Medical parasitology | ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Medical biotechnology | เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Medical photography | การถ่ายภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Imaging systems in medicine | ระบบการสร้างภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Biomedical material | วัสดุทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Coincidence counting | การนับรังสีบรรจวบ, การนับรังสีที่เกิดจากเหตุการณ์การแผ่รังสีลักษณะเฉพาะตั้งแต่สองเหตุการณ์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือเกิดในช่วงเวลาที่สัมพันธ์กัน การนับรังสีนี้เป็นวิธีหนึ่งเพื่อตรวจหาหรือจำแนกวัสดุกัมมันตรังสี และใช้เทียบมาตรฐานอัตราการสลายของวัสดุกัมมันตรังสีนั้น ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี การถ่ายภาพทางการแพทย์ การศึกษารังสีคอสมิก และการวัดรังสีระดับต่ำ (ดู counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Diagnostic exposure | การรับรังสีจากการวินิจฉัยโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการวินิจฉัยโรค หรือตรวจหาความบกพร่องของอวัยวะ [นิวเคลียร์] |
Medical mycology | กิณวิทยาทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Dose limit | ขีดจำกัดปริมาณรังสี, ค่ากำหนดสูงสุดของปริมาณรังสียังผลหรือปริมาณรังสีสมมูลที่บุคคลอาจได้รับจากการดำเนินกิจกรรมทางรังสี ซึ่งคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี (International Commission on Radiation Protection, ICRP) ได้กำหนดขีดจำกัดปริมาณรังสีไว้ดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงาน -ปริมาณรังสียังผลเฉลี่ยไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ตต่อปีในระยะเวลา 5 ปีติดต่อกัน โดยในปีใดปีหนึ่งต้องได้รับปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 50 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่เลนส์ตา ไม่เกิน 150 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่มือและเท้า หรือที่ผิวหนัง ไม่เกิน 500 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี 2. บุคคลทั่วไป ปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 1 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี โดยไม่รวมปริมาณรังสีจากธรรมชาติและปริมาณรังสีจากการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ ทั้งนี้ในทางปฏิบัติต้องจำกัดให้ได้รับรังสีน้อยที่สุด (ดู sievert ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Medical wastes | ขยะทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Therapeutic exposure | การรับรังสีจากการบำบัดโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] |
Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Public exposure | การรับรังสีของบุคคลทั่วไป, การได้รับรังสีของบุคคลทั่วไปจากต้นกำเนิดรังสี หรือจากการดำเนินกิจการทางรังสีซึ่งได้รับอนุญาต หรือกรณีเกิดอุบัติเหตุ ทั้งนี้ไม่รวมถึงการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน จากการรักษาทางการแพทย์ และจากต้นกำเนิดรังสีในธรรมชาติ (ดู occupational exposure และ medical exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Medical microbiology | จุลชีววิทยาทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Medical exposure | การได้รับรังสีจากการแพทย์, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวินิจฉัยโรคหรือการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] |
Medical technology | เทคโนโลยีทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Medical innovation | นวัตกรรมทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Internal radiation | รังสีในร่างกาย, รังสีจากต้นกำเนิดรังสีใดๆ ที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งที่ร่างกายได้รับจาก น้ำ อาหาร อากาศ การบำบัดรักษาทางการแพทย์ การปฏิบัติงานทางรังสี และจากอุบัติเหตุทางรังสี [นิวเคลียร์] |
Internal exposure | รังสีในร่างกาย, รังสีจากต้นกำเนิดรังสีใดๆ ที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งที่ร่างกายได้รับจาก น้ำ อาหาร อากาศ การบำบัดรักษาทางการแพทย์ การปฏิบัติงานทางรังสี และจากอุบัติเหตุทางรังสี [นิวเคลียร์] |
Communication in medicine | การสื่อสารทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Conversation and phrase books (for medical personnel) | บทสนทนาและวลี (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์) [TU Subject Heading] |
Death certificates | ใบรับรองการตายทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Electronics, Medical | อิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Health care reform | การปฏิรูปบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Health services ; Medical care | บริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Health services accessibility | การเข้าถึงบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Health services administration | การบริหารบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Human experimentation in medicine | การทดลองต่อมนุษย์ในทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
tritium | ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้น, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้นมีเลขมวลเท่ากับ 3 และครึ่งชีวิตเท่ากับ 12.32 ปี ทริเทียมสลายให้อนุภาคบีตาพลังงาน 18 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ใช้เป็นสารกัมมันตรังสีตามรอยในทางการแพทย์และอุตสาหกรรม (ดู hydrogen, H และ deuterium, $^2$H, D ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Managed care plans (Medical care) | ข้อตกลงการดูแลทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical assistance | ความช่วยเหลือทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical assistance, Thai | ความช่วยเหลือทางการแพทย์ของไทย [TU Subject Heading] |
Medical care surveys ; Health care surveys | การสำรวจบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical errors | ความผิดพลาดทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical ethics | จรรยาบรรณทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical fees | ค่าบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical informatics | สารสนเทศศาสตร์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical instruments and apparatus | เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical instruments and apparatus industry | อุตสาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical laboratories | ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical museums | พิพิธภัณฑ์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical offices | สำนักงานทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical oncology | วิทยาเนื้องอกทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical parasitology | ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical personnel | บุคลากรทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical photography | การถ่ายภาพทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical publishing | การจัดพิมพ์วรรณกรรมทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical rehabilitation | การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical social work | สังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Medical statistics | สถิติทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |