพื่อให้ผู้ใช้ติดต่อสั่งงานกับคอมพิวเตอร์ได้เมื่อ ต้องการ เรียกใช้ระบบปฏิบัติการแต่ละระบบ จะมีข้อกำหนด กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลไว้ เป็นต้นว่า ระบบดอสและวินโดว์ มีข้อกำหนดว่า ชื่อของแฟ้ม ข้อมูล จะต้องยาวไม่เกิน 8 ตัวอักขระ (ตัวอักษรหรือตัวเลข) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ต้องไม่มีช่องว่าง ฯ และที่สำคัญที่สุด คือตั้งชื่อเป็นภาษาไทยไม่ได้โดยเด็ดขาด นอกจากนั้น อาจจะต้องมีนามสกุล (filetype) ซึ่งต้องประกอบด้วย 3 ตัวอักษร ส่วนระบบของแมคอินทอช มีข้อจำกัดน้อยกว่านั้น มาก เช่น จะใช้ภาษาไทยก็ได้ | kinkajou | (คิง'คะจู) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชอบขึ้นต้นไม้หางของมันใช้จับกิ่งไม้ได้เหมือนลิง | tree | (ทรี) n. ต้นไม้ยืนต้น, ต้นไม้, vt. ไล่ขึ้นต้นไม้, แผ่ออกเป็นรูปต้นไม้. -up a tree ในสภาพที่ลำบาก. | wildcards | สัญลักษณ์ตัวแทนหมายถึงตัวอักขระหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวอักขระใด ๆ ก็มักใช้เมื่อต้องการสั่งให้มีการค้นแต่ไม่สามารถจะบอกรายละเอียดต่าง ๆ ได้ทั้งหมด แม้แต่ชื่อก็อาจรู้แต่เพียงขึ้นต้นด้วยตัว S ในกรณีเช่นในระบบดอสกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์ตัวแทนได้ 2 แบบ คือ 1. เครื่องหมายดอกจัน (*) ใช้แทนอักขระ ใด ๆ ก็ได้กี่ตัวก็ได้ 2. สัญลักษณ์ ?แทนอักขระใดก็ได้?แต่จำกัดเพียงตัวเดียวเช่น s*.xls sale.xls *.bmp arches.bm s????.* sweet.doc ?m.* om.pm4 suga?.??? sugar.txt *.* ทุกแฟ้ม WIMP : วิมพ์เป็นตัวย่อของคำต่อไปนี้คือ windows, icons, menus, pointing device ซึ่งหมายถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในระบบกูอี (GUI) แทนที่จะใช้วิธีการพิมพ์คำสั่งเป็นการเปรียบเทียบระหว่างดอสและวินโดว์ |
| foreword | (n) คำนำ, คำขึ้นต้น, คำปรารภ, สารบัญ | salutation | (n) การคารวะ, การคำนับ, การยิงสลุต, คำอวยพร, การขึ้นต้นจดหมาย |
| cfs : container freight station | [ซีเอ็ฟเอ็ส : คอนเท็นเน่อร์เฟรจสเตชั่น] (n) บริการนำสินค้าใส่ตู้และนำออกจากตู้ที่สถานีขนถ่ายสินค้าในตู้คอนเท็นเน่อร์ ผู้ส่งออกต้องนำตัวสินค้าไปส่งมอบให้แก่ผู้ประกอบการขนส่งที่ต้นทาง เพื่อให้ผู้ประกอบการขนส่งบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์ให้ CFS Charge จะเรียกเก็บจากผู้ส่งออก หรือผู้นำเข้าแล้วแต่กรณีของ INCOTERMS® หากขึ้นต้นด้วยตัวอักษร C เช่น CPT หรือ CIP จะเก็บจากผู้ส่งออก หากขึ้นต้นด้วยอักษร F เช่น FCA จะเก็บจากผู้นำเข้า และค่าบริการนี้จะรวมถึงเมื่อตู้สินค้าถึงปลายทางตัวแทนผู้ประกอบการที่ปลายทางจะทำการเปิดตู้นำสินค้าออกให้ที่ CFS เช่นเดียวกัน : awp |
| Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค)เช่น Sie sind groß. | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. | Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? | Ihnen | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. | Ihnen | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. | je nachdem | ขึ้นอยู่กับว่า (มักตามด้วยวลีที่ขึ้นต้นด้วย wann / wie / wieviel / ob) เช่น Ich werde meiner Freundin ein Buch oder eine Handtasche zu ihrem Geburtstag schenken, je nachdem wieviel Geld ich in diesem Monat übrig habe. ผมจะให้หนังสือหนึ่งเล่มหรือกระเป๋าถือหนึ่งใบเป็นของขวัญวันเกิดแก่แฟนผม แต่มันขึ้นกับว่าผมมีเงินเหลืออยู่เท่าไหร่เดือนนี้ | wann | เมื่อไหร่ (ขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Wann bist du fertig? เมื่อไหร่เธอถึงเสร็จล่ะ | was | อะไร (ขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Was bedeutet das? มันหมายความว่าอะไร | wie | อย่างไร (ขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Wie kommt man zu ihm? พวกเราไปที่บ้านของเขา(ไปหา)ได้อย่างไร | Präposition | (n) |die, pl. Präpositionen| คำบุพบท, คำที่ส่วนใหญ่อยู่หน้าคำนามหรือสรรพนามเพื่อบ่งสถานที่หรือเวลา ในภาษาเยอรมันคำบุพบทอาจตามด้วย Dativ หรือ Akkusativ ซึ่งถูกกำหนดโดยคำถามที่ขึ้นต้นด้วย wo หรือ wohin ถ้าประโยคนั้นตอบคำถาม wo บุพบทตามด้วย Dativ และถ้าประโยคนั้นตอบคำถาม wohin ที่บ่งการเคลื่อนไหวบุพบทตามด้วย Akkusativ นอกเหนือจากนี้คำบุพบทยังสามารถตามด้วย Genetiv ก็ได้ Präpositionen mit Dativ เช่น aus, von, nach, zu, bei, mit, seit, gegenüber ส่วน Präpositionen mit Akkusativ เช่น bis, gegen, ohne, um, durch, per |
| mademoiselle | เป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), See also: madame, Ant. monsieur, Related: madame | monsieur | เป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของผู้ชาย คล้ายกับ นาย ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Monsieur Allongue ในภาษาเขียน ย่อเป็น M. Allongue (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม monsieur ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), Ant. madame, mademoiselle | la | คำนำหน้านามเพศหญิงที่เฉพาะเจาะจง เช่น la jupe กระโปรงนี้, ใช้ l' ถ้าคำนามนั้นขึ้นต้นด้วยสระหรือ h ที่ไม่ออกเสียง เช่น l'adresse ที่อยู่นี้, See also: le | le | คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง เช่น le film ภาพยนต์เรื่องนี้, le cinéma โรงหนังนี้, ใช้ l' ถ้าคำนามนั้นขึ้นต้นด้วยสระหรือ h ที่ไม่ออกเสียง เช่น l'hôtel, See also: la | où | ที่ไหน (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Il habite où? = Où est-ce qu'il habites? เขาอยู่ที่ไหน, Tu vas où en vacances? เธอไปเที่ยวพักร้อนที่ไหน | comment | อย่างไร (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Elle danse comment? = Comment est-ce qu'elle danse? หล่อนเต้นรำอย่างไร | Pourquoi | ทำไม (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Pourquoi tu déménages? = Pourquoi est-ce que tu déménages? ทำไมเธอถึงย้ายบ้าน | quand | เมื่อไหร่ (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Tu sors quand? = Quand est-ce que tu sors? เธอออกไปเมื่อไหร่ | que | อะไร (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Qu'est-ce que tu prends? เธอเอาอะไร, Qu'est-ce qu'on fait? เราทำอะไรอยู่ | quel, quelle, quelles | |m/pl. quels, f. quelle, f/pl. quelles| ประเภทไหน, ชิ้นไหน (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Il aime quel film? = Quel film est-ce qu'il aime? หนังประเภทไหนที่เขาชอบ | à quelle heure | กี่โมง, เวลาเท่าไหร่ (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Ce film commence à quelle heure? = A quelle heure est-ce que ce film commence? ภาพยนต์เรื่องนี้เริ่มฉายกี่โมง | combien | เท่าไหร่ (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น ça coûte combien? = Combien est-ce que ça coûte? นี่ราคาเท่าไหร่ | consonne | (n) |f, pl. -s| พยัญชนะ, สระอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) é: e accent aigu è: e accent grave ê: e accent circonflexe ë: e tréma ç ตัวอักษรที่เรียกว่า cédille (เซดีย์) ใช้เปลี่ยงเสียงคำที่ขึ้นต้นด้วย ca, co, cu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ค ให้เป็น ça, ço, çu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ส | nouveau | (adj) |f. nouvelle| ใหม่ เช่น Ce livre est nouveau. -หากใช้ติดกับคำนามให้วางไว้หน้าคำนามเพศชายเอกพจน์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ เช่น C'est un nouveau livre. -หากคำนามเป็นเพศชายเอกพจน์ขึ้นต้นด้วยสระใช้ nouvel เช่น C'est mon nouvel ami. -หากเป็นคำนามเพศชายพหูพจน์ ให้ใช้ nouveaux เช่น Ce sont les nouveaux livres. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |