ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สุนทร, -สุนทร- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ สุนทร | (adj) sweet, See also: pleasant, delightful, Syn. ไพเราะ, เพราะ, เสนาะ, Thai Definition: ที่มีความไพเราะรื่นหู | สุนทร | (adj) beautiful, See also: pleasant, Syn. งาม, สวย, ดี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | สุนทรียะ | (adj) aesthetic, See also: esthetic, Example: การมองโลกอย่างอิสระตามความเป็นไปของมัน เป็นบ่อเกิดความคิดอันสุนทรียะ, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับความนิยมความงาม | สุนทรพจน์ | (n) speech, See also: address, harangue, oration, Syn. คำปราศรัย, Example: เขาได้รับรางวัลที่ 1 ในการพูดสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษซึ่งจัดโดยศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมปลาย, Thai Definition: คำพูดที่ประธานหรือบุคคลสำคัญเป็นต้นกล่าวในพิธีการหรือในโอกาสสำคัญต่างๆ | สุนทรียภาพ | (n) aesthetics, Example: การเข้าค่ายครั้งนี้ทำให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างสุนทรียภาพกับศาสนธรรมได้อย่างลึกซึ้ง, Thai Definition: ความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะที่แต่ละบุคคลสามารถเข้าใจและรู้สึกได้ | สุนทรียภาพ | (n) arts and appreciation | สุนทรียศาสตร์ | (n) aesthetics, See also: esthetics, Example: เขาใช้ความรู้ทางสุนทรียศาสตร์มาตัดสินคุณค่าและความงามของงานศิลปะชิ้นนี้, Thai Definition: ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความงาม และสิ่งที่งามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ | กล่าวสุนทรพจน์ | (v) deliver a speech, See also: make a speech, Example: ท่านรองนายกรัฐมนตรีได้ให้เกียรติกล่าวสุนทรพจน์ในฐานะผู้แทนรัฐบาลไทย |
|
| สุนทร, สุนทร- | (-ทอน, -ทอนระ-, -ทอระ-) ว. งาม, ดี, ไพเราะ, เช่น วรรณคดีเป็นสิ่งสุนทร, มักใช้เข้าสมาสกับคำอื่น เช่น สุนทรพจน์ สุนทรโวหาร. | สุนทรพจน์ | (สุนทอนระ-, สุนทอระ-) น. คำพูดที่ประธานหรือบุคคลสำคัญเป็นต้นกล่าวในพิธีการหรือในโอกาสสำคัญต่าง ๆ เช่น นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ. | สุนทรี | (-ทะรี) น. หญิงงาม, นางงาม, หญิงทั่วไป. | สุนทรีย-, สุนทรียะ | ว. เกี่ยวกับความนิยม ความงาม. | สุนทรียภาพ | (-ทะรียะ) น. ความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะที่แต่ละบุคคลสามารถเข้าใจและรู้สึกได้, ความเข้าใจและรู้สึกของแต่ละบุคคลที่มีต่อความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ. | สุนทรียศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความงาม และสิ่งที่งามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ. | สุนทรี | ดู สุนทร, สุนทร-. | สุนทรีย-, สุนทรียะ | ดู สุนทร, สุนทร-. | สุนทรียภาพ | ดู สุนทร, สุนทร-. | สุนทรียศาสตร์ | ดู สุนทร, สุนทร-. | กระสวน | น. แบบ เช่น อย่าคบพวกหญิงพาลสันดานชั่ว ที่แต่งตัวไว้จริตผิดกระสวน (สุภาษิตสุนทรภู่) | กรุยกราย | ในบทกลอนใช้ว่า กรายกรุย ก็มี เช่น อย่านุ่งลายกรายกรุยทำฉุยไป (สุภาษิตสุนทรภู่). | กฤดา, กฤดาการ | (กฺริดา, กฺริดากาน) น. บารมีอันยิ่งที่ทำไว้ (กร่อนมาจาก กฤดาธิการ) เช่น ทรงพระกฤดาเดชานุภาพยิ่งทวีขึ้น (พงศ. อยุธยา), ผู้ใดมีบุญญากฤดาการ (เสภาสุนทรภู่). | กล่าว | แต่งงาน เช่น ฝรั่งกล่าวแหม่ม. (ประเพณีของชาวคริสเตียน), คำนี้ใช้เป็นปรกติในภาษาเขียน แต่ใช้เป็นภาษาพูดก็มีในบางลักษณะ เช่น กล่าวสุนทรพจน์. | กันต์ ๒ | ก. ยินดี, พอใจ, เช่น สุนทรกันต์. | ขี้ถัง | ว. เลวทราม เช่น จงหลีกเลี่ยงเสียให้พ้นคนขี้ถัง (สุภาษิตสุนทรภู่). | คำพ้องเสียง | น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์. | ตายน้อย | ว. เกือบตาย เช่น สิ้นแผ่นดินปิ่นเกล้ามาเปล่าอก น้ำตาตกตายน้อยลงร้อยหน (นิราศพระประธมของสุนทรภู่). | ตำแบ | น. ชื่อปลาแห้งชนิดหนึ่งที่ไม่กรีดเนื้อตามยาวเป็นริ้ว เช่น เขากินหมูหนูพัดจะกัดเกลือ ไม่ถ่อเรือแหหาปลาตำแบ (นิราศวัดเจ้าฟ้าของสุนทรภู่), จำแบ ก็ว่า. | ประภัสสร | ผ่องใส, บริสุทธิ์ เช่น จิตประภัสสร, เขียนเป็น ประภัสร์ ก็มี เช่น ธรรมรสเรืองรองผ่องประภัสร์ เป็นมิ่งฉัตรสุขสันต์นิรันดร (ชีวิตและงานของสุนทรภู่). | มกุฎ | (มะกุด) ว. สูงสุด, ขั้นสูง, เช่น อันกอปรด้วยลักณณษการอดุลย์ สุนทรเทพมกุฎ (ม. คำหลวง ทศพร), เจ้าก็เกิดในมกุฎเกศกรุงสีวีราษฎร์ (ม. ร่ายยาว กุมาร) (ป., ส. มกุฏ). | ไวพจน์ | ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง. | สมาส | (สะหฺมาด) น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. | เสวนะ, เสวนา | (เสวะ-) น. การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เช่น กลุ่มวรรณกรรมจัดเสวนาเรื่องสุนทรภู่. |
| speech of acceptance; speech, acceptance | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, acceptance; speech of acceptance | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, keynote | สุนทรพจน์หลัก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | acceptance speech; acceptance, speech of | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | aesthetic distance | ความเป็นกลางทางสุนทรียภาพ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | aesthetic judgment | การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | aesthetic value | คุณค่าทางสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | aestheticism | สุนทรียนิยม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | aesthetics | สุนทรียศาสตร์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | aesthetics | สุนทรียศาสตร์ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | aesthetic | สุนทรีย์ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | aesthetic attitude | สุนทรียเจตคติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | attitude, aesthetic | สุนทรียเจตคติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | acceptance, speech of; acceptance speech | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judgement, aesthetic; judgment, aesthetic | การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | judgment, aesthetic; judgement, aesthetic | การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | denture aesthetics | สุนทรียศาสตร์ฟันปลอม [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | value, aesthetic | คุณค่าทางสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | keynote speech | สุนทรพจน์หลัก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Aesthetics | สุนทรียศาสตร์ [TU Subject Heading] | Baccalaureate address | สุนทรพจน์ในวันรับปริญญา [TU Subject Heading] | Environment (Aesthetics) | สิ่งแวดล้อม (สุนทรียศาสตร์) [TU Subject Heading] | Feminine beauty (Aesthetics) | ความสวยของสตรี (สุนทรียศาสตร์) [TU Subject Heading] | Nature (Aesthetics) | ธรรมชาติ (สุนทรียศาสตร์) [TU Subject Heading] | Occasional speeches | สุนทรพจน์ในโอกาสต่าง ๆ [TU Subject Heading] | Speeches in Congress | สุนทรพจน์ในรัฐสภา [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc. | สุนทรพจน์ [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., American | สุนทรพจน์อเมริกัน [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., Chinese | สุนทรพจน์จีน [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., English | สุนทรพจน์อังกฤษ [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., Thai | สุนทรพจน์ไทย [TU Subject Heading] | Aesthetics | สุนทรียภาพ [สิ่งแวดล้อม] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | Aesthetic Needs | ่ความต้องการเกี่ยวกับสุนทรียะ [การแพทย์] | Esthetics | สุนทรียศาสตร์ [การแพทย์] |
| แสดงสุนทรพจน์ | [sadaēng suntharaphot] (v, exp) EN: make a speech FR: faire un discours | สมัคร สุนทรเวช | [Samak Suntharawēt] (n, prop) EN: Samak Sundaravej FR: Samak Sundaravej | สุนทรพจน์ | [suntharaphot] (n) EN: speech ; address ; harangue ; oration FR: discours [ m ] ; allocution [ f ] | สุนทรพจน์อำลา | [suntharaphot amlā] (n, exp) EN: farewell speech FR: discours d'adieu [ m ] | สุนทรพจน์ต้อนรับ | [suntharaphot tønrap] (n, exp) EN: welcome speech FR: discours de bienvenue [ m ] ; allocution de bienvenue [ f ] | สุนทรียภาพ | [suntharīyaphāp] (n) EN: aesthetics | สุนทรียศาสตร์ | [suntharīyasāt] (n) EN: aesthetics | สุนทร | [sunthøn] (adj) EN: beautiful ; plesant ; sweet ; delightful ; mellifluous | สุนทร | [sunthøn] (adj) EN: eloquent FR: éloquent |
| SONA | (n) ย่อมาจาก State of Nation Address สุนทรพจน์ที่ผู้นำกล่าวสรุปสถานการณ์ของประเทศ |
| address | (n) คำปราศรัย, See also: สุนทรพจน์, กระแสพระราชดำรัส, Syn. oration, speech | aesthetic | (adj) ที่เกี่ยวกับความงาม, See also: เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ | aesthetics | (n) สุนทรียศาสตร์, See also: การศึกษาความงาม, Syn. philosophy of beauty | barnstorm | (vi) ตระเวณไปที่ต่างๆ เพื่อแสดงละครหรือแสดงสุนทรพจน์ | discourse on | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง | discourse upon | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง | declaim | (vt) แสดงสุนทรพจน์อย่างฉะฉาน, See also: อ่านบทกวีอย่างฉะฉานจริงจัง, Syn. recite | declaim | (vi) อ่าน, See also: ท่อง บทกวี, สุนทรพจน์ ฯลฯ, อย่างมีอรรถรส, Syn. recite | declamation | (n) การแสดงสุนทรพจน์อย่างฉะฉาน, See also: การพูดหรืออ่านอย่างฉะฉาน | deliver | (vt) พูดสุนทรพจน์, See also: แสดงการบรรยาย, ปาฐกถา, Syn. tell, recite | discourse | (n) การบรรยายที่เคร่งเครียด, See also: การสนทนา, การปาฐกถา, การกล่าวสุนทรพจน์, Syn. speech, verbalization, address, monoloque | erotica | (n) ศิลปะหรืองานประพันธ์ที่ทำขึ้นมาเพื่อความสุนทรียทางเพศ, Syn. pornography | esthetic | (adj) เกี่ยวกับความงาม, See also: เกี่ยวกับสุนทรียะ, Syn. aesthetic, tasteful | esthetic | (n) ความงาม, See also: สุนทรียะ | esthetics | (n) สุนทรียศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสวยความงาม, Syn. aestheticism, aesthetics | maiden speech | (idm) สุนทรพจน์ครั้งแรก | inauguration | (n) พิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง (ทางการเมือง), See also: สุนทรพจน์ในพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง, Syn. coronation, enthronement | orate | (vt) กล่าวสุนทรพจน์ (โดยเฉพาะในที่สาธารณะ), See also: ปราศรัย, กล่าวอย่างเป็นทางการ, Syn. address, speak, declaim | oration | (n) การพูดปราศรัยในที่สาธารณะ, See also: การกล่าวสุนทรพจน์, Syn. address, speech | oratorical | (adj) เกี่ยวกับศิลปะในการพูดสุนทรพจน์ | oratory | (n) ศิลปะในการพูดสุนทรพจน์, See also: ศิลปะในการแสดงคำปราศรัย, Syn. rhetoric, eloquence | poetic | (adj) ซึ่งมีอารมณ์สุนทรีย์ | poetical | (adj) ซึ่งมีอารมณ์สุนทรีย์ | speakership | (n) การแสดงสุนทรพจน์ | speech | (n) คำพูด, See also: ถ้อยคำ, คำบรรยาย, คำปราศรัย, สุนทรพจน์, Syn. talk, utterance | speechify | (vi) กล่าวสุนทรพจน์ | speechmaker | (n) ผู้กล่าวคำปราศัย, See also: ผู้กล่าวสุนทรพจน์, Syn. speaker, talker | speechwriter | (n) ผู้เขียนคำสุนทรพจน์ | valedictorian | (n) ผู้แทนผู้เรียนที่กล่าวสุนทรพจน์ในวันรับประกาศนียบัตร, See also: ตัวแทนนักเรียนหรือนักศึกษาที่กล่าวคำอำลา | valedictory | (n) สุนทรพจน์กล่าวอำลา, Syn. address, lecture, speech | words | (n) สุนทรพจน์, See also: การพูด, Syn. speech, talk |
| aesthetic | (al) (เอสเธท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับความรู้สึกต่อความงาม, เกี่ยวกับสุนทรีย์ศาสตร์, เกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึกที่บริสุทธิ์, ทฤษฏีหรือความคิดเห็นที่ถือความงามเป็นใหญ่., Syn. esthetic al -esthetician n. | aesthetics | (เอสเธท' ทิคซฺ') n. สุนทรียศาสตร์, สุนทรียภาพ, Syn. esthetics | allocution | (แอลโลคิว' เชิน) n. การแสดงสุนทรพจน์ (formal speech) | brute force | เอาแต่แรงหมายถึง การออกแรงทำงานบางอย่างโดยไม่มีการคำนึงถึงรูปแบบ ความงดงาม หรือความสุนทรีย์ใด ๆ เลย | declamation | (เดคคละเม'เชิน) n. การแสดงสุนทรพจน์แบบโผงผาง, พูดชุมชน, การพูดที่ครึกโครม, การคุยโว, การท่องออกเสียง, See also: declamatory adj. ดูdeclamation | delivery | (ดิลิฟ'เวอรี) n. การส่ง, การนำส่ง, การกล่าว, การกล่าวสุนทรพจน์, การโยน (ลูกบอล) , สิ่งที่นำส่ง, การคลอดบุตร, การส่งสินค้าจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ, Syn. transfer | esthete | (เอส'ธีท) n. ดู aesthete, ความงามสุนทรียภาพ | esthetic | (เอสเธท'ทิค) adj. ดูaesthetic, งาม, เกี่ยวกับสุนทรียภาพ, เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ | esthetician | (เอสธีทิซ'เชิน) n. ดูaesthetician, ผู้เชี่ยวชาญด้านสุนทรียภาพ, นักสุนทรียศาสตร์ | esthetics | (เอสเธท'ทิคซฺ) n. ดูaesthetics, สุนทรียภาพ, สุนทรียศาสตร์ | orate | (โอเรท', ออเรท', ออ'เรท) vi., vt. กล่าวคำปราศรัย, กล่าวคำโวหาร, แสดงสุนทรพจน์ | oration | (โอเร'เชิน) n. คำโวหาร, คำปราศรัย, คำสุนทรพจน์, การแสดงสุนทรพจน์, ศิลปะแห่งการพูด, Syn. address | oratory | (ออ'ระโทรี) n. ศิลปะการแสดงสุนทรพจน์, คำสุนทรพจน์, คำโวหาร, คำปราศรัย | speech | (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., Syn. utterance | speechless | (สพีชฺ'ลิส) adj. เงียบอึ้ง, ไม่พูด, พูดไม่ออก, เป็นใบ้, ไม่มีถ้อยคำ, ไม่มีการกล่าวสุนทรพจน์, ไม่สามารถจะถ่ายทอดเป็นคำพูดได้., See also: speechlessness n. | tribune | (ทริบ'บิวน์) n. ผู้พิทักษ์สิทธิของประชาชน, เจ้าหน้าที่คุ้มครองประชาชน, เวทีแสดงสุนทรพจน์, เวทีอภิปราย, ยกพื้นสำหรับการแสดงสุนทรพจน์, See also: tribuneship n. |
| address | (n) คำปราศรัย, สุนทรพจน์, การจ่าหน้าซอง, ที่อยู่ | aesthete | (n) คนมีอารมณ์สุนทรีย์ | aesthetic | (adj) เกี่ยวกับความสวยงาม, เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ | aesthetics | (n) สุนทรียศาสตร์ | declaim | (vi) พูดในที่ชุมนุมชน, แสดงปาฐกถา, แสดงสุนทรพจน์ | declamation | (n) การพูดในที่ชุมนุมชน, ปาฐกถา, การแสดงสุนทรพจน์ | delivery | (n) การพูดจา, การกล่าวสุนทรพจน์, การส่งมอบ, การคลอดลูก | esthete | (n) ผู้รักความสวยความงาม, ความงาม, สุนทรียภาพ, สุนทรียศาสตร์ | esthetic | (adj) เกี่ยวกับความงาม, เกี่ยวกับสุนทรียภาพ, เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ | oration | (n) การกล่าวปราศรัย, การแสดงสุนทรพจน์, โวหาร | orator | (n) ผู้ปราศรัย, ผู้แสดงสุนทรพจน์, นักพูด, นักโต้วาที, โจทก์ | oratorical | (adj) ในเชิงโวหาร, เกี่ยวกับการแสดงสุนทรพจน์ | oratory | (n) คำปราศรัย, สุนทรพจน์, วาทศิลป์ | speaker | (n) ผู้พูด, โฆษก, พิธีกร, ผู้บรรยาย, ลำโพงวิทยุ, ประธาน, การแสดงสุนทรพจน์ | speaking | (n) การแสดงสุนทรพจน์, การพูด, การบรรยาย, การแสดงปาฐกถา | speech | (n) สุนทรพจน์, คำพูด, คำปราศรัย, คำบรรยาย, วาทะ |
| panegyric | (n) บทสดุดี คือสุนทรพจน์อย่างเป็นทางการหรือต่อมาเป็นบทเขียนที่ใช้ในการสรรเสริญบุคคลหรือสิ่งของ เป็นคำที่มาจากภาษากรีกที่หมายถึงสุนทรพจน์ที่เหมาะแก่ที่ประชุม (panegyris) ในเอเธนส์การกล่าวบทสดุดีจะทำกันในเทศกาลระดับชาติหรือในการแข่งขันกีฬาโดยมีจุดประสงค์ในการเร้าใจผู้ที่มาร่วมเพื่อให้ปฏิบัติตนเช่นตัวอย่างอันดีของบรรพบุรุษ (Source:wikipedia.org), See also: eulogy |
| 台詞 | [せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance |
| 発言 | [はつげん, hatsugen] TH: คำกล่าวสุนทรพจน์ EN: speech |
| Rede | (n) |die| คำกล่าว, สุนทรพจน์ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |