ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อนุภาค, -อนุภาค- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อนุภาค | (n) particle, Thai Definition: ชิ้นหรือส่วนขนาดเล็กมาก, ในทางวิทยาศาสตร์มักใช้เรียกส่วนที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม |
| อนุภาค | น. ชิ้นหรือส่วนขนาดเล็กมาก, ในทางวิทยาศาสตร์มักใช้เรียกส่วนที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา. | กัมมันตภาพรังสี | (กำมันตะ-) น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน. | แกมมา | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐, ๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์-๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร. | แกรไฟต์ | (แกฺร-) น. อัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดำ ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดำ เนื้ออ่อน เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทำไส้ดินสอดำ เบ้าหลอมโลหะ นํ้ามันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็วช่วยควบคุมจำนวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. | แขวนลอย | น. ภาวะที่อนุภาคซึ่งมีขนาดจำกัดแผ่กระจายอยู่ในของไหลหรือของแข็งโดยไม่ละลายหรือสลายตัวรวมเป็นเนื้อเดียวกับของไหลหรือของแข็งนั้น, สารที่อยู่ในภาวะเช่นนี้เรียกว่า สารแขวนลอย เช่น ฝุ่นในอากาศ หยดนํ้าเล็ก ๆ ในแก๊ส. | ควัน | แก๊สที่มีอนุภาคละเอียดของของแข็งแขวนลอยอยู่. | แคดเมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๘ สัญลักษณ์ Cd เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๑ °ซ. เป็นตัวดูดกลืนอนุภาคนิวตรอนได้ดี จึงทำเป็นแท่ง เรียกว่า แท่งควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. | นิวเคลียส | น. ส่วนใจกลางของอะตอมของธาตุทุกชนิด ส่วนนี้ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่สำคัญ ๒ ชนิด คือ โปรตอน และ นิวตรอน (สำหรับอะตอมของไฮโดรเจนธรรมดา นิวเคลียสมีแต่โปรตอนเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน), ส่วนที่สำคัญยิ่งของเซลล์ ลักษณะเหนียวข้นเป็นก้อนประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ อีกหลายชนิด มักอยู่ตอนกลางของเซลล์ที่ยังอ่อนอยู่ และอาจร่นไปอยู่ริมเซลล์เมื่อแก่เข้า. | นิวตรอน | น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งซึ่งเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุทุกชนิด ยกเว้นไฮโดรเจนธรรมดา อนุภาคนี้ไม่มีประจุไฟฟ้าและมีมวล ๑.๖๗๔๘๒ x ๑๐-๒๗ กิโลกรัม. | บีตา | น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี มี ๒ ชนิด คือ อิเล็กตรอน และ โพซิตรอน. (อ. beta particle), มักเรียกกระแสอนุภาคบีตาว่า รังสีบีตา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๙๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา. | ประจุไฟฟ้า | น. อนุภาคที่แสดงอำนาจไฟฟ้าซึ่งได้แก่ โปรตอน และอิเล็กตรอน วัตถุใดที่มีจำนวนโปรตอนมากกว่าจำนวนอิเล็กตรอน ก็กำหนดว่าวัตถุนั้นมีประจุไฟฟ้าบวก แต่ถ้ามีจำนวนอิเล็กตรอนมากกว่าจำนวนโปรตอน ก็กำหนดว่าวัตถุนั้นมีประจุไฟฟ้าลบ. | โปรตอน | (โปฺร-) น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสแห่งอะตอมของธาตุทุกชนิด อนุภาคนี้มีประจุไฟฟ้าบวก มีมวล ๑.๖๗๒๕๒ x ๑๐-๒๗ กิโลกรัม. | ฝ้า | น. อนุภาคเล็ก ๆ ที่รวมตัวกัน มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ลอยอยู่บนผิวนํ้าหรือติดอยู่ที่แผลเป็นต้น | พลาสมา | ภาวะหนึ่งของสสาร ณ ภาวะนี้สสารอยู่ในสภาพแก๊สที่ร้อนจัดอย่างยิ่งยวด และแตกตัวเป็นอนุภาคบวกกับอิเล็กตรอนซึ่งมีจำนวนเท่ากันโดยประมาณ สสารในภาวะนี้เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดียิ่ง. | โพซิตรอน | (-ตฺรอน) น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้าเท่ากับประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน แต่เป็นประจุไฟฟ้าบวก เมื่อโพซิตรอนและอิเล็กตรอนอย่างละ ๑ อนุภาคมากระทบกัน ทั้งคู่จะทำลายล้างกันสูญหายไปด้วยกันทั้งสิ้น และให้พลังงานมากมายเกิดขึ้นในรูปของรังสีแกมมา, แอนติอิเล็กตรอน ก็เรียก. | ฟ้าหลัว | น. อากาศมัวเนื่องจากในอากาศขณะนั้นมีอนุภาคที่มองไม่เห็น เช่น เกลือจากทะเล ควันไฟ ฝุ่นละอองปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก. | ไฟฟ้า | น. พลังงานรูปหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการแยกตัวออกมา หรือการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือโปรตอนหรืออนุภาคอื่นที่มีสมบัติแสดงอำนาจคล้ายคลึงกับอิเล็กตรอนหรือโปรตอน ใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดพลังงานอื่น เช่น ความร้อน แสงสว่าง การเคลื่อนที่. | รังสีคอสมิก | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ ๙๐ และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน. | อะตอม | น. ส่วนที่เล็กที่สุดของธาตุซึ่งเข้าทำปฏิกิริยาเคมีได้ อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่สำคัญ คือ นิวเคลียสเป็นแกนกลางและมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่โดยรอบ, เดิมเรียกว่า ปรมาณู. | อิเล็กตรอน | (-ตฺรอน) น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของอะตอมของธาตุทุกชนิด อนุภาคนี้มีประจุไฟฟ้าลบ มีมวล ๙.๑๐๙๑ x ๑๐-๓๑ กิโลกรัม. | แอลฟา | น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี เป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม มักเรียกกระแสอนุภาคแอลฟาว่า รังสีแอลฟา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้น้อย เมื่อกระทบกับฉากเรืองแสงจะทำให้เกิดแสงเรืองขึ้นได้. |
|
| | Particle size determination | การกระจายของขนาดอนุภาค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Particle size determination | การกระจายของขนาดอนุภาค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nanoparticle | อนุภาคนาโน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Accelerator | เครื่องเร่งอนุภาค, เครื่องเพิ่มความเร็วและพลังงานจลน์ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น <em>โปรตอน</em>หรือ<em>อิเล็กตรอน</em> โดยใช้แรงแม่เหล็กและ/หรือไฟฟ้า ทำให้อนุภาคเหล่านั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง เครื่องเร่งอนุภาคมีหลายชนิด เช่น <em>ไซโคลทรอน</em> <em>ซิงโครทรอน เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น</em> และ<em>บีตาทรอน</em> [นิวเคลียร์] | Activation | การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน [นิวเคลียร์] | Alpha particle | อนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม [นิวเคลียร์] | Alpha ray | รังสีแอลฟา, กระแสของ<em>อนุภาคแอลฟา</em> หรืออาจใช้เรียกแทนอนุภาคแอลฟาได้ <br>(ดู Alpha particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Annihilation | ประลัย, ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคกับปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้นๆ แล้วอนุภาคทั้งสองหายไปกลายเป็นรังสีแกมมาพลังงานเท่ากันเคลื่อนที่ออกไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่นการรวมตัวของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอน ได้รังสีแกมมาพลังงานรวม 1.02 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู Antimatter ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Antimatter | ปฏิสสาร, สสารที่มีอะตอมประกอบด้วยปฏิยานุภาค เช่น อะตอมของแอนติไฮโดรเจนประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีแอนติโปรตอนจำนวน 1 อนุภาค และมีโพซิตรอน 1 อนุภาคโคจรอยู่รอบๆ (ดู antiparticle ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Antiparticle | ปฏิยานุภาค, อนุภาคที่มีมวล ประจุไฟฟ้า และเลขสปิน เท่ากับอนุภาคนิวเคลียร์ชนิดเดียวกัน แต่มีประจุไฟฟ้าและหรือโมเมนต์แม่เหล็กตรงข้ามกัน ตัวอย่างโปรตอนมีประจุไฟฟ้า +1 ส่วนแอนติโปรตอนมีประจุไฟฟ้า [นิวเคลียร์] | Barn, b | บาร์น, หน่วยพื้นที่ภาคตัดขวางของอะตอม นิวเคลียส อิเล็กตรอน และอนุภาคอื่นๆ ที่แสดงโอกาสในการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1 บาร์น มีค่าเท่ากับ 10–24 ตารางเซนติเมตร (ดู cross section ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Bremsstrahlung | เบรมส์ชตราลุง, รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมา เมื่ออนุภาคที่มีประจุถูกเร่งให้เร็วขึ้น หรือถูกหน่วงให้ช้าลง รังสีเอกซ์จากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปก็เป็นรังสีชนิดนี้ [นิวเคลียร์] | Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Cerenkov radiation | การแผ่รังสีเซเรนโกฟ, ปรากฏการณ์เรืองแสงเมื่ออนุภาคที่มีประจุเคลื่อนผ่านวัสดุโปร่งใส ด้วยความเร็วที่สูงกว่าความเร็วของแสงในวัสดุนั้น เช่น ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือเครื่องฉายรังสีแกมมาแบบสระน้ำ จะเห็นการแผ่รังสีนี้เป็นแสงเรืองสีฟ้า พาเวล อเล็กเซวิช เซเรนโกฟ (Pavel Alexsejevich Cerenkov) เป็นคนแรกที่อธิบายปรากฏการณ์นี้ [นิวเคลียร์] | Compton scattering | การกระเจิงแบบคอมป์ตัน, ปรากฏการณ์เมื่อโฟตอนวิ่งชนอิเล็กตรอนของอะตอม แล้วเกิดการกระเจิง โฟตอนที่กระเจิงออกไปจะมีพลังงานลดลงจากเดิม ซึ่งขึ้นอยู่กับมุมของการกระเจิงและมวลของอนุภาคที่ถูกชน ปรากฏการณ์นี้ตั้งชื่อตามผู้ค้นพบ คือ อาร์เทอร์ ฮอลลี คอมป์ตัน (Arthur Holly Compton) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลในปี พ.ศ.2470 [นิวเคลียร์] | Cosmic radiation | รังสีคอสมิก, รังสีจากอวกาศซึ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก มีองค์ประกอบโดยประมาณ ได้แก่ โปรตอนร้อยละ 87 รังสีแอลฟาร้อยละ 11 รังสีอนุภาคหนักที่มีเลขเชิงอะตอมระหว่าง 4 ถึง 26 ร้อยละ 1 และ อิเล็กตรอนร้อยละ 1 [นิวเคลียร์] | Cyclotron | ไซโคลทรอน, เครื่องเร่งอนุภาคที่อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าและถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไปคล้ายก้นหอย เมื่อได้ความเร็วที่ต้องการ อนุภาคจะถูกปล่อยให้ชนกับวัสดุที่ใช้เป็นเป้า เครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ใช้ในการวิจัยฟิสิกส์มูลฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ประดิษฐ์ คือ เออร์เนสต์ โอ. ลอว์เรนซ์ (Earnest O. Lawrence) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2482 [นิวเคลียร์] | Particle accelerator | เครื่องเร่งอนุภาค, เครื่องเพิ่มความเร็วและพลังงานจลน์ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น โปรตอนหรืออิเล็กตรอน โดยใช้แรงแม่เหล็กและ/หรือไฟฟ้า ทำให้อนุภาคเหล่านั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง เครื่องเร่งอนุภาคมีหลายชนิด เช่น ไซโคลทรอน ซิงโครทรอน เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น และบีตาทรอน [นิวเคลียร์] | Decay, radioactive | การสลาย(กัมมันตรังสี), การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] | Disintegration, radioactive | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] | Electron | อิเล็กตรอน, อนุภาคมูลฐานที่เป็นส่วนประกอบของอะตอม มีประจุไฟฟ้าลบ และมีมวล 1 ใน 1873 ส่วนของมวลโปรตอน โดยแต่ละอะตอมจะมีอิเล็กตรอนจำนวนหนึ่งอยู่ล้อมรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก สำหรับอะตอมที่เป็นกลางจำนวนอิเล็กตรอนจะเท่ากับจำนวนโปรตอนและเป็นตัวกำหนดสมบัติทางเคมีของอะตอม [นิวเคลียร์] | Elementary particles | อนุภาคมูลฐาน, อนุภาคชั้นสามัญที่สุดของสสารและรังสี ส่วนใหญ่มีอายุสั้นและไม่ปรากฏในภาวะปกติ (ยกเว้น อิเล็กตรอน นิวตรอน โปรตอน และนิวทริโน) เดิมหมายถึงอนุภาคใดๆ ที่ไม่สามารถแบ่งย่อยต่อไปได้ หรืออนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม ปัจจุบันหมายถึงอนุภาคโปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน มีซอน มิวออน แบรีออน และปฏิยานุภาคของอนุภาคเหล่านี้ รวมทั้งโฟตอน แต่ไม่รวมอนุภาคแอลฟาหรือดิวเทอรอน [นิวเคลียร์] | Van de Graaff generator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474, Example: [นิวเคลียร์] | Van de Graaff accelerator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474 [นิวเคลียร์] | Triton | ไทรทอน, นิวเคลียสของอะตอมทริเทียม ประกอบด้วยโปรตอน 1 อนุภาค และนิวตรอน 2 อนุภาค [นิวเคลียร์] | Synchrotron | ซิงโครทรอน, เครื่องเร่งอนุภาค ที่อนุภาคถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ในย่านความถี่ของคลื่นวิทยุ และถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่โดยการควบคุมของสนามแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้น พร้อมสัมพันธ์กับความเร็วของอนุภาคที่เพิ่มขึ้น ซิงโครทรอนเครื่องแรก ชื่อ คอสโมทรอน (Cosmotron) สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 2495 ตั้งอยู่ที่ Brookhaven National Laboratory ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถเร่งโปรตอนให้มีพลังงานสูงถึง 2, 300 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] | Subatomic particle | อนุภาคย่อยของอะตอม, อนุภาคใด ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม เช่น อิเล็กตรอน นิวตรอน และโปรตอน, Example: [นิวเคลียร์] | Radioactive decay | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิ วไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] | Radioactivation | การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน [นิวเคลียร์] | Radiation, nuclear | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Venturi scrubber | เครื่องเก็บอนุภาคชนิดเวนทูรี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | radiation | รังสี, การแผ่รังสี, พลังงานที่แผ่จากต้นกำเนิดรังสีผ่านอากาศหรือสสาร ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ความร้อน แสงสว่าง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือเป็นกระแสของอนุภาคที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น รังสีคอสมิก รังสีแอลฟา รังสีบีตา อนุภาคนิวตรอน อนุภาคโปรตอน [นิวเคลียร์] | Proton synchrotron | โปรตอนซิงโครทรอน, เครื่องเร่งอนุภาคที่ใช้เร่งอนุภาคโปรตอนให้มีพลังงานสูงมากในช่วงพันล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู synchrotron ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Proton | โปรตอน, อนุภาคมูลฐานที่มีประจุไฟฟ้าบวกหนึ่งหน่วย มีมวลประมาณ 1837 เท่าของอิเล็กตรอน โปรตอนเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสทุกชนิด เลขเชิงอะตอม ของอะตอมใด ๆ จะเท่ากับจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอมนั้น [นิวเคลียร์] | Positron | โพซิตรอน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอนแต่มีประจุเป็นบวก เรียกอีกอย่างว่า “แอนติอิเล็กตรอน” เกิดจาก แพร์โพรดักชัน หรือจากการสลายกัมมันตรังสีของนิวไคลด์บางชนิด เช่น โซเดียม-22 (ดู antimatter; electron และ pair production ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Photon | โฟตอน, กลุ่มหนึ่งๆ ของพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีโมเมนตัมซึ่งเป็นลักษณะของอนุภาค แต่ไม่มีมวลหรือประจุไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น รังสีแกมมา และรังสีเอกซ์ [นิวเคลียร์] | Pair production | แพร์โพรดักชัน, การแปลงพลังงานจลน์ของโฟตอนหรืออนุภาคที่มีพลังงานสูงให้เป็นมวล เกิดเป็นอนุภาคย่อยและปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้น เช่น การที่รังสีแกมมาหรือรังสีเอกซ์ที่มีพลังงานตั้งแต่ 1.022 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ขึ้นไป ผ่านสนามไฟฟ้ารอบนิวเคลียสแล้วกลายเป็นอิเล็กตรอนและโพซิตรอนที่มีพลังงานเท่ากัน <br>พลังงาน 1.022 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์เทียบเท่ากับมวลนิ่งของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอนรวมกัน</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Nucleus | นิวเคลียส, แกนกลางของอะตอม มีประจุเป็นบวก และขนาดเล็กประมาณ 10-15 เมตร หรือประมาณ 1 ใน 10, 000 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของอะตอม เป็นที่รวมของมวลเกือบทั้งหมดของอะตอม ทุกนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน ยกเว้นนิวเคลียสของไฮโดรเจนธรรมดาที่มีเพียงโปรตอนหนึ่งอนุภาค [นิวเคลียร์] | Nuclear radiation | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Nuclear force | แรงนิวเคลียร์, แรงที่ยึดอนุภาคต่างๆ ภายในนิวเคลียสของอะตอมเข้าไว้ด้วยกัน [นิวเคลียร์] | Nuclear fission | การแบ่งแยกนิวเคลียส, การที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแยกออกเป็นนิวเคลียสของธาตุที่เบากว่าอย่างน้อยสองชนิดที่มีขนาดใกล้เคียงกัน พร้อมกับปลดปล่อยนิวตรอน 1 ถึง 3 อนุภาค รังสีแกมมา และพลังงานออกมา [นิวเคลียร์] | Neutron generator | เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่งที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุ เช่น ดิวเทอรอน ให้มีพลังงานระหว่าง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วปล่อยให้ชนกับเป้าบางๆ ที่เหมาะสม ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจะให้นิวตรอนที่มีพลังงานได้ถึง 17.59 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] | Neutron bomb | ลูกระเบิดนิวตรอน, ลูกระเบิดไฮโดรเจนขนาดเล็ก ออกแบบเป็นพิเศษให้มีผลทำลายน้อยที่สุดจากแรงระเบิดและความร้อนในวงจำกัดรัศมีสองร้อยถึงสามร้อยเมตร แต่มีผลในวงกว้างทำให้สิ่งมีชีวิตถึงตายได้จากอนุภาคนิวตรอนและรังสีแกมมา ลูกระเบิดนิวตรอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายรถถังและกองทหารในสนามรบโดยไม่เป็นอันตรายต่อตัวเมืองและย่านชุมชนที่อยู่ห่างออกไป <br>(ดู H-bomb ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Neutron Activation Analysis | การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอน, เอ็นเอเอ, การจำแนกชนิดและปริมาณของธาตุในสารตัวอย่างโดยใช้อนุภาคนิวตรอนเป็นตัวกระทำให้เกิดกัมมันตภาพรังสีแก่สารตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ แล้ววัดรังสีแกมมาเฉพาะตัวที่ปลดปล่อยจากนิวไคลด์รังสีที่เกิดขึ้น <br>(ดู activation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Neutron | นิวตรอน, อนุภาคมูลฐานที่ไม่มีประจุ มีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย และพบในนิวเคลียสของทุกอะตอมยกเว้นอะตอมไฮโดรเจนธรรมดา นิวตรอนอิสระไม่เสถียร มีครึ่งชีวิต 10.3 นาที สลายเป็นอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวทริโน [นิวเคลียร์] | Neutrino | นิวทริโน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีประจุไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูง และมีปฏิสัมพันธ์กับสสารน้อย ทำให้ตรวจหาได้ยาก พบได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์หลายชนิด เช่น การสลายแบบให้อนุภาคบีตา รวมทั้งอนุภาคจากดวงอาทิตย์ที่ผ่านมายังโลก, Example: [นิวเคลียร์] | Mass number, A | เลขมวล, ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งๆ ซึ่งเป็นเลขจำนวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุดกับน้ำหนักเชิงอะตอมของแต่ละไอโซโทป เช่น ยูเรเนียม-235 มีโปรตอน 92 อนุภาค และนิวตรอน 143 อนุภาค ดังนั้นเลขมวลคือ 235 <br>(ดู atomic mass และ atomic number ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Linac | เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น, ไลแน็ก, มาจากคำ่ว่า Linear accelerator อนุภาคที่มีลักษณะเป็นท่อตรงยาว อนุภาคที่มีประจุซึ่งวิ่งภายในท่อจะถูกเพิ่มพลังงานด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้ากระแสสลับที่มีอยู่ตลอดความยาวท่อ <br>(ดู cyclotron และ accelerator ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Linear accelerator | เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น, ไลแน็ก, เครื่องเร่งอนุภาคที่มีลักษณะเป็นท่อตรงยาว อนุภาคที่มีประจุซึ่งวิ่งภายในท่อจะถูกเพิ่มพลังงานด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้ากระแสสลับที่มีอยู่ตลอดความยาวท่อ <br>(ดู cyclotron และ accelerator ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
| Well, sir, this speck in space is a scholastic sewer. | อนุภาคเล็ก ๆในอวกาศนี่ คือท่อระบายวิชาความรู้ The Little Prince (1974) | Those are small particles. | นี่คืออนุภาคขนาดเล็ก Idemo dalje (1982) | We're also detecting a fair number of what we believe to be unknown particles. | เรากำลังตรวจสอบจำนวนมากมาย ซึ่งทำให้เราเชื่อว่าเป็นอนุภาคที่เราไม่รู้จัก Akira (1988) | The particle accelerator leads to the runway. Take care of my daughter. | เครื่องบินอนุภาคจะนำไปที่รันเวย์ Terminator 3: Rise of the Machines (2003) | Nothing has been left out, all right? | ทุกอนุภาคและทุกสิ่ง I Heart Huckabees (2004) | It's just the way things are. You and me and the air are actually tiny particles... That are swirling around together. | ทั้งคุณทั้งผม ทุกอนุภาคเล็กๆ ที่หมุนตัวรวมกัน ดูนี่สิ เห็นมั้ย I Heart Huckabees (2004) | Look right here. You see? Okay. | โอเค แต่ดูรอยแยก ระหว่างอนุภาคพวกนี้ I Heart Huckabees (2004) | Look closer. | มันยังมีอนุภาคเล็กกว่า ที่เชื่อมต่อสี่เหลี่ยมพวกนี้ I Heart Huckabees (2004) | By coming at it from the back end, rather than changing... the surrounding temperature, we'll change the level it'll conduct... the transition temperature. | โดยการเข้าหามันจากด้านหลัง แทนที่จะเปลี่ยน... อุณหภูมิแวดล้อม เราจะเปลี่ยนระดับที่มันจะเข้าสู่... อุณหภูมิแทรนซิชัน และพอยิงด้วยอนุภาคซ้ำๆ-- Primer (2004) | Scientists discovered that these space particles caused the reanimation of dead bodies-- | นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่าอนุภาคจากอวกาศนี้ ทำให้ศพฟื้นคืนชีพ Fido (2006) | Next question mutual relationship forms mesotron also called... | ...... ความสัมพันธ์ต่อกันที่ก่อให้เกิดเป็นอนุภาคนิวเคลียร์เรียกว่า Super Rookie (2005) | You turned me into a simp. | นายทำให้ฉันกลายเป็นอนุภาคเล็กๆ American Duos (2007) | "DANGER PARTICLE PHYSICS TEST FACILITY KEEP OUT" | [ อันตราย สถานที่ทดสอบอนุภาคฟิสิกส์ ห้ามเข้าไกล้ ] Spider-Man 3 (2007) | - Particle accelerator. | \ สร้างเครื่องเร่งอนุภาค G.I. Joe: The Rise of Cobra (2009) | The biggest Sun eruptions in human history causing the highest neutrino count we've ever recorded. | การปะทุครั้งใหญ่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ เกิดอนุภาค นิวทรีโนส มากที่สุด เท่าที่เคยบันทึกมา 2012 (2009) | For the first time ever the neutrinos are causing a physical reaction. | แต่นี้เป็นครั้งแรก... . ที่อนุภาคนิวตรอนทำให้ เกิดแรงปฏิกริยา 2012 (2009) | It looks like the neutrinos coming from the Sun have mutated into a new kind of nuclear particle. | ดูเหมือนอนุภาคนิวตรอนจากดวงอาทิตย์ ผ่าเหล่าทำให้เกิดเป็นประจุนิวเคลียแบบใหม่ 2012 (2009) | - What's this? It's particles scattered all over the internet. | มันเหมือนอนุภาคเล็กๆที่กระจัดกระจายไปทั่วบนอินเตอร์เน็ต The No-Brainer (2009) | V.L.A. in New Mexico, Particle Collider at C.E.R.N., | ศูนย์สังเกตการณ์ิวิทยุดาราศาสตร์ แห่งชาติ ที่นิวเม็กซิโก การยิงลำแสงอนุภาคของเซิร์น White to Play (2009) | There's no reason for those particles to be in the sand. | ไม่มีเหตุผลอะไร ที่ต้องมีอนุภาค ของคอปเปอร์ซัลเฟตในทราย Bolt Action (2009) | I asked Dr. Hodgins to swab for particulates that may have been transferred from the blade. | ผมบอก ดร.ฮอดจิ้นส์ ให้ตรวจหาอนุภาคแล้ว คงจะตรวจพบอะไรที่ย้ายไป เกาะติดที่รอยคมมันบ้าง The Beautiful Day in the Neighborhood (2009) | Hey, so I finally got through the particulates left behind by the saw. | เฮ ในที่สุดผมก็มาถึง อนุภาคที่หลงเหลือ หลังจากใช้เลื่อย The Beautiful Day in the Neighborhood (2009) | There are particulates imbedded in the compaction. | ยังมีอนุภาคชิ้นย่อยๆ ถูกฝังอยู่โพรงอกอีก A Night at the Bones Museum (2009) | Dr. Brennan wanted me to check on those particulate swabs from the mummy's chest cavity. | ดร.เบรนเนนต้องการให้ฉัน ไปเช็คสิ่งโน้น ตวัดตรวจน้ำเยื่ออนุภาค จากโพรงทรวงอกของมัมมี่ A Night at the Bones Museum (2009) | So strange attractors are particles that end up together | ดังนั้นตัวดึงดูดแปลกๆ คือ อนุภาคที่ลงเอยไปด้วยกัน Chapter Six 'Strange Attractors' (2009) | Ah, well, in this context... Oh! If I'm wrong, prove it. | ใช่ ในกรณีนี้ ถ้าฉันคิดผิด ก็พิสูจน์สิ นี่คือตรงที่เราได้มวลสารอนุภาคของสสารมืด The Pirate Solution (2009) | About methods of optimizing the detector | เครื่องตรวจจับอนุภาค The Pirate Solution (2009) | Now you can demolish your Soviet-style cyclotron and build the large Hadron Collider. | ตอนนี้เธอทำลายรูปแบบของ หมาก เธอ และสร้างเครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่ The Guitarist Amplification (2009) | Kripke, I found the nozzle! | ในการวิจัยอนุภาคดังกล่าว\ ที่อาร์คติด เซอร์เคิล The Vengeance Formulation (2009) | I am the director of the National Linear Accelerator Project. | โครงการเครื่องเร่งอนุภาค เชิงเส้นแห่งชาติ A561984 (2009) | It increases the rate of acceleration for traditional radio frequency machines. | มันช่วยเพิ่มอัตราเร่งของ เครื่องเร่งอนุภาคที่ใช้สำหรับ เครื่องสร้างความถี่วิทยุแบบเดิม A561984 (2009) | 'He's high efficient in computing equipment and particle-physics simulation.' | เขามีความเก่งฉกาจมาก ในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และแบบจำลอง ทางฟิสิกส์อนุภาค A561984 (2009) | From spinning electrons to spinning galaxies. | ตั้งแต่อนุภาครังสี ยันซุปเปอร์โนวา ตั้งแต่อิเลคตรอน ยันกาแลคซี่ The Gorilla Experiment (2009) | We should be ready day after tomorrow. | เรากำลังติดตั้ง ตัวเร่งอนุภาคอิเลคตรอน The Gorilla Experiment (2009) | Inviting my girlfriend to come see your electron accelerator? | ว่าไงนะ ชวนแฟนฉัน ไปดูตัวเร่งอนุภาค อิเลคตรอนนายไง The Gorilla Experiment (2009) | Leonard is attempting to learn why subatomic particles move the way they do. | เลียวนาร์ดกำลังหาว่า ทำไมอนุภาคย่อย ถึงเคลื่อนไหวแบบนั้นน่ะ The Gorilla Experiment (2009) | What exactly are subatomic particles? | อนุภาคย่อยเนี่ย มันคืออะไรเหรอ The Gorilla Experiment (2009) | A live human body and a deceased human body have the same number of particles. | จะร่างกายมนุษย์ที่เป็น หรือจะร่างกายมนุษย์ที่ตาย... ... ก็มีจำนวนอนุภาคเท่ากัน Watchmen (2009) | We are moving up the luminosity 10 to 34. | อนุภาคถูกปลดปล่อยที่ 99% ของความเร็วแสง Angels & Demons (2009) | The poem implies-- The poem? Unbelievable. | อนุภาคถูกปลดปล่อยที่ 99% ของความเร็วแสง Angels & Demons (2009) | Physicists use diagrams like these to shorthand ideas about how subatomic particles behave. | นักฟิสิกส์ใช้แผนผังแบบนี้ เพื่อชวเลขไอเดียเกี่ยวกับ พฤติกรรมของอนุภาค ในระดับซับอะตอมมิค White Tulip (2010) | I grasp portions of it, tachyons are depicted here, but I fail to see their relevance. | ผมเข้าใจหลายส่วนของมันนะ อย่างอนุภาคที่เดินทางได้เร็วกว่าแสง ได้ถูกอธิบายไว้ตรงนี้ แต่ผมยังไม่เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของมัน White Tulip (2010) | was particle acceleration. | ความหลงไหลของเขา คือการเร่งความเร็วอนุภาค White Tulip (2010) | Um, creating wormholes without a particle collider. | สร้างรูหนอนที่ปราศจาก การชนกันของอนุภาค White Tulip (2010) | In the resulting particle collision, how much collision energy was geneted? | จากผลการชนกัน ของอนุภาค ใช้พลังงานกระตุ้นให้อนุภาค ชนกันไปที่ระดับเท่าไร? Revelation Zero: Part 1 (2010) | It is my understanding that you were searching for tachyonic dark matter. | ตามความเข้าใจของผมแล้ว พวกนายกำลังวิจัยหา อนุภาคที่เร็วกว่าแสง ในสสารมืด Revelation Zero: Part 1 (2010) | Might have set particle physics research back a hundred years. | ที่ได้ไปตั้งทีมวิจัยฟิสิกส์อนุภาค ย้อนกลับไปเป็นร้อยๆ ปี Revelation Zero: Part 1 (2010) | Do you think a particle accelerator could have generated some sort of... decoherence wave? | คุณคิดว่าเครื่องเร่งอนุภาค สามารถสร้างพลังงาน บางอย่างคล้าย... คลื่นพลังงานแฝง ในแวดล้อมได้หรือไม่? Revelation Zero: Part 1 (2010) | Look, I could find fibers, or-or spores or other particulates. | ฟังนะ ผมหาเส้นใยได้ หรือ หรือสปอร์ หรืออนุภาคชนิดอื่น The Parts in the Sum of the Whole (2010) | What if there were particulates on the bone which Hodgins could identify? | แล้วถ้ามีอนุภาคอย่างอื่น บนกระดูก The Parts in the Sum of the Whole (2010) |
| อนุภาค | [anuphāk] (n) EN: particle FR: particule [ f ] | อนุภาคเบตา | [anuphāk bētā] (n, exp) EN: beta rays | อนุภาคบีตา | [anuphāk bītā] (n, exp) EN: beta rays | อนุภาคนาโน | [anuphāk nānō] (n) EN: nanoparticles FR: nanoparticule [ f ] ; microparticule [ f ] |
| flocculant | (n) สารที่ช่วยจับกลุ่มอนุภาคสารที่ทำให้เกิด floc (ตะกอนเบาซึ่งเกิดขึ้นช้า ๆ เมื่อเติมสารนี้ลงในสารแขวนลอยหรือของเหลวแขวนตะกอน จะทำให้อนุภาคต่าง ๆ ที่แขวนลอยอยู่มารวมตัวกันเป็นตะกอนมีน้ำหนักแล้วจมลงนอนก้น สารที่มีสมบัติดังกล่าว ได้แก่ potash alum ซึ่งมีสูตร K2SO4.Al.(SO4)3.24H2O และสารส้ม (alum) ซึ่งมีสูตร Al2(SO4)3.14H2O |
| alpha particle | (n) อนุภาคที่มีประจุบวกที่ประกอบด้วยสองโปรตอนและสองนิวตรอน | alpha ray | (n) ลำรังสีของกลุ่มอนุภาคแอลฟา | antiparticle | (n) อนุภาคที่ทำลายกันเองเมื่อปะทะกัน เช่น อิเล็กตรอนและโปรตอน | corpuscle | (n) อนุภาค, See also: อณู, ส่วนเล็กๆ | decay | (n) การสลายกัมมันตรังสี (ทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์), See also: การสลายอนุภาคหรือรังสี, Syn. disintegration, degeneration, radioactive decay | electrophoresis | (n) การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้น, See also: วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข | elementary particle | (n) อนุภาคของสสารที่ไม่สามารถทำให้เล็กลงไปได้อีก | entrain | (vt) นำพา (อนุภาคของแข็ง, ฟองอากาศ, หยดน้ำ) ให้ไหลไปตามกระแสของของเหลว (ทางเคมีฟิสิกส์) | meson | (n) อนุภาคทางฟิสิกส์ | neutron | (n) อนุภาคของนิวเคลียส, See also: นิวตรอน | particle | (n) อนุภาค, See also: อณู, ส่วนที่เล็กที่สุด, ส่วนที่น้อยที่สุด, Syn. bit, atom, scrap, shred | particulate | (adj) ที่เป็นอนุภาค, See also: ที่แยกเป็นส่วนย่อยๆ | positron | (n) อนุภาคของอิเล็กตรอน | quark | (n) อนุภาคมูลฐานสามชนิดซึ่งเป็นพื้นฐานของมวลทั้งหมดในจักรวาล | suspension | (n) การลอยตัวของอนุภาคในของเหลว, Syn. dispersion of particles | triton | (n) อนุภาคซึ่งมีประจุบวกประกอบด้วย1protonและ2neutron |
| alpha decay | ขบวนการแผ่กัมมันตภาพรังสีที่อนุภาคแอลฟ่าถูกขับออกจากนิวเคลียสของอะตอม ทำให้ atomic number ลดลงไปสอง | alpha particle | อนุภาคที่มีประจุบวกที่ประกอบด้วยสองโปรตอนและสองนิวตรอน, นิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม (nucleus of a helium atom) | alpha ray | ลำของกลุ่มอนุภาคแอลฟ่า, รังสีแอลฟ่า | antimatter | (แอนทีแมท' เทอะ) n. lสารที่ประกอบด้วยอนุภาคที่เหมือนกันแต่มีประจุไฟฟ้าตรงกันข้าม (anti-+mater) | antineutrino | (แอนทินิวทรี' โน) n. อนุภาคต้าน (antiparticle) ของ neutrino | antineutron | (แอนทีนิว' ทรอน) n. อนุภาคไร้ประจุที่มีมวลเท่ากับของนิวตรอน แต่มีโมเมนท์แม่เหล็กตรงกันข้าม (anti-neutron) | antiparticle | (แอน' ทีพาทิเคิล) n. อนุภาคที่ทำลายกันเองเมื่อปะทะกัน เช่น อีเล็คตรอน และโปซิตรอน (as an electron and a positron) | antiproton | (แอนทีโพร' ทอน) n. อนุภาคที่มีประจุลบเท่ากับของอีเล็คตรอน แต่มีมวลและส่วนหมุนรอบเหมือนของโปรตรอน, อนุภาคด้านของโปรตอน | atom smasher | เครื่องมือไฟฟ้าสถิตหรือแม่เหล็กไฟฟ้าที่ผลิตอนุภาคที่มีพลังงานสูงแล้วยิงเข้าที่เป้าหนึ่ง (accelerator) | atomise | (แอท'ทะไมซ) vt. ลดลงให้เป็นอะตอม, ทำให้เป็นอนุภาคหรือละออง, ทำลายโดยการทิ้งระเบิด. -atomis (z) ation n. | atomize | (แอท'ทะไมซ) vt. ลดลงให้เป็นอะตอม, ทำให้เป็นอนุภาคหรือละออง, ทำลายโดยการทิ้งระเบิด. -atomis (z) ation n. | beta | (เบ'ทะ) n. อักษรตัวที่สองของพยัญชนะกรีก, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มอะตอมในสารประกอบ, สารประกอบ isomer, อนุภาค beta | corpuscle | (คอร์'พัสเซิล, -คิวล์) n. เม็ดเลือด, เม็ดเล็ก ๆ , อนุภาค, See also: corpuscular adj. | corpuscule | (คอร์'พัสเซิล, -คิวล์) n. เม็ดเลือด, เม็ดเล็ก ๆ , อนุภาค, See also: corpuscular adj. | disintegrate | (ดิสอิน'ทะเกรท) vi. ทำให้แตกสลาย, ทำให้เน่าเปื่อย, สึกกร่อนเปลี่ยนเป็นนิวเคลียสที่ต่างชนิด vt. สลายตัวเป็นอนุภาคหรือเศษเล็กเศษน้อย., See also: disintegrable adj. disintegrative adj. disintegration n., Syn. fall apart | disperse | (ดิสเพิร์ส') vt. ทำให้กระจายไป, ทำให้หายไป, ไล่ไป vi. กระจาย, หายไป -adj. เกี่ยวกับอนุภาคที่แพร่กระจาย, See also: dispersedly adv. ดูdisperse disperser n. ดูdisperse | dust | (ดัสทฺ) { dusted, dusting, dusts } n. ฝุ่น, ผง, ธุลี, ละออง, ดิน, สิ่งที่ไร้ค่า, ขี้เถ้า, ขยะ, ร่างกายของมนุษย์อนุภาคเดียว. vt., vi. ปัดฝุ่นออก, โปรยผง, ทำให้เป็นฝุ่น | electrophoresis | (อีเลคโทรฟะรี'ซีส) n. การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าใน ของเหลวนั้น., See also: electrophoretic adj., Syn. cataphoresis. | ground state | ภาวะที่มีพลังงานน้อยที่สุด ของอนุภาค | laminar flow | กระแสชั้น (อนุภาคของของเหลววิ่งเป็นชั้นที่แยกจากกัน) | meson | (มี'ซอน, เมซ'ซัน) n. อนุภาคที่มีมวลระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตรอน มีประจุเป็นกลาง หรือเป็นบวกหรือลบ มีค่าการหมุนรอบ | mica | (ไม'คะ) n. เม็ด, อนุภาค, สารเคมีที่ทำให้เกิดโรคfibrosisในปอดได้, =isinglass (ดู), Syn. isinglass | neutron | (นิว'ทรอน) n. อนุภาคนิวตรอน | omega minus | n. อนุภาคอะตอม (atomic particle) ที่สลายตัวเป็นอนุภาคเล็กลงไปอีกเมื่อกระทบกับpi meson | particle | (พาร์'ทิเคิล) n. อนุภาค, ส่วนที่น้อยที่สุด, ปริมาณที่น้อยที่สุด, ธุลี, ผลคุลี, อณู, คำศัพท์เล็กน้อย | particulate | (พาร์ทิค'คิวลิท) adj. เป็นอนุภาค, เป็นอณู | proton | (โพร'ทอน) n. อนุภาคของอะตอมที่มีประจุบวกซึ่งมีขนาดประจุเท่ากับของอิเล็กตรอน., See also: protonic adj. | smoke | (สโมค) n. ควัน, เขม่า, ละอองควัน, หมอก, ไอน้ำ, สิ่งที่ไม่มีความหมาย, ความไม่ชัดแจ้ง, ความคลุมเครือ, การสูบบุ-หรี่, ช่วงเวลาของการสูบบุหรี่, บุหรี่หรือซิการ์, ระบบอนุภาคของแข็งในแก๊ส, สีน้ำเงินอ่อน, สีควัน, เจ้าหน้าที่ดับเพลิง, คนผิวดำ, ความเร็ว vi., vt. มีควัน, พ่นควัน, มีไอลอยขึ้นมา, สูบบุหรี่ | speck | (สเพค) n., vt. (ทำให้เกิด) จุด, รอยด่าง, มลทิน, จุดเล็ก ๆ , แต้ม, อนุภาคเล็ก ๆ , สิ่งที่ดูมีขนาดเล็ก, ไขมันปลาวาฬ (หรือแมวน้ำ) , เนื้ออ้วน, See also: speckedness n., Syn. particle, spot, stain | tittle | (ทิท'เทิล) n. จุด, จุดเครื่องหมาย, จุดเครื่องหมายการออกเสียง, อนุภาค, จำนวนเล็กน้อยมาก |
| atom | (n) อะตอม, ปรมาณู, ละออง, อนุภาค | particle | (n) อนุภาค, ธุลี, ผงคลี, อณู | tittle | (n) เครื่องหมายบนตัวอักษร, จุด, ชิ้นน้อย, อนุภาค |
| absorbed dose | (n) ปริมาณรังสีดูดซึม--ปริมาณพลังงานรังสีนิวเคลียร์(หรืออนุภาคไออน) ที่แผ่ออกมาซึ่งหน่วยมวลของวัตถุรับไว้ หน่วยพลังงานรังสีนี้เรียกว่า "แรด" | particulate | (n) การยิงอนุภาค | Thromboembolic | การปิดกั้นของหลอดเลือดโดยอนุภาคที่แตกออกจากลิ่มเลือดที่บริเวณที่ก่อตัว |
| accélérer | (vt) เร่งความเร็ว, ไปได้เร็วมากขึ้น accélérateur(n) = เครื่องเร่งความเร็ว ex: accélérateur de particule (Chim, Phys) = เครื่องเร่งอนุภาค | particule | (n) อนุภาคเล็กๆ , ส่วนเล็กๆของเนื้อสารหรือของร่าง ex: Particule élémentaire : ส่วนประกอบพื้นฐานของสสาร เช่น อิเล็คตรอน, quark, Syn. petit part |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |