ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การศึก, -การศึก- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ Terms of Reference | (n, phrase) ขอบเขตของงาน, รายละเอียด เงื่อนไขหรือข้อกำหนด, ข้อกำหนดการศึกษา |
| |
| การศึก | (n) war, See also: battle, conflict, combat, fight, campaign, Syn. การสงคราม, การต่อสู้, การรบ, การรบทัพจับศึก, Example: ในสมัยโบราณ นายทัพนายกองต้องเตรียมพร้อมและเรียนรู้การศึกการสงครามจากราชครู, Thai Definition: การใช้กำลังเข้าประหัตประหารกันอย่างรุนแรงระหว่างรัฐหรือประเทศตั้งแต่ 2 รัฐหรือ 2 ประเทศขึ้นไป, การต่อสู้กันระหว่างบุคคลกับบุคคลหรือระหว่างพวกหนึ่งกับอีกพวกหนึ่ง, โดยปริยายหมายถึงการเกิดขัดแย้งต่อสู้เป็นปฏิปักษ์ขึ้นในใจ | การศึกษา | (n) education, See also: study, learning, Syn. การเรียน, การเล่าเรียน, การเรียนรู้, การศึกษาเล่าเรียน, การหาความรู้, Example: การศึกษาในมหาวิทยาลัยทำให้ความคิดของเขาเปลี่ยนไปมาก | ปีการศึกษา | (n) academic year, See also: school year, Example: สถาบันเอชียตะวันออกศึกษาจะเปิดสอนวิชาภาษาเกาหลีในปีการศึกษา 2545, Count Unit: ปี, Thai Definition: ช่วงเวลาที่สถานศึกษาทำการสอนในรอบหนึ่งปี | กฎอัยการศึก | (n) martial law, Example: การยึดอำนาจครั้งนี้ดำเนินไปด้วยความละมุนละม่อมเป็นพิเศษ แม้จะมีประกาศกฎอัยการศึกแต่สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ก็เปิดโอกาสให้นักศึกษา และนักการเมืองออกมาเคลื่อนไหวได้ค่อนข้างสะดวก, Count Unit: กฎ, Thai Definition: กฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นไว้สำหรับประกาศใช้เมื่อมีเหตุจำเป็น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่นในกรณีเกิดสงคราม การจราจล ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึกเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการยุทธ์ | ขาดการศึกษา | (v) be uneducated, Syn. ไม่มีการศึกษา, ไร้การศึกษา, Ant. มีการศึกษา, Example: ประชาชนในชนบทยังขาดการศึกษาอยู่มาก, Thai Definition: ไม่ได้เรียนหนังสือหรือเรียนมาน้อย | ทุนการศึกษา | (n) scholarship, See also: education fund, Syn. ทุนเล่าเรียน, Example: รัฐบาลมอบทุนการศึกษาให้กับเด็กในชนบท, Count Unit: ทุน | นักการศึกษา | (n) educator, See also: pedagogue, instructor, principal, educationist, Example: ปัจจุบันนักการศึกษามุ่งสนใจพัฒนาการเด็กให้สามารถใช้สติปัญญาของเขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา | วุฒิการศึกษา | (n) educational background, Thai Definition: คนที่มีหน้าที่ดูแลทำความสะอาด หรือดูแลความเรียบร้อย | สื่อการศึกษา | (n) learning aid, See also: study aid, Syn. สื่อการเรียนการสอน, Example: การเรียนการสอนในปัจจุบันนี้ต้องมีสื่อการศึกษาที่ดี จึงจะทำให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ, Count Unit: สื่อ, Thai Definition: วิธีการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้เป็นสื่อในการศึกษา | สถิติการศึกษา | (n) educational statisics, Example: สถิติการศึกษาของคนไทยในปัจจุบันระบุว่า คนไทยมีการศึกษาสูงขึ้น | ไม่มีการศึกษา | (v) be uneducated, See also: be illiterate, be ignorant, Syn. การศึกษาต่ำ, ไม่มีคุณวุฒิ, ไร้การศึกษา, Example: คนพวกนี้ไม่มีการศึกษาอธิบายไปก็ไม่เข้าใจเสียเวลาเปล่าๆ, Thai Definition: ไม่ได้เรียนหนังสือตามเกณฑ์ที่กำหนด | สถาบันการศึกษา | (n) educational institution, Example: การแก้ปัญหาความมักง่ายเห็นแก่ตัวต้องแก้ที่สถาบันการศึกษา ครอบครัว ฯลฯ, Count Unit: แห่ง | สำเร็จการศึกษา | (v) graduate, Syn. เรียนจบ, Example: พระองค์ท่านทรงสำเร็จการศึกษาอักษรศาสตร์บัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Thai Definition: เรียนได้ครบตามหลักสูตรที่กำหนด | การศึกษานอกระบบ | (n) nonformal education, Example: การศึกษานอกระบบยังไม่ค่อยได้ผลดีเท่าที่ควร | พื้นฐานการศึกษา | (n) foundation of education, See also: educational foundation, Example: คนงานพวกนี้มีพื้นฐานการศึกษาต่ำ จะไปรู้เรื่องอะไร, Thai Definition: ระดับการศึกษาที่ได้เล่าเรียนมา | การศึกษาระดับสูง | (n) advanced education, See also: advanced study, Example: โรงเรียนจัดให้มีการแนะแนวเรื่องการศึกษาระดับสูงขึ้น | การบริหารการศึกษา | (n) education administration, Syn. การจัดการการศึกษา, Example: ปัจจุบันยังไม่มีการมอบอำนาจการบริหารการศึกษาส่วนกลางไปยังส่วนท้องถิ่น หรือส่วนภูมิภาคเท่าที่ควร | การศึกษาต่อเนื่อง | (n) continuous education, Example: ทางมหาวิทยาลัยจัดให้มีการอภิปรายเรื่องการศึกษาต่อเนื่อง, Count Unit: วิชา | การศึกษาเฉพาะกรณี | (n) case study, Example: การศึกษาเฉพาะกรณีทำให้ทราบถึงปัญหาของเรื่องนั้นๆอย่างชัดเจน | ผู้สำเร็จการศึกษา | (n) graduate, Syn. บัณฑิต, Example: ในปีการศึกษานี้ มีผู้สำเร็จการศึกษามากกว่าปีที่ผ่านมาเป็นจำนวนมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้จบการศึกษาตามหลักสูตร | การศึกษานอกสถานที่ | (n) field trip, Example: โรงเรียนจัดการศึกษานอกสถานที่เพื่อให้เด็กนักเรียนได้เปิดหูเปิดตา | สถานภาพทางการศึกษา | (n) educational status | กรมการศึกษานอกโรงเรียน | (n) Department of Non-Formal Education, Example: การจัดห้องสมุดประชาชนโดยทั่วไปอยู่ในความรับผิดชอบของกรมการศึกษานอกโรงเรียนเป็นการศึกษาในรูปอเนกประสงค์, Count Unit: กรม | สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน | (n) Office of Private Education Commission, Syn. สช., Example: จังหวัดสิงห์บุรีมีโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนอยู่ 17 โรงเรียนด้วยกัน | มูลนิธิการศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม | (n) the harry durance foundation for education in Thailand, See also: foundation/charity/philanthropy for education, Syn. องค์กรการศึกษา | มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนา | (n) The Education for Development Foundation, See also: EDF, Example: มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนาได้มีการจัดการประชุมสรุปผลการทำงานประจำปีขึ้น ที่สวนเพชรรีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี, Thai Definition: องค์กรอาสาสมัครที่ไม่แสวงหาผลกำไร ให้ทุนการศึกษาเพื่อช่วยเหลือเยาวชนที่ต้องการเรียนต่อในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่ครอบครัวไม่สามารถจะสนับสนุนให้เรียนต่อได้ อันเนื่องมาจากความยากจน | สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ | (n) Office of the National Education Commission, See also: ONEC, Syn. สกศ., Example: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติมุ่งสรรหาครูที่มีผลงานการสอนดีเด่น เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นครูต้นแบบ |
| กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. | ปีการศึกษา | น. ช่วงเวลาที่สถานศึกษาทำการสอนในรอบ ๑ ปี. | สื่อการศึกษา | น. วิธีการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นสื่อในการศึกษา. | ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล | น. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน. | ครุศาสตร์ | (คะรุสาด) น. วิชาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู ประกอบด้วยวิชาการศึกษาเป็นต้น. | คลื่นลูกใหม่ | น. คนรุ่นใหม่ที่มีการศึกษาและมีความคิดก้าวหน้าที่เข้ามามีบทบาทในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ แทนคนรุ่นเก่า. | ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน | คุณวุฒิ | (คุนนะวุดทิ, คุนนะวุด) น. ความรู้ความสามารถของบุคคล, ระดับการศึกษา, เช่น เขามีคุณวุฒิเหมาะจะเป็นครู. | คู่มือ | น. สมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตำรา เพื่ออำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนำวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง. | เคมีอนินทรีย์ | (-อะนินซี) น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธาตุทั้งสิ้นและสารประกอบของธาตุเหล่านั้น ยกเว้นธาตุคาร์บอนซึ่งศึกษาแต่เพียงตัวธาตุคาร์บอน สารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนตเท่านั้น. | เคมีอินทรีย์ | น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต. | โครงการพระดาบส | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้มีสถานที่สอนความรู้วิชาชีพต่าง ๆ เช่น วิชาช่างไฟฟ้า วิชาช่างเครื่องยนต์ วิชาช่างวิทยุโทรทัศน์ ให้แก่บุคคลทั่วไป โดยไม่จำกัด เพศ วัย และวุฒิการศึกษา โดยครูที่มีความรู้และยินดีอาสาสมัครสอนให้เป็นวิทยาทาน เปรียบเสมือนพระดาบสในสมัยโบราณที่มีกุศลศรัทธาที่จะถ่ายทอดศิลปศาสตร์ให้แก่ลูกศิษย์ โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ เริ่มดำเนินการโครงการมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ต่อมาได้จดทะเบียนเป็นโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส และจัดตั้งเป็นมูลนิธิพระดาบสเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของโครงการพระดาบส และกิจการของโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส. | จริยศึกษา | น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม. | จิตเวชศาสตร์ | (จิดตะเวดชะ-) น. วิชาแพทย์แขนงหนึ่งที่เกี่ยวกับการศึกษาการตรวจรักษาและป้องกันโรคของจิตใจ เช่น โรคประสาท โรคจิต. | ชาวบ้าน | น. ผู้ที่อยู่ในพื้นถิ่นหนึ่ง ๆ เช่น ชาวบ้านแถบอัมพวา, ประชาชนทั่วไป เช่น ชาวบ้านอย่างเราจะไปรู้เรื่องอะไร, ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ และมีวิถีชีวิตแบบบรรพกาล, ผู้ที่มีชีวิตแบบเรียบง่าย ธรรมดา มักจะด้อยการศึกษา. | ตรีโกณมิติ | (ตฺรีโกน-) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยฟังก์ชันของตัวแปรจริง ซึ่งแทนขนาดของมุมในรูปสามเหลี่ยม, คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการใช้ฟังก์ชันของมุมเป็นรากฐานในการศึกษาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหรือรูปอื่นใดที่ทอนลงมาเป็นรูปสามเหลี่ยมได้. | ตอร์ปิโด | น. อาวุธประเภทลูกระเบิดที่ยิงให้พุ่งไปใต้นํ้า เพื่อทำลายที่หมายในการศึก, ลักษณนามว่า ลูก. | ทัศนศึกษา | น. การเรียนรู้ด้วยการดูการเห็น, การศึกษานอกสถานที่. | นักท่องเที่ยว | น. บุคคลที่เดินทางจากท้องที่อันเป็นถิ่นที่อยู่โดยปรกติของตนไปยังท้องที่อื่นเป็นการชั่วคราวด้วยความสมัครใจ และด้วยวัตถุประสงค์อันมิใช่เพื่อไปประกอบอาชีพหรือหารายได้ เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษาหาความรู้ การบันเทิง. | นักเรียน | น. ผู้ศึกษาเล่าเรียน, ผู้รับการศึกษาจากโรงเรียน. | นิเวศวิทยา | การศึกษาเกี่ยวกับการดัดแปลงวัฒนธรรมของมนุษย์ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม. | แนวคิด | น. ความคิดที่เป็นแนวที่จะดำเนินต่อไป เช่น แนวคิดในการปฏิรูปการศึกษา. | บัณฑิต | (บันดิด) น. ผู้ทรงความรู้, ผู้มีปัญญา, นักปราชญ์, ผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาซึ่งมี ๓ ขั้น คือ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก เรียกว่า บัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต, ผู้มีความสามารถเป็นพิเศษโดยกำเนิด เช่น คนนี้เป็นบัณฑิตในทางเล่นดนตรี. | บุพพาจารย์ | น. อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดามารดา, อาจารย์คนก่อน ๆ ของสถาบันการศึกษา. | บุรพาจารย์, บูรพาจารย์ | (บุระ-, บูระ-) น. อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดามารดา, อาจารย์คนก่อน ๆ ของสถาบันการศึกษา. | ใบสุทธิ | น. เอกสารแสดงวิทยฐานะและความประพฤติเป็นต้นของบุคคลผู้ถือเมื่อลาออกหรือจบการศึกษาชั้นสูงสุดของโรงเรียน. | ปฐมนิเทศ | (ปะถมมะ-, ปะถม-) น. การแนะนำชี้แนวเพื่อการศึกษาและการทำงานในเบื้องต้น. | ประชากรศาสตร์ | น. การศึกษาทางสถิติเกี่ยวกับประชากรในแง่อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่น และการกระจาย เป็นต้น รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ. | ประชาบาล | น. การศึกษาของท้องถิ่น มีราชการบริหารส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการ, เรียกโรงเรียนประเภทนี้ ว่า โรงเรียนประชาบาล | ประเมินผล | วัดคุณค่าหรือผลความก้าวหน้าการศึกษา เช่น การสอบไล่เป็นวิธีประเมินผลการศึกษาวิธีหนึ่ง. | ประโยชน์ | (ปฺระโหฺยด) น. สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้, ผลที่ได้ตามต้องการ, สิ่งที่เป็นผลดีหรือเป็นคุณ, เช่น ประโยชน์ของการศึกษา ประโยชน์ของโรงเรียน. | ปริญญาบัตร | น. บัตรที่แสดงวิทยฐานะของผู้สำเร็จการศึกษาว่ามีศักดิ์และสิทธิ์ระดับปริญญา. | ปัจจัย | น. เหตุอันเป็นทางให้เกิดผล, หนทาง, เช่น การศึกษาเป็นปัจจัยให้เกิดความรู้ความสามารถ, องค์ประกอบ, ส่วนประกอบ, เช่น ปัจจัยในการผลิต, คำ “ปัจจัย” กับ คำ “เหตุ” มักใช้แทนกันได้ | ฝึกสอน | ก. ฝึกหัดการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรวิชาการศึกษา | พรหมจรรย์ | น. การศึกษาปรมัตถ์, การศึกษาพระเวท | พลศึกษา | (พะละ-) น. การศึกษาที่จะนำไปสู่ความเจริญงอกงามและพัฒนาการทางร่างกาย. | พัดยศ | น. พัดพิเศษที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ภิกษุสามเณรที่สอบเปรียญธรรมได้ตั้งแต่ ๓ ประโยคขึ้นไป หรือแก่พระภิกษุที่มีความรู้ ความสามารถในการศึกษา การบริหาร หรือการเผยแผ่พระศาสนา เป็นต้น เป็นเครื่องหมายแสดงลำดับชั้นแห่งสมณศักดิ์ มีรูปและชื่อต่าง ๆ กัน คือ พัดหน้านาง พัดพุดตาน พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์. | พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน | (พิพิดทะพัน, -พันทะสะถาน) น. สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ. | พีชคณิต | (พีชะคะนิด) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้สัญลักษณ์มาศึกษาการจำแนกประเภท คุณสมบัติ และโครงสร้างของระบบจำนวนหรือระบบคณิตศาสตร์อื่น ๆ ที่เน้นในเรื่องโครงสร้างเป็นสำคัญ รวมถึงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้นด้วย. | พื้นดี | ว. ที่ได้รับการศึกษาอบรมมาดี. | พุทธิศึกษา | น. การศึกษาที่เน้นในเรื่องการสอนให้เกิดความรู้ความคิดอย่างมีเหตุผล. | ภาค, ภาค- | (พาก, พากคะ-) น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. | ภาคเรียน | น. ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดทำการสอนติดต่อกัน ตามปรกติปีการศึกษาหนึ่ง ๆ จะแบ่งออกเป็น ๒-๓ ภาคเรียน. | มหาดไทย | น. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัยโบราณ มีสมุหนายกเป็นประธาน, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข การพัฒนาชนบทและชุมชน การส่งเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันสาธารณภัย การผังเมือง การโยธา และการราชทัณฑ์. | มหาวิทยาลัย | (มะหาวิดทะยาไล) น. สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา รวมทั้งดำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ. | มัธยมศึกษา | (มัดทะยมมะ-, มัดทะยม-) น. การศึกษาระหว่างประถมศึกษากับอุดมศึกษา. | มูลนิธิ | (มูนละ-, มูน-) น. ทรัพย์สินที่จัดสรรไว้โดยเฉพาะสำหรับวัตถุประสงค์เพื่อการกุศลสาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา หรือเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างอื่น โดยมิได้มุ่งหาผลประโยชน์มาแบ่งปันกัน และได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว. | รถศึก | น. รถเทียมม้าที่ใช้ในการศึกสงครามสมัยโบราณ ปรกติมี ๒ ล้อ. | รอมร่อ | (รอมมะร่อ) ว. ในระยะทางหรือเวลาอันใกล้จวนเจียน เช่น จะสำเร็จการศึกษาอยู่รอมร่อ จะถึงบ้านอยู่รอมร่อ, รำมะร่อ ก็ว่า. | รับทุน | ก. รับเงินอุดหนุน เช่น รับทุนการศึกษา. |
| population studies | การศึกษาประชากร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | private education | การศึกษาเอกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | prospective study; study, cohort | การศึกษาตามแผน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | public education | การศึกษาของรัฐ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | law, martial | กฎอัยการศึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, martial | กฎอัยการศึก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | level of education | ระดับการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | level of enrollment | ระดับการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | retrospective study | การศึกษาย้อนหลัง [ มีความหมายเหมือนกับ case control ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | structural-functional approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงโครงสร้างและหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | studies, analytical | การศึกษาเชิงวิเคราะห์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | studies, country | ประเทศศึกษา, การศึกษารายประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | study, cohort; study, prospective | การศึกษาตามแผน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | study, doubled blind cross-over | การศึกษาข้ามกลุ่มแบบอำพรางสองฝ่าย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | study, prospective; study, cohort | การศึกษาตามแผน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | scholarship holder | ผู้รับทุนการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | subjective approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงจิตวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | study, retrospective | การศึกษาย้อนหลัง [ มีความหมายเหมือนกับ case control ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | school fees insurance | การประกันชีวิตเพื่อการศึกษา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | objective approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงวัตถุวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | angiography | ๑. การบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดหรือหลอด น้ำเหลือง๒. ตำราว่าด้วยหลอดเลือดและหลอดน้ำเหลือง๓. การศึกษาหลอดเลือดและหลอดน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | analytical studies | การศึกษาเชิงวิเคราะห์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach | ๑. แนวเข้าสู่การศึกษา๒. การทาบทาม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach, functional | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach, normative | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach, objective | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงวัตถุวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach, structural-functional | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงโครงสร้างและหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach, subjective | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงจิตวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | approach, traditional | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงประเพณี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | martial law | กฎอัยการศึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | martial law | กฎอัยการศึก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | change of track | การเปลี่ยนสายการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | country studies | ประเทศศึกษา, การศึกษารายประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | control, case | ๑. กลุ่มควบคุม (ตัวแปร)๒. การศึกษาย้อนหลัง [ มีความหมายเหมือนกับ study, retrospective ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | case control | ๑. กลุ่มควบคุม (ตัวแปร)๒. การศึกษาย้อนหลัง [ มีความหมายเหมือนกับ study, retrospective ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | case control | ๑. กลุ่มควบคุม (ตัวแปร)๒. การศึกษาย้อนหลัง [ มีความหมายเหมือนกับ study, retrospective ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | compulsory education | การศึกษาภาคบังคับ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | compulsory education | การศึกษาภาคบังคับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | cohort study; study, prospective | การศึกษาตามแผน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chronistics | การศึกษาช่วงวิวัฒนาการ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | demographic study | การศึกษาเชิงประชากรศาสตร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | doubled blind cross-over study | การศึกษาข้ามกลุ่มแบบอำพรางสองฝ่าย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | dactylography | การศึกษาลายพิมพ์นิ้วมือ (หรือเท้า) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | family-planning education | การศึกษาการวางแผนครอบครัว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | feasibility study | การศึกษาความเป็นไปได้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | functional approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | educational attainment statistics | สถิติระดับชั้นที่สำเร็จการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | educational institution | สถาบันการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | educational insurance | การประกันชีวิตเพื่อการศึกษา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | educational status | สถานภาพทางการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
| Instructional Media | สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Interaction Model | การศึกษาแบบจำลองการปฏิสัมพันธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library use studies | การศึกษาการใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Educational technologist | นักเทคโนโลยีทางการศึกษา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Library and continuing education | ห้องสมุดกับการศึกษาต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Future study | การศึกษาภาวะเศรษฐกิจในอนาคต [เศรษฐศาสตร์] | Consumer education | การศึกษาเพื่อผู้บริโภค [เศรษฐศาสตร์] | Economics of education | เศรษฐศาสตร์การศึกษา [เศรษฐศาสตร์] | Educational financing | การจัดหาเงินทุนเพื่อการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] | Educational efficiency | ประสิทธิภาพทางการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] | Equity in education | สมธรรมทางการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] | Student tour | ทัศนาจรเพื่อการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] | Coincidence counting | การนับรังสีบรรจวบ, การนับรังสีที่เกิดจากเหตุการณ์การแผ่รังสีลักษณะเฉพาะตั้งแต่สองเหตุการณ์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือเกิดในช่วงเวลาที่สัมพันธ์กัน การนับรังสีนี้เป็นวิธีหนึ่งเพื่อตรวจหาหรือจำแนกวัสดุกัมมันตรังสี และใช้เทียบมาตรฐานอัตราการสลายของวัสดุกัมมันตรังสีนั้น ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี การถ่ายภาพทางการแพทย์ การศึกษารังสีคอสมิก และการวัดรังสีระดับต่ำ (ดู counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Single Photon Emission Computed Tomography | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก, Example: [นิวเคลียร์] | Single Photon ECT | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก [นิวเคลียร์] | Radioecology | นิเวศวิทยารังสี, การศึกษาผลกระทบของสารกัมมันตรังสีที่มีในธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นต่อระบบนิเวศ สารกัมมันตรังสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของตัวมันเอง และมีวัฏจักรการเคลื่อนย้ายในระบบนิเวศภายในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (หิน ดิน น้ำ และอากาศ) ในสภาวะแวดล้อมต่างๆ กัน เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต ส่งผลกระทบทางชีววิทยาและการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ [นิวเคลียร์] | Radiation entomology | กีฏวิทยารังสี, วิชากีฏวิทยาแขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลของรังสีต่อแมลง ได้แก่ การใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงในผลผลิตการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อควบคุมประชากรแมลงโดยปล่อยแมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีไปในธรรมชาติ และเพื่อปรับปรุงผลผลิตของแมลงที่มีประโยชน์ เช่น ปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตไหม <br>(ดู radiation disinfestation, sterile insect technique, radiation induced F1-sterility ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์] | intelligent island | วิสัยทัศน์ของประเทศสิงคโปร์ตามแผน Vision 2000 ที่จะมีการนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในทุกระบบทั้งที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การปกครอง ภาคธุรกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และอื่นๆ ของประเทศสิงคโปร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Educational technology | เทคโนโลยีทางการศึกษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] | Individualized Education plan | แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล, แผนซึ่งกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษ (special needs) ของคนพิการแต่ละคน (ซึ่งไม่เหมือนกัน) ตลอดจนกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา [Assistive Technology] | interactive media | สื่อเชิงโต้ตอบ, สื่อที่ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบได้ เช่น หยุด เล่นซ้ำ หาหัวเรื่องใหม่ ตอบคำถามเพื่อเดินเรื่องไปตามจังหวะที่ผู้รับต้องการ เหมาะสำหรับการเรียนรู้ และการศึกษารายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ [Assistive Technology] | Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือนจริง, มหาวิทยาลัยเสมือนจริง คือ การศึกษาแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีลักษณะเป็นการสร้างฐานความรู้ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Learning Organization) ที่ใครก็ได้สามารถเรียนรู้จากแหล่งใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ [Assistive Technology] | อิเล็กทรอนิกส์ | วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนำและอุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ อิเล็กทรอนิคส์ [คำที่มักเขียนผิด] | Ability grouping in education | การจัดกลุ่มตามความสามารถทางการศึกษา [TU Subject Heading] | Academic achievement | ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา [TU Subject Heading] | Academic decoration of honor | เครื่องหมายประกาศเกียรติคุณของสถาบันการศึกษา [TU Subject Heading] | Academic rites and ceremonies | พิธีทางศาสนาและพิธีกรรมเกี่ยวกับการศึกษา [TU Subject Heading] | Accreditation (Education) | การรับรองคุณภาพทางการศึกษา [TU Subject Heading] | Action research in education | วิจัยปฏิบัติการในการศึกษา [TU Subject Heading] | Activity programs in education | โปรแกรมกิจกรรมทางการศึกษา [TU Subject Heading] | Adult education | การศึกษาผู้ใหญ่ [TU Subject Heading] | Adventure education | การศึกษาด้วยการผจญภัย [TU Subject Heading] | Art in education | ศิลปะในการศึกษา [TU Subject Heading] | Articulation (Education) | การประสานสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษา [TU Subject Heading] | Artificial satellites in education | ดาวเทียมในการศึกษา [TU Subject Heading] | Bahai faith and education | ศาสนาบาไฮกับการศึกษา [TU Subject Heading] | Basic education | การศึกษาเบื้องต้น [TU Subject Heading] | Buddhism and education | พุทธศาสนากับการศึกษา [TU Subject Heading] | Buddhist education | การศึกษาพุทธศาสนา [TU Subject Heading] | Buddhist education of children | การศึกษาพุทธศาสนาของเด็ก [TU Subject Heading] | Business and education | ธุรกิจกับการศึกษา [TU Subject Heading] | Case studies | การศึกษาเฉพาะกรณี [TU Subject Heading] | Christian education | การศึกษาคริสตศาสนา [TU Subject Heading] | Church and education | คริสตศาสนากับการศึกษา [TU Subject Heading] | Communication in education | การสื่อสารในการศึกษา [TU Subject Heading] |
| T o study Nietzsche psychobiographically may seem naive. | การศึกษาเรื่องภาวะจิตไม่ปกติของเนเช่ ดูเหมือนว่าจะไม่เป็นผล Basic Instinct (1992) | More or less. | ฉันเชื่อว่า มันเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ ปรากฎการณ์ ที่ยังหาคำอธิบายไม่ได้ Deep Throat (1993) | That's why I need you to protect me. | - แค่ฤดูร้อนแรก หลังที่พวกเราจบการศึกษา Deep Throat (1993) | And then the light came. | - พวกคุณฉลองอะไร ? - จบการศึกษา Deep Throat (1993) | POWs have suffered from it. They've studied it in zoo animals. | POWs ได้รับผลจากมัน มีการศึกษากับสัตว์ในสวนสัตว์ Squeeze (1993) | If you don't try, you'll never graduate. And you laugh! | หากนายไม่พยายาม นายจะไม่สำเร็จการศึกษา แต่นายกลับขำ! Wild Reeds (1994) | Like for the baccalaureate, you won't have a second more. | ดั่งผู้มีการศึกษา เธอจะไม่ได้รับโอกาสครั้งที่สอง Wild Reeds (1994) | If you don't care about graduating, leave. | ถ้าเธอไม่ห่วง เรื่องสำเร็จการศึกษา ไปสิ Wild Reeds (1994) | I have to go. I hope you'll pass your baccalaureate this time. | "แม่ต้องไปแล้ว หวังว่าลูกจะสอบผ่าน สำเร็จการศึกษาในครั้งนี้ Wild Reeds (1994) | The baccalaureate. Aren't you nervous? | เรื่องสำเร็จการศึกษา ไม่ห่วงเหรอ? Wild Reeds (1994) | It's the baccalaureate. You don't care about it? | เรื่องจบการศึกษาไง นายไม่สนเหรอ? Wild Reeds (1994) | Cigarettes, a bag of reefer - if that's your thing - a bottle of brandy to celebrate your kid's high-school graduation. | บุหรี่, ถุงเย็น - ถ้านั่นคือสิ่งที่คุณ - บรั่นดีหนึ่งขวดเพื่อเฉลิมฉลองการสำเร็จการศึกษาโรงเรียนมัธยมเด็กของคุณ The Shawshank Redemption (1994) | Perhaps we can find something more... befitting a man of your education. | บางทีเราสามารถหาบางสิ่งบางอย่างเพิ่มเติม ... เหมาะสมคนที่มีการศึกษาของคุณ The Shawshank Redemption (1994) | (Nervously) I was er... thinking about maybe setting up some kind of trust fund for my kids' educations. | (หงุดหงิด) ผมเอ้อ ... อาจจะคิดเกี่ยวกับการตั้งค่าชนิดของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบางอย่างสำหรับการศึกษาเด็กของฉัน ' The Shawshank Redemption (1994) | He's an educated man. | เขาเป็นคนที่มีการศึกษา The Shawshank Redemption (1994) | Trade skills and hobbies. Goes under Educational. The stack behind you. | ทักษะการค้าและงานอดิเรก ไปตามการศึกษา กองอยู่ข้างหลังคุณ The Shawshank Redemption (1994) | We ought to file that under Educational, too, oughtn't we? | เราควรจะยื่นว่าภายใต้การศึกษา, เกินไป oughtn't เรา? The Shawshank Redemption (1994) | Geology is the study of pressure and time. | ธรณีวิทยาคือการศึกษาของความดันและเวลา The Shawshank Redemption (1994) | Oh, and I thought you were an educated man. | พ่อนึกว่าคุณเป็นผู้มีการศึกษาแล้วนะ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | You can do anything. You're an educated man. | คุณทำได้ทุกอย่าง คุณเป็นคนมีการศึกษา The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | Then he winds up in gladiator academies like Chino and Tracy. | เจนจบการศึกษาได้ปริญญาคุก Heat (1995) | The Jewish soldier suffered a loss of memory and remained in hospital for years, ignorant of the change in Tomainia. | สมองเสื่อม และ อยู่ในโรงพยาบาลเกือบปี ผู้ไร้การศึกษาได้เปลี่ยนแปลง โทไมเนีย The Great Dictator (1940) | Huh? Educated at Wellington and Marlborough. | การศึกษาที่เวลลิงตันมาร์ล โบโรห์ How I Won the War (1967) | There are simply no holes in my education. | ไม่มีเพียงหลุมในการศึกษาของฉัน Yellow Submarine (1968) | ln a whole lifetime devoted to the scientific study of humans, | ตลอดชีวิตฉันที่ทุมเทให้การศึกษามนุษย์ Beneath the Planet of the Apes (1970) | The school was taken over by her favourite pupil. The study of the occult was abandoned. | ร.ร ก็ตกเป็นของศิษย์คนโปรดของนาง การศึกษาเวทมนตร์ไสยศาสตร์ได้ถูกยกเลิกไป. Suspiria (1977) | The archbishop wants to sell this building to the Board of Education. | หัวหน้าของบิชอพต้องการขายตึกนี้แก่สภาการศึกษา The Blues Brothers (1980) | They gonna sell this place to the Board of Education... and I'll be out on the street. | พวกเขาจะขายที่นี่แก่สภาการศึกษา และผมคงจะอยู่ข้างถนน The Blues Brothers (1980) | Shit. What's one more old nigger to the Board of Education? | ชิท คนแก่ผิวดำอีกคนที่สภาการศึกษาเป็นอะไร The Blues Brothers (1980) | But it gave them an excuse to impose martial law throughout Bengal. | แต่เป็นข้ออ้างที่เขาจะประกาศ กฎอัยการศึกทั่วเบงกอล Gandhi (1982) | And martial law only shows how desperate the British are. | และกฎอัยการศึกก็แสดงให้เห็นว่า คนอังกฤษสิ้นคิดขนาดไหน Gandhi (1982) | But as a pedagogue and as an educator, you must keep a stiff upper lip. | แต่เป็นนักการศึกษา- และในฐานะนักการศึกษา, คุณต้องเก็บริมฝีปากบนแข็ง Idemo dalje (1982) | You'll hear a lot about your education. | คุณจะได้ยินมากเกี- ่ยวกับการศึกษาของคุณ Idemo dalje (1982) | A beautiful, cherished childhood memory may be the best education. | ความทรงจำที่สวยงามในวัยเด็ก อาจเป็นการศึกษาที่ดีที่สุด Idemo dalje (1982) | Don't you think I should abort the countdown so that you can remain and study it? | คุณไม่คิดว่าฉันควรจะยกเลิก การนับถอยหลัง เพื่อให้คุณสามารถยังคงอยู่ใน การศึกษาได้หรือไม่ 2010: The Year We Make Contact (1984) | The battle's behind us! | การศึกอยู่ข้างหลังโน่น ! Labyrinth (1986) | Go do your studies. | ไปทำการศึกษาของคุณ Bloodsport (1988) | What about my burning desire to study? | อะไรที่เกี่ยวกับการการศึกษาของฉันเหรอ? Akira (1988) | What about my burning desire to study? | อะไรที่เกี่ยวกับการการศึกษาของฉันเหรอ? Akira (1988) | Enacting disaster protocols. | ประกาศกฎอัยการศึก Akira (1988) | Enacting disaster protocols. | ประกาศกฎอัยการศึก Akira (1988) | Neo Tokyo Broadcasting is exclusively covering the news in spite of martial law in the name of freedom of the press! | สถานีโทรทัศน์นิวโตเกียว กำลังรายงานข่าว... ...ภายใต้กฎอัยการศึก ในนามของอิสรภาพแห่งการถูกกดดัน! Akira (1988) | ...in spite of martial law in the name of freedom of the press! | ...ภายใต้กฎอัยการศึก ในนามของอิสรภาพแห่งการถูกกดดัน! Akira (1988) | Is he fighting the coup forces all by himself? | เขากำลังต่อสู้กับกฎ อัยการศึกเพียงลำพังเรอะ? Akira (1988) | After graduation, we moved to the Midwest ... and stayed with her family as long as we could, almost a full afternoon. | หลังจบการศึกษา เราย้ายไปตะวันตกกลาง และอยู่กับครอบครัวของเธอ นานที่สุดเท่าที่เราทำได้ อยู่ได้จนเกือบตลอดบ่าย Field of Dreams (1989) | Afterwards to postgraduate studies at the university. | หลังจากนั้นการศึกษาในระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย The Russia House (1990) | Yeah. He lived in this tiny hut somewhere in India. He had no formal education. | เขาอาศัยอยู่ในกระท่อมหลังเล็กๆ ไม่ได้รับการศึกษา Good Will Hunting (1997) | In 1905 there were hundreds of professors renown for their study of the universe. | ปี 1 905 ศาสตราจารย์เป็นร้อยๆ มีชื่อเสียงจากการศึกษาจักรวาล Good Will Hunting (1997) | And war it is. | การศึกก็เริ่มแล้ว The Jackal (1997) | Studying the pattern made Euclid conscious of itself. | การศึกษาในรูปแบบ ทำให้ ยูคลิด เกิดจิตสำนึก Pi (1998) |
| ได้รับการศึกษา | [dāirap kānseuksā] (v, exp) EN: be educated | จิตวิทยาการศึกษา | [jittawitthayā kānseuksā] (n, exp) EN: educational psychology FR: psychologie éducative [ f ] | จบการศึกษา | [jop kānseuksā] (v, exp) EN: graduate FR: être diplômé ; obtenir son diplôme ; terminer ses études ; sortir de l'université ; sortir de l'école | การบริหารการศึกษา | [kān børihān kān seuksā] (n, exp) EN: education administration | การศึกษา | [kānseuksā] (n) EN: education FR: éducation [ f ] ; formation [ f ] ; enseignement [ m ] ; études [ fpl ] ; instruction [ f ] | การศึกษา | [kānseuksā] (n) EN: study ; learning FR: étude [ f ] ; apprentissage [ m ] | การศึกษาเบื้องต้น | [kānseuksā beūangton] (n, exp) EN: elementary education ; primary education FR: enseignement élémentaire [ m ] | การศึกษาเฉพาะกรณี | [kānseuksā chaphǿ karanī] (n, exp) EN: case study | การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ | [kānseuksā choēng prīepthīep] (n, exp) EN: comparative study | การศึกษาความเป็นไปได้ | [kānseuksā khwām penpai dāi] (n, exp) EN: feasibility study FR: étude de faisabilité [ f ] | การศึกษาในระดับอุดมศึกษา | [kānseuksā nai radap udomseuksā] (n, exp) EN: higher education | การศึกษานำร่อง | [kānseuksā namrǿng] (n, exp) EN: pilot study FR: étude pilote [ f ] | การศึกษานอกระบบ | [kānseuksā nøk rabop] (n, exp) EN: nonformal education | การศึกษานอกสถานที่ | [kānseuksā nøk sathānthī] (n, exp) EN: field trip | การศึกษาภาคสนาม | [kānseuksā phāksanām] (n, exp) EN: field study | การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย | [kānseuksā radap mahāwitthayālai] (n, exp) EN: university education | การศึกษาระดับสูง | [kānseuksā radap sūng] (n, exp) EN: advanced education ; advanced study FR: formation de haut niveau [ f ] ; formation supérieure [ f ] | การศึกษาเรื่องเพศ | [kānseuksā reūang phēt] (n, exp) FR: éducation sexuelle [ f ] | การศึกษาต่อเนื่อง | [kānseuksā tøneūang] (n, exp) EN: continuous education FR: formation continue [ f ] | การวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา | [kān wijai choēng patibatkān thāng kānseuksā] (n, exp) EN: action research in education | ขั้นตอนการศึกษา | [khantøn kānseuksā] (n, exp) EN: process of the study | ขอบเขตของการศึกษา | [khøpkhēt khøng kānseuksā] (n, exp) EN: scope of the study ; delimitation of the study | คุณภาพการศึกษา | [khunnaphāp kānseuksā] (n, exp) EN: education quality FR: qualité de l'enseignement [ f ] | กฎอัยการศึก | [kot aiyakānseuk] (n, exp) EN: martial law FR: loi martiale [ f ] | กฎหมายการศึกษา | [kotmāi kānseuksā] (n, exp) EN: education laws FR: loi sur l'éducation [ f ] | ไม่มีการศึกษา | [mai mī kānseuksā] (v, exp) EN: be uneducated ; be illiterate ; be ignorant FR: manquer d'éducation | มีการศึกษา | [mī kānseuksā] (adj) EN: educative ; educated FR: instructif | นักการศึกษา | [nak kānseuksā] (n) EN: educationist ; educationalist ; educator (Am.) ; academic FR: éducateur [ m ] ; éducatrice [ f ] ; pédagogue [ m ] | นวัตกรรมการศึกษา | [nawattakam kānseuksā] (n, exp) EN: educational innovation ; instructional innovation | องค์กรการศึกษา | [ongkøn kānseuksā] (org) EN: Harry Durance Foundation For Education in Thailand | ปฏิวัติการศึกษา | [patiwat kānseuksā] (n, exp) EN: educational revolution ; revolution in education | แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา | [phaēn phatthanā khunnaphāp kānseuksā] (n, exp) EN: school improvement | พื้นฐานการศึกษา | [pheūnthān kānseuksā] (n, exp) EN: educational foundation | ผู้สำเร็จการศึกษา | [phū samret kānseuksā] (n, exp) EN: graduate FR: diplômé [ m ] | ปีการศึกษา | [pī kānseuksā] (n, exp) EN: academic year FR: année scolaire [ f ] ; année académique [ f ] | ปกครองประเทศโดยอาศัยอำนาจกฎอัยการศึก | [pokkhrøng prathēt dōi āsai amnāt kot aiyakānseuk] (v, exp) EN: rule the country by resorting to martial law | ระบบการศึกษา | [rabop kān seuksā] (n, exp) EN: system of education FR: système éducatif [ m ] | ระดับการศึกษา | [radap kān seuksā] (n, exp) EN: level of education FR: niveau d'éducation [ m ] | สำเร็จการศึกษา | [samret kān seuksā] (v, exp) EN: graduate FR: terminer ses études | สถาบันการศึกษา | [sathāban kānseuksā] (n, exp) EN: academic institution ; academy ; educational institution FR: institution académique [ f ] | สถานภาพทางการศึกษา | [sathānnaphāp thāng kānseuksā] (n, exp) EN: educational status | สถิติการศึกษา | [sathiti kānseuksā] (n, exp) EN: educational statisics | ทางด้านการศึกษา | [thāng dān kānseuksā] (adj) EN: educational | ทุนการศึกษา | [thun kān seuksā] (n, exp) EN: scholarship ; education fund FR: bourse d'études [ f ] |
| student loan | (n) เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา(โดยทั่วไป ในระดับอุดมศึกษา) เช่น Did you apply for a student loan? | distance learning | (n) การศึกษาทางไกล เช่น การเรียนผ่านสื่อเช่นโทรทัศน์หรืออินเทอร์เน็ต ไม่ได้ไปโรงเรียนและเข้าเรียนในห้องเรียนตามปกติ | final examination | (n) สอบไล่ (การสอบปลายภาคการศึกษา) | NEET | (n) คนวัยหนุ่มสาวที่อยู่เฉย ไม่กระตือรือร้นที่จะรับการศึกษาหรือทำงาน ย่อมาจากคำว่า 'Not in Education, Employment, or Training' | public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) | nerd | (n, jargon) nerd เป็นคำเรียกบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงซึ่งมีความสนใจในการเรียนหรือ การศึกษาเรื่องบางเรื่องที่เขาสนใจ คนภายนอกจะมองว่าพวกนี้เป็นพวกที่ไม่เข้าสังคม แต่จริงๆแล้วเป็นเพราะว่าพวกนี้ไม่สนใจและไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้าต่างหาก (ความหมายโดยชาว Nerd) | CERIAS | (n) ศูนย์การศึกษาและวิจัย ด้านการรับรองและรักษาความปลอดภัยด้านข้อมูล ย่อมาจาก The Center for Education and Research in Information Assurance and Security | entomologist | (n) ผู้ทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมลง | anthropogenic | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องการกำเนิดและการวิวัฒนาการของมนุษย์, ที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ เช่น The anthropogenic contribution to greenhouse gas has been established as an infinitesimally small amount., See also: anthropogenetic | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | temperature mapping | [เทมเพอราเชอร์ แมปปิง] (n) การศึกษาอุณหภูมิโดยการวางเครื่องวัดอุณหภูมิตามจุดวิกฤต | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| academy | (n) โรงเรียน, See also: สถานศึกษา, สถาบันการศึกษา, วิทยาลัยเฉพาะด้าน | adult education | (n) การศึกษานอกเวลางาน, See also: การศึกษาผู้ใหญ่, การศึกษาแบบต่อเนื่อง, การศึกษาเพิ่มเติม, Syn. continuing education | aerography | (n) การศึกษาสภาพอากาศหรือบรรยากาศ | aeronautical | (adj) ที่เกี่ยวกับการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบหรือสร้างเครื่องบิน | aeronautics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบหรือสร้างเครื่องบิน | aerostatics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับก๊าซหรืออากาศธาตุ | aesthetics | (n) สุนทรียศาสตร์, See also: การศึกษาความงาม, Syn. philosophy of beauty | aetiology | (n) การศึกษาที่เกี่ยวกับสาเหตุ (โดยเฉพาะของโรค), Syn. etiology | angelology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับเทพหรือเทวดา | anthropology | (n) มานุษยวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับมนุษยในด้านต่างๆ, Syn. science of humans, study of humans | ballistics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับขีปนาวุธ, See also: การศึกษาการเคลื่อนไหวของกระสุนปืนและจรวด / ขีปนาวุธ | bluestocking | (n) หญิงที่มีการศึกษาดี | bring up | (phrv) เลี้ยงดู, See also: ให้การศึกษา, Syn. drag up, fetch up | campanology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับระฆังและศิลปะของเสียงระฆัง | cardiology | (n) การศึกษาศาสตร์ที่เกี่ยวกับหัวใจ | case study | (n) การศึกษา, Syn. case | civilise | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilize, cultivate | civilize | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilise, cultivate | clerisy | (n) กลุ่มคนที่มีการศึกษา, See also: กลุ่มปัญญาชน | commencement | (n) การพบปะของผู้สำเร็จการศึกษา | cosmogony | (n) การศึกษาเกี่ยวกับกำเนิดของจักรวาล | cosmology | (n) จักรวาลวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับจักรวาล | cryptography | (n) การศึกษาเกี่ยวกับรหัสสัญญาณ | cultivate | (vt) ฝึกฝน, See also: ให้การศึกษา, ปลูกฝัง, Syn. nurture, educate, teach | cultivation | (n) ลักษณะที่มีการศึกษา, See also: การมีความรู้, Syn. sophistication | drop in | (phrv) ไม่เข้าร่วม (ระบบสังคมหรือการศึกษา) | dean | (n) คณบดี (ทางการศึกษา), See also: หัวหน้า, Syn. the head of a faculty, school or administrative division in a university or college | demography | (n) การศึกษาเรื่องประชากร, See also: ประชากรศาสตร์ | dermatology | (n) ผิวหนังวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับโรคผิวหนัง | dietetics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดปริมาณและชนิดของอาหารเพื่อสุขภาพ, See also: วิชากำหนดอาหารเพื่อสุขภาพ, โภชนวิทยา, โภชนบำบัด, Syn. sitology | dissect | (vt) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite | dissect | (vi) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite | dissection | (n) การชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: การผ่าเพื่อพิสูจน์, Syn. itemization, analysis | dogmatics | (n) การศึกษาหลักคำสอนของศาสนา | dynamics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับพลังงานและการเคลื่อนที่, See also: วิชากลศาสตร์ | ecology | (n) นิเวศวิทยา, See also: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม, สาขาสังคมวิทยาที่เกี่ยวกับความ, Syn. bionomics | ed | (abbr) การศึกษา (คำไม่เป็นทางการ), Syn. education | educable | (adj) ซึ่งสามารถเรียนรู้หรือรับการศึกษาได้, See also: ซึ่งถูกสอนได้, ซึ่งได้รับการสอนได้ | educable | (n) ให้การศึกษาได้, See also: สอนให้ | educated | (vt) ให้การศึกษา, See also: สั่งสอน, Syn. instruct, teach, train | educated | (adj) ซึ่งได้รับการศึกษา, See also: ซึ่งมีความรู้, ซึ่งมีการศึกษา, ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการอบรมสั่งสอนมาแล้ว, ซึ่งมีการศึกษา, Syn. learned, schooled, well-schooled | education | (n) การศึกษา, See also: การเรียน, การให้ความรู้, Syn. instruction, schooling, study | educational | (adj) ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน, See also: ที่เกี่ยวกับการศึกษา | educationalist | (n) ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา, See also: นักการศึกษา, Syn. educationist, pedagogue | educator | (n) นักการศึกษา, See also: นักวิชาการศึกษา, Syn. instructor, pedagogue | effendi | (n) ผู้มีการศึกษาดี (ในประเทศแถบตะวันออกกลาง), See also: คนชั้นสูง, ผู้มีสกุลรุนชาติ | electrochemistry | (n) การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกี่ยวกับอิเล็กตรอนและกระแสไฟฟ้า (ทางเคมี), See also: อิเล็กโทรเคมี, เคมีไฟฟ้า | electrodynamics | (n) การศึกษาว่าปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและพลังแม่เหล็กไฟฟ้า (ทางฟิสิกส์), See also: อิเล็กโทรไดนามิกส์, พลศาสตร์ไฟฟ้า | elevated | (adj) ซึ่งมีการศึกษาสูง, See also: ซึ่งมีศีลธรรมสูง, Syn. high-minded, noble | embryology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของมนุษย์ |
| academy | (อะแคด' ดิมี) โรงเรียน, สำนัก, สภา, สถาบันการศึกษา, กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ, สำนักปัญญาปรัชญาของ Plato, วิทยสถาน, Syn. school | accidence | (แอค' ซิเดินซฺ) n. อักขรวิธี, การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของรูปคำ, Syn. rudiment | ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ | alienism | (เอ' เลียนนิสซึม, แอล' ยันนิสซึม) n. alienage, การศึกษาหรือรักษาโรคจิต (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับปัญหากฎหมาย) นิติจิตเวชศาสตร์. ภาวะวิกลจริต (alienage) | antiquarian | (แอนทีแคว' เรียน) adj. เกี่ยวกับการศึกษาโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับหนังสือเก่า ๆ หรือที่หายาก. -antiquarianism n. | apiology | (เอพิออล'โลจี) n. การศึกษาเกี่ยวกับผึ้ง, - apiologist n. (scientific study of bees) | areology | (อารีออล'โลจี) n. การศึกษาเกี่ยวกับดาวพระอังคาร. -areologic (al) adj. -areologist n. (study of the planet Mars) | artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ | assistantship | (อะซิส'เทินทฺชิพ) n. ทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาเพื่อช่วยศาสตราจารย์ ทำงาน | assyriology | (อะเซอริออล'โลจี) n. การศึกษาประวัติศาสตร์ภาษา วัฒนธรรมและอื่น ๆ ของ Assyria -Assyriologist, n. | bacteriology | (แบคเทียรีออล'โลจี) n. แบคทีเรียวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับเชื้อแบคทีเรีย, See also: bacteriological adj. bacteriologist n. | ballistics | (บะลิส'ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับขีปนาวุธ, See also: ballistician adj. ดูballistics | bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | bionics | (ไบออน'นิคซฺ) n. การศึกษาเกี่ยวกับการปฎิบัติงานและการแก้ปัญหาของมนุษย์และสัตว์เพื่อนำไปใช้ผลิตคอมพิวเตอร์และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกอื่น ๆ | booboisie | (บูบวาชี') n. ชนชันที่ไร้การศึกษา | booklearned | (บุด'เลิร์นดฺ) adj. ซึ่งเชื่อถือความรู้ในหนังสือ, การศึกษา | bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | bursary | (เบอร์'ซะรี) n. ทุนการศึกษา, ฝ่ายคลังของโบสถ์ | cacognics | n. การศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดการเสื่อมของพันธุ์ | case study | n. การศึกษาเรื่องราวทีละราย, ประวัติคนไข้ | college-bred | adj. ซึ่งได้รับการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย | commoner | (คอม'มะเนอะ) n. สามัญชน, สมาชิกสภาล่าง, นักศึกษา (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอ๊อคฟอร์ด) ที่ไม่ได้รับทุนช่วยเหลือการศึกษา, ผู้มีกรรมสิทธิ์ร่วม | computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ | criminology | (คริมินอล'โลจี) n. อาชญากรรมวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับอาชญากรรมและอาชญากร., See also: criminologic adj. ดูcriminology criminological adj. ดูcriminology criminologist n. ดูcriminology | decryption | การถอดรหัสลับหมายถึงการถอดรหัส หรือแปลความของรหัส ให้เป็นข้อความที่เข้าใจได้ เช่นรหัส 3716543 มีความหมายว่า เป็นเลขประจำตัวของนักศึกษาที่เริ่มเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2537 อยู่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฯ ดู encryption ประกอบ | diablerie | (ดิอา' บละรี) n. การศึกษาเกี่ยวกับภูตผีปีศาจ, ความร้ายกาจ | educable | (เอด'จุคะเบิล) adj. ให้การศึกษาได้, สอนได้, See also: educability, educatability n. | educate | (เอด'จุเคท) vt. ให้การศึกษา, สั่งสอน, อบรม, ฝึกฝน, ให้ความรู้ vi. อบรม, สั่งสอน | educated | (เอด'จุเคทิด) adj. ซึ่งได้รับการศึกษา, มีการศึกษา, มีความรู้ | education | (เอดจุเค, 'เชิน) n. การศึกษา, การสั่งสอน, การฝึกฝน, คุรุศาสตร์, ศึกษาศาสตร์, See also: educational adj. ดูeducation, Syn. schooling, training | educator | (เอด'จุเคเทอะ) n. ผู้ให้การศึกษา, นักการศึกษา, นักศึกษาศาสตร์, Syn. instructor | educatory | adj. เกี่ยวกับการศึกษา | educt | (อี'ดัคทฺ) n. การศึกษา, สิ่งที่นำออกมา, See also: eduction n. eductive adj. | elocution | (เอลละคิว'เชิน) n. วิธีการพูดหรืออ่านออกเสียง, การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการพูดในที่ชุมนุม, See also: elocutionary adj. ดูelocution elocutionist n. ดูelocution | etiology | (อิทิออล'ละจี) vt. การศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุของโรค, สมุฏฐานวิทยา, สมุฏฐานวิทยาของโรค., See also: etiological adj. ดูetiology etiologist n. ดูetiology, Syn. aetiology. | exhibition | (เอกซะบิช'เชิน) n. การแสดงออก, การแสดงนิทรรศการ, งานมหกรรม, ผลิตภัณฑ์ที่นำมาแสดงออก, ทุนการศึกษา., Syn. presentation | feasibility studies | การศึกษาความเป็นไปได้ในวิชาคอมพิวเตอร์หมายถึง การศึกษาเพื่อชี้ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการมีหรือใช้คอมพิวเตอร์ โดยคำนึงถึงกำไรและต้นทุน ช่วงเวลา กำลังเงินและกำลังคน เพื่อให้ทำงานตามโครงการใด ๆ ที่กำหนด โดยปรกติในการศึกษาความเป็นไปได้ จะมีข้อเสนอแนะทางเลือกอื่นที่เหมาะสมไว้ด้วยเสมอ | fellow | (เฟล'โล) n. คนผู้ชาย, เด็กผู้ชาย, เพื่อน, เพื่อนร่วมงาน, บุคคล, มนุษย์, เจ้าหมอ, คนชั้นเดียวกัน, สิ่งประกอบเป็นคู่, ของคู่กัน, นักศึกษาบัญฑิตวิทยาลัยที่ได้รับทุนการศึกษา, สมาชิกของสมาคมวิชาการ, ผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย vt. ทำให้เท่าเทียมกับ, เท่าเทียมกับ. adj. เกี่ยวกับช | froebel | (โฟร'เบล) n. นักปฏิรูปการศึกษาชาวเยอรมันผู้ก่อตั้งระบบโรงเรียนอนุบาล., See also: Froebelian adj. | geratology | n. ชราภาพวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับวัยชรา., See also: geratologic adj. | geriatrics | n. การศึกษาและรักษาโรคของคนชรา., See also: geriatrician, geriatrist n. | graduate | (แกรด'จุเอท) n., adj. บัณฑิต, ภาชนะตวงที่แบ่งออกเป็นขีด ๆ vi.สำเร็จการศึกษา, ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลง vt. มอบปริญญาแก่, สำเร็จการศึกษาจาก, แบ่งออกเป็นขีด, See also: graduated adj., Syn. mark off, calibrate | graphology | n. การศึกษาเกี่ยวกับลายมือ | half | (ฮาล์ฟ) n. ครึ่ง, ครึ่งเวลาของการแข่งขัน, ครึ่งรอบ, ครึ่งเกม, ครึ่งเทอม, ครึ่งปีการศึกษา, ซีกหนึ่งของโลก, กองหน้า, ส่วนหนึ่ง, ไม่ทั้งหมด. -Phr. (go halves แบ่งเท่า ๆ กัน) adj. กึ่งหน้า, ส่วนหนึ่ง, ไม่เต็มที่, ไม่สมบูรณ์ -pl. Halves | heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense | hierology | n. วรรณคดีหรือวิชาที่เกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์, การศึกษาเกี่ยวกับ ชีวิตและวรรณกรรมของนักบุญ., See also: hierologic al adj. hierologist n. | highbrow | (ไฮ'เบรา) n. ผู้ (ถือดีว่า) มีการศึกษาสูง รสนิยมสูง, See also: highbrowism n. | humanity | (ฮิวแมน'นิที) n. มนุษย์, มนุษยชาติ, ความเป็นมนุษย์, ลักษณะธรรมชาติของมนุษย์ -Phr. (The humanites มนุษยศาสตร์, การศึกษาเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดีของกรีกและลาติน), Syn. mankind, man, world | ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป | illiteracy | (อิลิท'เทอระซี) n. การไม่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้, การไร้การศึกษา, การไม่รู้หนังสือ, การไม่มีความรู้ในสาขาหนึ่ง |
| academic | (adj) เชิงวิชาการ, เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับสถาบันการศึกษา | bursary | (n) เงินทุน, เงินอุดหนุน, เงินอุปถัมภ์, ทุนการศึกษา | civilize | (vt) ทำให้มีอารยธรรม, ทำให้จริญ, ทำให้มีการศึกษา | educate | (vt) สอน, อบรม, ฝึกฝน, ให้การศึกษา, ให้ความรู้ | education | (n) การสั่งสอน, การอบรม, การศึกษา, ครุศาสตร์, ศึกษาศาสตร์ | educational | (adj) ซึ่งให้ความรู้, เกี่ยวกับการอบรมสั่งสอน, ทางการศึกษา | educator | (n) นักการศึกษา, นักศึกษาศาสตร์, ผู้ให้การศึกษา | graduate | (adj) เกี่ยวกับผู้สำเร็จการศึกษา | graduate | (n) ผู้ได้รับปริญญา, ผู้สำเร็จการศึกษา, บัณฑิต | graduate | (vi) ได้รับปริญญา, สำเร็จการศึกษา | graduation | (n) การได้รับปริญญา, การสำเร็จการศึกษา, พิธีมอบปริญญา | illiterate | (adj) ไม่รู้หนังสือ, ไม่มีการศึกษา | learning | (n) การเรียน, การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การเล่าเรียน | literate | (adj) รู้หนังสือ, มีการศึกษา, มีความรู้ | MARTIAL martial law | (n) กฎอัยการศึก | scholastic | (adj) เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับการศึกษา, เกี่ยวกับการเล่าเรียน | SCHOOL school year | (n) ปีการศึกษา | school | (n) โรงเรียน, วิทยาลัย, สถาบันการศึกษา, การเล่าเรียน, ฝูงปลา | school | (vt) สอน, ให้การศึกษา, สั่งสอน | schooling | (n) ระบบการศึกษา, การเรียนการสอน, แผนการศึกษา | semester | (n) ภาคการศึกษา, ภาคเรียน | session | (n) สมัยประชุม, การประชุม, ภาคการศึกษา | studied | (adj) รอบคอบ, โดยเจตนา, ระมัดระวัง, มีการศึกษา | study | (n) การศึกษา, การเรียน, การค้นคว้า, ห้องค้นคว้า | training | (n) การฝึกหัด, การอบรม, การฝึกฝน, การศึกษา | transcript | (n) สำเนา, บันทึก, ใบแสดงผลการศึกษา | unlearned | (adj) เขลา, ไร้การศึกษา | unlettered | (adj) ไร้การศึกษา, ไม่รู้หนังสือ | upbringing | (n) การเลี้ยงดู, การอบรม, การศึกษา, การสั่งสอน | year | (n) ปี, อายุ, เวลา, ขวบ, ปีการศึกษา |
| *optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) | *ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 | Dhamma Studies Department | ฝ่ายการศึกษาพระปริยัติธรรม | double-blind | (n) การศึกษาฤทธิ์ของยาซึ่งผู้ให้กับผู้รับตอนให้ยาไม่รู้ว่ายานั้นเป็นสารที่ active หรือ inert | educational durable objects | ครุภัณฑ์ทางการศึกษา | enology | (n) การศึกษาเรื่องไวน์, การทำไวน์ และการปลูกองุ่น, Syn. viticulture | graduated | [เกรด ดู เอท] จบการศึกษา | heuristically | (adv) ด้วยการศึกษามาอย่างดี | immunological | [อิมมิวโนโลจิคอล] (n) การศึกษาเกี่ยวกับวิทยาภูมิคุ้มกัน | inclusive education | (n) การศึกษาแบบเรียนรวม - เป็นการเรียนการสอนที่รวมเอานักเรียนที่ต้องการความใส่ใจดูแลเป็นพิเศษ (อาจพิการ ฯลฯ) มาเรียนรวมกับเด็กปกติ | Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข | Molecular Gastronomy | (n, name) การทำอาหารโดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และอาศัยวิธีการศึกษาองค์ประกอบของเครื่องปรุงอย่างวิทยาศาสตร์ศึกษาปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เครื่องปรุงเปลี่ยนรสหรือเปลี่ยนสี เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์ที่ได้ทั้งรูปทรงใหม่ๆ และรสชาติที่แตกต่างจากของเดิม | optometrist | ผู้ที่จบการศึกษาปริญญาชั้นสูงเฉพาะทางการตรวจสายตา(Doctor of Optometry) | Pharmacokinetics | 1. การศึกษาการดูดซึมของร่างกาย การกระจายการเผาผลาญและการขับถ่ายของยา 2. ปฏิกิริยาลักษณะของยาและร่างกายในแง่ของการดูดซึมการกระจายการเผาผลาญและการขับถาย | philological | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องภาษาที่ใช้ในอักษรศาสตร์ เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ | philology | [(ฟิลอจ'ละจี)] (n) นิรุกติศาสตร์, ภาษาศาสตร์, การศึกษาเรื่องภาษา., Syn. Synonym: . philological adj. philologist n. !philologer n. philologize vi. ###S. | psycholinguistics | [げんごしんりがく] (n) การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของภาษากับลักษณะพฤติกรรมของผู้พูด | retrospective study | (n, phrase) การศึกษาย้อนหลัง | rhelogy | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการไหลของของเหลวและของกึ่งของเหลว | stomatology | [สโตมาโตโลจี] (n) โอษฐวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับโรคชนิดต่างๆ ที่พบในช่องปากและอวัยวะข้างเคียง | student body | กลุ่มนักเรียนทั้งหมดในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง | tribology | (n) การศึกษาเกี่ยวการแรงเสียดทานบนเครื่องจักร, การศึกษาเกี่ยวกับการหล่อลื่น หรือการศึกษาเกี่ยวกับการตอบสนองระหว่างพื้นผิวที่เสียดสีกันขณะเคลื่อนไหว | unified school distric | เขตการศึกษารวม | นักวิชาการศึกษา | (n) ผู้ปฏิบัติงานทางด้านการศึกษา, Syn. acadamist |
| ニート | [にーと, ni-to] (n) NEET คนวัยหนุ่มสาวที่อยู่เฉย ไม่กระตือรือร้นที่จะรับการศึกษาหรือทำงาน ย่อมาจากคำว่า 'Not in Education, Employment, or Training' | 卒業 | [そつぎょう, sotsugyou] (n) การจบการศึกษา | 年度 | [ねんど, nendo] (n) ปีงบประมาณ, ปีการศึกษา | 義務教育 | [ぎむきょういく, gimukyouiku] (n) การศึกษาภาคบังคับ |
| 学士 | [がくし, gakushi] (n) ผู้จบการศึกษาปริญญษตรี | 学歴 | [がくれき, gakureki] (n) ประวัติการศึกษา | 独学 | [どくがく, dokugaku] การศึกษาด้วยตัวเอง | ヤッピー | [やっぴー, yappi] (n) คนหนุ่มสาวที่มีการงานและการศึกษาที่ดี | 産学連携 | [さんがくれんけい, sangakurenkei] ความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา | 入学金 | [にゅうがくきん, nyuugakukin] (n) ค่าธรรมเนียมการศึกษา | 新学期 | [しんがっき, shingakki] (n) ภาคการศึกษาใหม่, เทอมใหม่ | 外出禁止令 | [かいしゅつきんしれい, kaishutsukinshirei] (n) Curfew หรือ กฏอัยการศึก - ห้ามออกจากบ้านหลังเวลาที่กำหนด | 戒厳令 | [かいげんれい, kaigenrei] (n) กฎอัยการศึก, See also: R. martial law |
| 小学 | [しょうがく, shougaku] TH: ระดับชั้นการศึกษา, ประถมศึกษา EN: grade school | 動物園 | [どうぶつえん, doubutsuen] TH: สวนที่มีการศึกษาสัตว์ EN: zoological gardens |
| Klinikum | (n) |das, pl. Kliniken| การศึกษาภาคปฏิบัติในโรงพยาบาลของนักศึกษาแพทย์ | Fachhochschule | (n) |die, pl. Fachhochschulen| มหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนด้านปฏิบัติ เมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิที่เทียบเท่าปริญญาตรีที่เมืองไทย ในขณะที่ในมหาวิทยาลัยทั่วไป (Universität)จะได้วุฒิที่เทียบเท่ากับปริญญาโท | Studiengebühr | (n) |die, pl. Studiengebühren| เงินบำรุงการศึกษา (ไม่ใช่ค่าหน่วยกิจ เพราะโดยมากแล้ว ในเยอรมนีจะละเว้นค่าหน่วยกิจเนื่องจากรัฐเป็นผู้ช่วยเหลือในส่วนนี้ หรือ เป็นการศึกษาแบบให้เปล่าจากรัฐ จนถึงระดับดิโพลม) | Studienbescheinigung | (n) |die, pl. Studienbescheinigungen| ใบรับรองสถานภาพการศึกษา (ในนี้ จะบอกถึงรายละเอียดเกี่ยวกับการศึกษาของนักศึกษา เช่น สถาบัน, คณะ, ภาคการศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ปัจจุบัน และรายละเอียดที่สำคัญเกี่ยวกับเจ้าตัวเองด้วย, โดยส่วนมากแล้ว ทางสถาบันจะออกใบรับรองนี้เป็นรายเทอม) | gebildet | (adj) ที่มีการศึกษา, ที่ศิวิไลซ์, ที่มีอารยธรรม, ที่เจริญ เช่น Manche Deutsche sind gut gebildet. คนเยอรมันส่วนใหญ่ได้รับการศึกษามาดี | beglaubigen | (vt) |beglaubigte, hat beglaubigt, etw.(A)| ให้การรับรอง, ยืนยัน, พิสูจน์ว่าจริง เช่น Die Kopie des Abschlusszeugnisses muß beglaubigt werden. สำเนาใบประกาศนียบัตรจบการศึกษาต้องได้รับการรับรอง | sich bewerben | (vt) |bewirbt sich, bewarb sich, hat sich beworben, um etw.(A)| สมัคร เช่น Sie hat sich um ein Stipendium beworben. เธอสมัครขอทุนการศึกษา | Abschlussprüfung | (n) |die, pl. Abschlussprüfungen| สอบไล่, สอบจบ, การสอบจบการศึกษา, | Erzieher | (n) |der, pl. Erzieher| ผู้ให้การศึกษา ครู อาจารย์ เช่น Für eine renomierte Kindertagesstätte in Dresden suchen wir im Rahmen der Personalvermittlung einen Erzieher (m/w) zum nächstmöglichen Zeitpunkt., See also: die Erzieherin | Verwaltungswissenschaft | (n) |die, pl. Verwaltungswissenschaften| ศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับการเมือง นิติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | gebildet | (adj) ที่มีการศึกษา, ที่ได้รับการอบรมมาดี เช่น Eine gebildete Person ist für einen bestimmten Inhalt empfänglicher, als eine weniger gebildete Person für denselben Inhalt. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |