Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Spatial Distribution of The Population | การกระจายตัวของประชากรตามพื้นที่, Example: ลักษณะการกระจายตัวของประชากรในอาณาเขต [สิ่งแวดล้อม] |
equitable geographical distribution | การกระจายตัวอย่างเท่าเทียมกันตามเขตภูมิศาสตร์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในกรอบสหประชาชาติ หมายถึง การมีส่วนร่วมและการเป็นตัวแทนของประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่ตั้งอยู่ใน ภูมิภาคต่าง ๆ อย่างเท่าเทียมกัน [การทูต] |
radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เป็นเทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการตรวจ ด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่ คำว่า Radionuclide organ imaging nuclear scanning [พลังงาน] |
radiopharmaceutics , radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ [พลังงาน] |
Single Photon Emission Computed Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี [พลังงาน] |
Dispersion | 1.ดิสเพอร์ชันหรือการแตกตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติม เข้าไปในยางแห้ง ซึ่งจะเกิดขึ้นจากแรงเฉือนในการผสมที่ทำให้แอกโกลเมอเรตของอนุภาคสารตัวเติม แตกตัวต่อไปจนได้เป็นแอกกรีเกตซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสารตัวเติมที่ได้ จากการผสม ขั้นตอนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการกระจายตัว เพื่อให้ได้สารตัวเติมที่มีการแตกตัวดีและการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในยาง 2.สารเคมีที่กระจายตัวอยู่ในน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] |
Distribution | การกระจายตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติมเข้าไปในยางแห้ง จะเกิดขึ้นหลังจากที่สารตัวเติมเข้าไปในเนื้อยาง (incorporation) กล่าวคือ การไหลของยางจะทำให้สารตัวเติมที่ถูกโอบล้อมด้วยยางเกิดการกระจายตัวในเนื้อ ยาง ซึ่งกระบวนการนี้จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาของการผสม [เทคโนโลยียาง] |
Latex | 1.น้ำยาง : ของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนมได้จากพืชบางชนิด เช่น ต้นยางพารา และต้นรัก เป็นต้น 2.เลเทกซ์ : พอลิเมอร์ที่มีอนุภาคขนาดเล็กกว่า 1 ไมโครเมตร กระจายตัวอยู่ในน้ำด้วยสภาวะเสถียรด้วยประจุ มีลักษณะขุ่นขาวคล้ายน้ำนม เช่น อิมัลชันของโคพอลิเมอร์สไตรีน-อะคริลิก [เทคโนโลยียาง] |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Two-roll mill | เครื่องผสมยางแบบสองลูกกลิ้งเป็นเครื่องผสมยางระบบเปิดที่ประกอบด้วย ลูกกลิ้ง 2 ลูก หมุนเข้าหากันด้วยความเร็วต่างกัน ทำให้เกิดแรงเฉือนที่จำเป็นต่อการบดผสมยางกับสารเคมียาง ในการผสมยางกับสารเคมียางจะใส่ยางลงช่องระหว่างลูกกลิ้ง ยางจะถูกรีดออกมาเป็นแผ่นรอบลูกกลิ้งด้านหน้า จากนั้นจึงเติมสารเคมียาง โดยผู้ผสมต้องทำการกรีดยางแผ่นและพับไปมาในขณะที่เติมสารเคมีลงไปในยาง ซึ่งยางที่ถูกตัดพับจะถูกใส่กลับไปช่องระหว่างลูกกลิ้ง แรงเฉือนที่เกิดขึ้นจะช่วยให้สารเคมีต่างๆ กระจายตัวเข้ากับเนื้อยางได้ดี เครื่องผสมยางแบบสองลูกกลิ้งใช้ผสมยางในปริมาณไม่มาก เนื่องจากต้องใช้ความชำนาญและกำลังคนในการผสม [เทคโนโลยียาง] |
Bases, Water-Dispersible | ยาพื้นที่กระจายตัวได้ในน้ำ [การแพทย์] |
Coefficient, Lipid/Water Partition | ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารในชั้นไขมันกับ [การแพทย์] |
Colloidal Dispersion | การกระจายขนาดคอลลอยด์, การกระจายตัวแบบคอลลอยด์ [การแพทย์] |
Curve, Normal | โค้งปกติ, การกระจายตัวแบบโค้งปกติ [การแพทย์] |
Deflocculation | การกระจายตัวกันอยู่เดี่ยวๆ, การแยกกันอยู่เป็นอนุภาคเดี่ยวๆ [การแพทย์] |
Disintegrate | การกระจายตัว [การแพทย์] |
Disperse | กระจายตัว, การกระจาย [การแพทย์] |
Disperse Phase | อัตภาคที่กระจายตัว [การแพทย์] |
Dispersing | กระจายตัว [การแพทย์] |
Dispersing Agents | สารช่วยการกระจายตัว, สารที่ช่วยให้ตัวยากระจายตัว [การแพทย์] |
Dispersion | การกระจาย, การกระจายตัว, ค่าวัดความแตกต่าง, ยาน้ำกระจายตัว, การแผ่กระจายตัว [การแพทย์] |
Dispersion Method | วิธีการกระจายตัว [การแพทย์] |
Dispersion, Coarse | การกระจายขนาดหยาบ, การกระจายตัวแบบหยาบ [การแพทย์] |
Dissemination | กระจาย, อยู่กระจายทั่วไป, กระจายตัว [การแพทย์] |
Distribution | การกระจาย, การแจกแจงข้อมูล, การกระจายตัว [การแพทย์] |
Distribution Coefficient | สัมประสิทธิการกระจายตัว, สัมประสิทธิ์การแบ่งภาค [การแพทย์] |
Distribution, Apparent Volume of | ปริมาตรการกระจายตัวปรากฏ [การแพทย์] |
Distribution, Size | การกระจายขนาด, การกระจายตัวของขนาด [การแพทย์] |
Distribution, Size Frequency | การกระจายตัวของขนาดอนุภาค [การแพทย์] |
Distribution, Size-Frequency | การกระจายตัวของขนาดหยด [การแพทย์] |
Emulsions, Oil Water | อิมัลชันชนิดน้ำมันกระจายตัวในน้ำ [การแพทย์] |
Equilibrium Distribution | สมดุลของการกระจายตัว [การแพทย์] |
dispersive soil | dispersive soil, ดินกระจายตัว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นเพื่อสร้างความรำคาญให้กับผู้ใช้งาน และอาจร้ายแรงถึงขั้นทำลายระบบคอมพิวเตอร์ให้เสียหายทั้งระบบ โดยจะทำการแนบโปรแกรมแปลกปลอมเข้าไปกับโปรแกรมอื่น แล้วแพร่กระจายตัวเองจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆได้ โดยผ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gas Dispersion, Liquid | กระจายตัวในแก๊สของเหลว [การแพทย์] |
Gas Dispersion, Solid | ของแข็งกระจายตัวในแก๊ส [การแพทย์] |
Gaussian Curve | การกระจายตัวแบบโค้งปกติ [การแพทย์] |
Gaussian Distribution | การกระจายตัวแบบปกติ [การแพทย์] |
Indiffusible Solid | ตัวยาที่ไม่ละลายและไม่กระจายตัว [การแพทย์] |
Medium, Dispersion | ตัวกลางการกระจายตัว, วัฏภาคภายนอก [การแพทย์] |