ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: หัวหน้า, -หัวหน้า- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ Kim Taeyeon | (n, name) ศิลปินเกาหลี หัวหน้าวงเกิลกรุ๊ปชื่อดัง Girls' Generation หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า So nyeo Shi Dae ทั้ง 2 ชื่อแปลว่า ยุคของหญิงสาว มีสมาชิกทั้งหมด 9 คน มีผลงานเพลงออกมาหลายอัลบั้ม คิม แทยอน เป็นนักร้องที่เสียงทรงพลังมากที่สุดในวง มีพรสวรรค์ในการร้องเพลงเป็นอย่างมาก ด้วยน้ำเสียงที่หาคนเทียบได้ยาก ได้ร้องเพลงประกอบละคร ไว้หลายเรื่อง เช่น Hong Gill Dong / Beethoven Virus / Hana sang / Atena เป็นต้น และมีรางวัลการันตีในความสามารถด้านการร้องเพลงมากมาย มีผลงานดูเอ๊ทกับศิลปินหลายๆคน รวมถึง อาจารย์ที่สอน คิม แทยอนร้องเพลง หรือที่รู้จักในนามของ The one คิม แทยอน เป็นหัวหน้าวงที่นำวงจนสามารถรับรางวัลมากมาย รวมถึงรางวัล แผ่นเสียงทองคำ (Golden Disk Daesang) ทำให้ คิม แทยอน เป็นที่ยอมรับในวงการเพลงเกาหลี เป็นคนที่มากด้วยความสามารถ | 동방신기 | [ทงบังชินกิ] (n, uniq) เป็นบอยแบนด์จากเกาหลีใต้ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 2003 ในสังกัดเอสเอ็มเอ็นเตอร์เทนเมนต์ชื่อวงแปลว่า "เหล่าเทวาผู้เจิดจรัสแห่งบุรพทิศ" แรกก่อตั้ง วงประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ ยูโน ยุนโฮ หัวหน้าวง, ชเวคัง ชางมิน, ยองอุง แจจุง, มิกกี ยูชอน และซีอา จุนซู กระทั่งเดือนกรกฎาคม 2009 แจจุง ยูชอน และจุนซู ฟ้องร้องตันสังกัด กิจกรรมต่าง ๆ ของวงจึงหยุดเป็นเวลา 2 ปี 3 เดือน ภายหลัง สมาชิกทั้งสามลาออกไปตั้งวงใหม่ชื่อ เจวายเจ (JYJ) สังกัดซีเจสเอนเตอร์เทนเมนต์ (C-JeS Entertainment) ทงบังชินกีจึงกลายเป็นกลุ่มนักร้องคู่โดยเหลือสมาชิกคือ ยุนโฮ และ ชางมิน |
|
| หัวหน้าวง | (n) head of a band, Example: วงดนตรีวงนี้หัวหน้าวงหน้าตาหล่อกว่าคนอื่นๆ, Count Unit: คน | รองหัวหน้า | (n) deputy chief, Example: การลาออกจากตำแหน่งรองหัวหน้าครั้งนี้ทำให้ทุกคนแปลกใจเป็นอย่างยิ่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ตำแหน่งถัดลงมาจากตำแหน่งหัวหน้า | หัวหน้างาน | (n) foreman, See also: overseer, chief, boss, Ant. ลูกน้อง, Example: พ่อได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้างานในการทำถนน, Thai Definition: ผู้ควบคุมงาน | หัวหน้าฝูง | (n) chief of a herd of animals, Syn. จ่าฝูง, Example: หัวหน้าฝูงของฝูงวัวจะเดินนำหน้าวัวตัวอื่น | หัวหน้าพรรค | (n) party leader, Example: พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ หัวหน้าพรรคชาติพัฒนาประกาศวางมือทางการเมืองในวันที่ 1 มกราคม 2540, Thai Definition: หัวหน้าพรรคการเมือง | หัวหน้าส่วน | (n) section chief, Syn. หัวหน้าหน่วย, Example: เจ้าหน้าที่กำลังรายงานตัวกับหัวหน้าส่วน, Count Unit: คน | หัวหน้าแผนก | (n) chief (of a section), See also: head, boss (of a section), Example: หัวหน้าแผนกของศักดิ์เกษมเป็นครูเก่าที่เคร่งครัดวินัย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เป็นใหญ่ในแผนกนั้นๆ | หัวหน้าแผนก | (n) chief (of a section), See also: head, boss (of a section), Example: หัวหน้าแผนกของศักดิ์เกษมเป็นครูเก่าที่เคร่งครัดวินัย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เป็นใหญ่ในแผนกนั้นๆ | หัวหน้ากลุ่ม | (n) head, See also: leader, chief, boss, Syn. หัวหน้าทีม, Example: หัวหน้ากลุ่มต้องทำหน้าที่เป็นผู้นำในการประชุม, Count Unit: คน | หัวหน้าคนงาน | (n) foreman, See also: overseer, Example: เขาเป็นหัวหน้าคนงานมายี่สิบปีแล้ว, Thai Definition: ผู้ควบคุมคนงาน | หัวหน้าทัวร์ | (n) tour leader, Syn. ผู้นำทัวร์, Example: การเดินทางครั้งนี้หัวหน้าทัวร์ทำหน้าที่ได้ดีมาก, Count Unit: คน | หัวหน้าศูนย์ | (n) chief of center, Example: หัวหน้าศูนย์เป็นผู้ที่คอยดูแลลูกน้องทุกคน, Count Unit: คน | ความเป็นหัวหน้า | (n) headship, See also: leadership, command, Syn. ความเป็นผู้นำ, Ant. ความเป็นผู้ตาม, Example: ผู้นำควรมีความเป็นหัวหน้าสูงสามารถควบคุมลูกน้องได้ | หัวหน้าครอบครัว | (n) head of the family, Example: แม่รับภาระเป็นหัวหน้าครอบครัวเมื่อพ่อได้จากพวกเราไป, Thai Definition: ผู้นำของครอบครัว | ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล | (n) Chief Justice, Example: พ่อของเขามีตำแหน่งเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าศาล, Count Unit: คน |
| หัวหน้า | น. ผู้เป็นใหญ่ในหมู่หนึ่ง ๆ. | หัวหน่าว | น. ส่วนของร่างกายอยู่ระหว่างท้องน้อยกับอวัยวะสืบพันธุ์. | กปิตัน | หัวหน้าหมู่ชน. | กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. | กระดี๊กระด๊า | ก. ระริกระรี้, ตื่นเต้นแสดงความสนใจเพศตรงข้าม, เช่น พอเห็นหนุ่มหล่อ ๆ มาร่วมงาน สาว ๆ ก็กระดี๊กระด๊ากันเป็นแถว, แสดงท่าทางอย่างเห็นได้ชัดว่าดีใจหรือพอใจมาก เช่น แค่รู้ว่าผู้ชายจะมาสู่ขอลูกสาว ว่าที่แม่ยายก็กระดี๊กระด๊าจนเก็บอาการไม่อยู่, ตื่นเต้นแสดงความดีใจจนเกินงาม เช่น พอรู้ว่าหัวหน้าจะพาไปเที่ยวทะเลก็กระดี๊กระด๊ากันไปทั้งแผนก, กะดี๊กะด๊า หรือ ดี๊ด๊า ก็ว่า. | กระทรวง ๒ | (-ซวง) น. ส่วนราชการสูงสุดของราชการบริหารส่วนกลางมีฐานะเป็นนิติบุคคล มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้า | กลืนเลือด | ก. กล้ำกลืนความเจ็บแค้นอย่างแสนสาหัส เช่น แม้จะแค้นหัวหน้าพวกเขาก็ยอมกลืนเลือด เพราะยังต้องพึ่งพาหัวหน้าคนนี้อยู่. | กอง ๒ | น. กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น จำนวน ๔ หมวด เรียกว่า กองร้อย, เรียกหัวหน้าทหารหรือตำรวจที่มียศร้อยเอก เรือเอก เรืออากาศเอก หรือร้อยตำรวจเอก ว่า ผู้บังคับกองร้อย หรือทั่ว ๆ ไป เรียกว่า ผู้กอง เฉพาะกองร้อยตำรวจเอกนิยมเรียกว่า สารวัตร หรือ ผู้บังคับกอง | กะบังลม | น. แผ่นกั้นประกอบด้วยกล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ และแผ่นพังผืด กั้นระหว่างช่องอกกับช่องท้อง ยืดและหดช่วยการหายใจ, คนทั่วไปเรียกบริเวณระหว่างหัวหน่าวกับสะดือ ว่า กะบังลม ด้วย. | กิ่งอำเภอ | น. ท้องที่ที่มีความจำเป็นในการปกครอง แยกมาจากอำเภอที่มีเขตท้องที่กว้างขวางแต่จำนวนประชากรไม่มาก หรือที่ที่มีชุมชนมากแต่ท้องที่ไม่กว้างขวางพอที่จะตั้งขึ้นเป็นอำเภอ มีปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นหัวหน้าปกครอง. | กึ๋น | สติปัญญาที่แหลมคม, นิยมใช้กับคำว่า มี หรือ ไม่มี เช่น หัวหน้าคนนี้มีกึ๋น เด็กคนนี้ไม่มีกึ๋นเอาเลย. | กุลบดี | (กุนละ-) น. หัวหน้าตระกูล. | เกียกกาย ๑ | น. กองเสบียง (เป็นส่วนหนึ่งในกองทัพ), หัวหน้าแห่งกองเสบียงนั้น. | แกนนำ | น. ผู้ที่เป็นหลักหรือหัวหน้าของกลุ่มที่ชุมนุมเพื่อเรียกร้องหรือประท้วงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น กลุ่มผู้ชุมนุมที่เรียกร้องให้เพิ่มค่าแรงในครั้งนี้มีแกนนำอยู่ ๒-๓ คน | ขุน ๑ | น. ผู้เป็นใหญ่, หัวหน้า, บรรดาศักดิ์ข้าราชการรองจากหลวงลงมา เช่น ขุนวิจิตรมาตรา | ขุนโรง | น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมผู้เป็นหัวหน้าในศาลหัวเมืองต่าง ๆ, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล. | คณบดี | (คะนะบอดี) น. หัวหน้าคณะในมหาวิทยาลัยหรือในสถาบันที่เทียบเท่า. | คามณี | น. ผู้ใหญ่บ้าน, นายบ้าน, หัวหน้า. | จตุโลกบาล | (-โลกกะบาน) น. ท้าวจาตุมหาราช, หัวหน้าเทวดาในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราช มีหน้าที่รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ เรียกว่า ท้าวจตุโลกบาล คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูตหรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลกด้านทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหก จอมเทวดาหรือจอมกุมภัณฑ์ รักษาโลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้านทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศอุดรหรือทิศเหนือ, จัตุโลกบาล ก็ว่า. | จ่อคิว | ว. ใกล้ถึงลำดับที่จะได้หรือจะเป็น เช่น เขาจ่อคิวขึ้นเป็นหัวหน้า. | จัตุโลกบาล | (จัดตุโลกกะบาน) น. ท้าวจาตุมหาราช, หัวหน้าเทวดาในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราช มีหน้าที่รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ เรียกว่า ท้าวจัตุโลกบาล คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูตหรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลกด้านทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหก จอมเทวดาหรือจอมกุมภัณฑ์ รักษาโลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้านทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศอุดรหรือทิศเหนือ, จตุโลกบาล ก็ว่า. | จ่า ๑ | น. หัวหน้า, หัวโจก, เช่น จ่าฝูง จ่าโขลง | จ่า ๑ | ยศทหารและตำรวจชั้นประทวน เช่น จ่าตรี จ่าสิบตำรวจ, บรรดาศักดิ์ในราชสำนัก เช่น จ่าแผลงฤทธิรอนราญ จ่าเร่งงานรัดรุด, ตำแหน่งหัวหน้าธุรการบางอย่าง เช่น จ่าศาล | จาตุมหาราช | เรียกหัวหน้าเทวดาผู้มีหน้าที่รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ ว่า ท้าวจาตุมหาราช คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูตหรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลกด้านทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหก จอมเทวดาหรือจอมกุมภัณฑ์ รักษาโลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้านทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศอุดรหรือทิศเหนือ, จตุโลกบาล หรือ จัตุโลกบาล ก็ว่า. | จีนเต็ง | น. หัวหน้าคนงานที่เป็นชาวจีน (ใช้เฉพาะในสถานที่ทำการร่วมกันมาก ๆ เช่น บ่อนหรือโรงสุรายาฝิ่น). | จุ้นจู๊ | น. ผู้จัดการเรือ, หัวหน้าและผู้จัดการเรื่องสินค้าในเรือ. | เจ้า ๑ | น. ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นหัวหน้า, เช่น เจ้านคร | เจ้ากรม | น. หัวหน้ากรมในราชการฝ่ายทหาร, (โบ) หัวหน้ากรมราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน เช่น กรมพระแสงสรรพวุธ กรมพระคชบาล กรมราชบัณฑิต, หัวหน้ากรมของเจ้าต่างกรม. | เจ้าคณะ | น. หัวหน้าคณะสงฆ์, คำเรียกตำแหน่งผู้ปกครองคณะสงฆ์ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด และภาค เป็นต้น ว่า เจ้าคณะตำบล เจ้าคณะอำเภอ เจ้าคณะจังหวัด และเจ้าคณะภาคตามลำดับ. | เจ้าบ้าน | น. ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าซึ่งครอบครองบ้านในฐานะเป็นเจ้าของ ผู้เช่า หรือในฐานะอื่นใด. | เจาะ ๒, เจาะจง | ก. ตั้งใจเฉพาะ, มุ่งไปที่, เช่น นักข่าวเจาะข่าวเรื่องยาเสพติดในโรงเรียน หัวหน้าเจาะจงให้เขาทำงานชิ้นนี้. | โจก | น. หัวหน้า (มักใช้ในทางไม่สู้ดี). | เซ่น | ก. เอาอาหารเป็นต้นไปไหว้หรือสังเวยผีหรือเจ้า เช่น เซ่นผี เซ่นเจ้า, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ วัก เป็น เซ่นวัก, ใช้ว่า เซ่นวักตั๊กแตน ก็มี, (ปาก) เอาเงินทองหรือสิ่งของไปให้ผู้ที่มีอำนาจเพื่อหวังประโยชน์ เช่น งานนี้ถ้าจะให้สำเร็จต้องมีของไปเซ่นหัวหน้าเสียก่อน. | ฐาน ๒, ฐาน-, ฐานะ | (ถาน, ถานะ-) น. ตำแหน่งหน้าที่ เช่น เธอต้องรับผิดชอบในฐานที่เป็นหัวหน้าห้อง | ดรุณาณัติ | น. ตำแหน่งหัวหน้านักเรียน. | ต้นกล | น. หัวหน้าช่างกลในเรือเดินทะเล เรือรบ เป็นต้น. | ตั้งตัว | ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้งตัวเป็นใหญ่. | ตัวจักรใหญ่ | น. บุคคลซึ่งเป็นสมองหรือเป็นหัวหน้าในการดำเนินกิจการ. | ตัวจำนำ | น. ตัวแทนที่ให้อยู่เป็นประกันในความซื่อตรงมั่นคงของผู้เป็นหัวหน้าหรือประมุข. | ตัวตั้งตัวตี | น. ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ, ผู้ที่ตั้งตัวเป็นหัวหน้าในการทำงาน. | ตั้วโผ | น. หัวหน้าคณะมหรสพ มีละคร งิ้ว เป็นต้น, โต้โผ ก็เรียก. | ตั้วเหี่ย | น. ตำแหน่งหัวหน้าอั้งยี่, อั้งยี่. | ตั้วเฮีย | น. ชายที่ได้รับการยกย่องให้เป็นหัวหน้าหรือพี่ใหญ่ของกลุ่ม. | ตำบล | น. ท้องที่ที่รวมหมู่บ้านหลายหมู่บ้านประมาณยี่สิบหมู่บ้านเข้าด้วยกัน และมีประกาศจัดตั้งเป็นตำบล มีกำนันเป็นหัวหน้าปกครอง. | โต้โผ | น. หัวหน้าคณะมหรสพ มีละคร งิ้ว เป็นต้น, ตั้วโผ ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึงหัวหน้าหรือหัวเรี่ยวหัวแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ. | โต๊ะอิหม่าม | (-หฺม่าม) น. ผู้อาวุโสที่เป็นผู้นำในพิธีทางศาสนาอิสลาม และมักเป็นหัวหน้าชุมชนด้วย. | ทนายหน้าหอ | น. หัวหน้าคนรับใช้ที่ใช้ออกหน้าออกตา, ผู้รับหน้าแทนนาย. | ท้องน้อย | น. ส่วนของท้องระหว่างสะดือกับหัวหน่าว. | เทวินทร์, เทเวนทร์ | น. หัวหน้าเทวดา. | เทเวศ, เทเวศร์, เทเวศวร์ | (-เวด) น. เทวดาผู้เป็นใหญ่, หัวหน้าเทวดา |
| | Heads of households | หัวหน้าครัวเรือน [TU Subject Heading] | Women heads of households | หัวหน้าครัวเรือนสตรี [TU Subject Heading] | Head of The Household | หัวหน้าครัวเรือน, Example: ผู้หารายได้หลัก (principal earner) แต่โดยปกติยังไม่มีกฎเกณฑ์สากลทั่วไปที่เป็นที่ยอมว่า ในการจะพิจารณาว่าใครจะเป็นหัวหน้าครัวเรือน [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN-Australia Forum | การประชุมอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกๆ 18 - 24 เดือน โดยหัวหน้าคณะ ผู้แทนของออสเตรเลียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนจะเป็นระดับเจ้าหน้าที่ อาวุโส (ปลัดกระทรวงฯ) และเป็นประธานร่วมของการประชุม เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างกันในทุกด้าน [การทูต] | accredit | แต่งตั้งให้ไปประจำ หมายถึง การแต่งตั้งมอบหมายให้หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไปประจำยังประเทศอื่น และมีอำนาจดูแลประเทศนั้นหรือเขตอาณาต่าง ๆ ซึ่งในกรณีนี้เรียกว่า Accredited Ambassador [การทูต] | Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] | ASEAN Heads of Investment Agencies | การประชุมหัวหน้าหน่วยงานด้านการลงทุนของอาเซียน [การทูต] | Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] | Ambassador | เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต] | Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary | ผู้แทนทางการทูตในอันดับแรก หรือ หัวหน้าของสถานเอกอัครราชทูต, Example: ตามปกตินั้นจะเรียกกันง่าย ๆ ว่า ?Ambassador? (เอกอัครราชทูต) ในสมัยก่อนเอกอัครราชทูตที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับจะมีตำแหน่งต่อท้ายว่า ?Ordinary? (สามัญ) ส่วนเอกอัครราชทูตที่ถูกส่งไปปฏิบัติภารกิจพิเศษ จะต่อท้ายว่า ?Extraordinary? (วิสามัญ) ต่อมาความแตกต่างดังกล่าวได้ถูกยกเลิกไปหมดแล้ว ทุกวันนี้บรรดาเอกอัครราชทูตทั้งหลายจะมีตำแหน่งห้อยท้ายว่า ?Extraordinary? (วิสามัญ) ทั้งสิ้น การที่ได้รับพ่วงคำว่า ?Plenipotentiary? (ผู้มีอำนาจเต็ม) เข้าไปกับตำแหน่งอีกคำหนึ่งนั้น ย่อมหมายความว่า เอกอัครราชทูตมีอำนาจเต็มที่จะทำการเจรจาทางการทูตตามปกติใดๆ ได้ แต่การที่จะทำการเจรจาและลงนามในสนธิสัญญาได้นั้น จำเป็นที่เขาจะต้องมีอำนาจเต็มเป็นพิเศษตามปกติหรือในหลักการ เอกอัครราชทูตจะติดต่อพบปะกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประจำ เซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ได้เขียนไว้ในหนังสือของท่านชื่อ Guide to Diplomatic Practice ซึ่งเซอร์เนวิล แบลนด์ (Sir Neville Bland) ได้เรียบเรียงและปรับปรุงแก้ไขใหม่เป็นครั้งที่ 4 (ดู น.167) มีความตอนหนึ่งว่า?บางคราวเป็นที่เข้าใจกันว่า เอกอัครราชทูตสามารถเรียกร้องขอพบกับตัวประมุขของรัฐได้ไม่ว่าเวลาใด แต่อันที่จริงหาเป็นเช่นนั้นไม่ เนื่องจากราชสำนักหรือรัฐบาลที่เอกอัครราชทูตไปประจำอยู่นั้น จะวางระเบียบหรือกำหนดธรรมเนียมเข้มงวด ทำให้มีโอกาสน้อยเหลือเกินที่จะอนุญาตให้เอกอัครราชทูตไปประจำอยู่นั้น จะวางระเบียบหรือกำหนดธรรมเนียมเข้มงวด ทำให้มีโอกาสน้อยเหลือเกินที่จะอนุญาตให้เอกอัครราชทูตได้มีโอกาสเข้าพบปะ พูดจากับประมุขของรัฐ อนึ่ง ในอดีตกาลมีประเทศใหญ่ ๆ เพียงไม่กี่แห่งทำการแลกเปลี่ยนเอกอัครราชทูตระหว่างกัน จึงเหลือหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ เป็นจำนวนมากที่มีตำแหน่งเรียกว่า อัครราชทูต (Ministers) เท่านั้น อย่างไรก็ดีการที่รัฐผู้ส่งจะส่งผู้แทนทางการทูตในระดับเอกอัครราชทูต (Ambassador) ไปยังรัฐผู้รับนั้นจะถือเป็นการให้เกียรติกันอย่างยิ่ง แต่ในสมัยนี้ การที่มีสถานเอกอัครราชทูตแพร่กระจายไปทั่ว ทำให้ตำแหน่งเอกอัครราชทูตถูกลดศักดิ์ศรีและความขลังลงไปมากเมื่อเทียบกับ สมัยอดีตกาลเกี่ยวกับเอกอัครราชทูตนี้ ได้มีการนำเอาคำจำกัดความของตำแหน่งเอกอัครราชทูตมาพูดคุยกันบ่อยๆ เป็นคำจำกัดความของ เซอร์เฮนรี่ วอตตัน (Sir Henry Wotton) เอกอัครราชทูตอังกฤษประจำเวนิส ในรัชสมียของกษัตริย์เจมส์ที่ 1 ว่า?เอกอัครราชทูต คือ บุคคลผู้ซื่อสัตย์ที่ถูกส่งไปกล่าวเท็จในต่างประเทศ เพื่อผลประโยชน์ของประเทศเขา? (?An ambassador is an honest man sent to lie abroad for the good of his country?)เล่ากันว่า เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1904 ระหว่างที่เซอร์เฮนรี่ วอตตัน เดินทางจากกรุงลอนดอนเพื่อไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตที่กรุงเวนิส ท่านได้แวะพักที่เมืองอ๊อกสเบิร์ก (Augsburg) ณ ที่นั้นท่านได้เขียนเป็นที่ระลึกไว้ในสมุดเยี่ยมของเจ้าของโรงแรมซึ่งเป็น สหายกับท่านในเชิงหยอกล้อ แต่แทนที่จะเขียนเป็นภาษาอังกฤษ กลับเขียนเป็นภาษาละตินว่า ?Legatus est vir bonus peregre missus ad mentiendum Republicae causa? ข้อความภาษาอังกฤษนั้น มีการเล่นคำว่า ?lie? ซึ่งนอกจากจะหมายความว่ากล่าวเท็จแล้ว ยังมีความหมายว่า ?พักอยู่? (Reside หรือ sojourn) ก็ได้ แต่บังเอิญคำละตินว่า ?admentiendum? มีความหมายเพียงอย่างเดียว คือ ?กล่าวเท็จ? ในไม่กี่ปีต่อมาคู่อริทางการเมืองของเซอร์เฮนรี่ได้ไปพบคำจำกัดความนี้เข้า จึงกราบทูลกษัตริย์เจมส์ให้ทรงทราบ หลักฐานประการหนึ่งอ้างว่ากษัตริย์เจมส์ทรงพิโรธอย่างยิ่ง ถึงกับให้เซอร์เฮนรี่ยุติการปฏิบัติราชการตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา [การทูต] | Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] | ASEAN Secretariat | สำนักเลขาธิการอาเซียน " ตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา มีหน้าที่ให้การสนับสนุนงานการประชุม ประสานงาน และเสนอข้อคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และมีเลขาธิการอาเซียนเป็น หัวหน้าสำนักงาน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ทั้งนี้ นายแผน วรรณเมธี เป็นคนไทยคนเดียวที่เคยดำรงตำแหน่งนี้ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2527-2529 " [การทูต] | ASEAN-UN Summit | การประชุมผู้นำอาเซียน-สหประชาชาติ เป็นการประชุมระหว่างหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนกับเลขาธิการสห ประชาชาติ มีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2543 ที่กรุงเทพฯ ในช่วงการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 [การทูต] | ASEAN Coordinating Committee on Investment | คณะกรรมการประสานงานด้านการลงทุนของอาเซียน " จัดตั้งขึ้นจากความตกลงพื้นฐานว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (AIA) โดยเป็นการประชุมระหว่างรองหัวหน้าหน่วยงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อดูแลและประสานการดำเนินงานตามความตกลงว่าด้วย เขตการลงทุนอาเซียน " [การทูต] | chancery | อาคารที่ทำการ " เช่น ที่ทำการสถานทูต สถานกงสุล ซึ่งมีหัวหน้าสำนักงานและ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน " [การทูต] | Chargé d' Affaires | อุปทูต เดิมเรียกว่า อุปทูตประจำ ซึ่งในสมัยก่อนเรียกว่า Chargé d' Affaires ad hoc บ้าง Chargé d' Affaires en pied หรือ Chargé d' Affaires avec lettres บ้าง ปัจจุบันเรียกเพียง อุปทูต (Chargé d' Affaires) เท่านั้น รัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับอาจจะตกลงกันให้มีหัวหน้าคณะผู้แทนเพียงระดับอุปทูตก็ ได้ (ต่างกันกับตำแหน่งอุปทูตชั่วคราว) [การทูต] | Chargé d' Affaires ad interim | อุปทูตรักษาราชการสถานเอกอัครราชทูต หรือ อุปทูตชั่วคราว " ในกรณีที่ตำแหน่งของหัวหน้าคณะผู้แทนว่างลง หรือหัวหน้าคณะ ผู้แทนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ของตนได้ อุปทูตชั่วคราวจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นการชั่วคราวได้ โดยหัวหน้าคณะผู้แทนจะแจ้งนามอุปทูตชั่วคราวให้กระทรวงการต่างประเทศของรัฐ ผู้รับทราบ หรือหากหัวหน้าคณะผู้แทนไม่สามารถแจ้งได้ กระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้ส่งจะแจ้งนามอุปทูตชั่วคราวไปยังกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ " [การทูต] | Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] | Commemorative Summit | การประชุมสุดยอดหรือการประชุมระดับผู้นำประเทศ/หัวหน้า รัฐบาลในโอกาสครบรอบปีสำคัญ อาทิ การสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างกัน [การทูต] | Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] | Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] | Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] | Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] | Consular Office | บุคคลรวมทั้งหัวหน้าของที่ทำการทางกงสุล ซี่งได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในฐานะกงสุลโดยได้รับ ภาระหน้าที่ทางกงสุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลมีอยู่ 2 ประเภทคือ 1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลอาชีพ (Career Consular Office)2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consular Office) [การทูต] | Consulate-General | สถานกงสุลใหญ่ " ที่ทำการซึ่งมีหัวหน้าสำนักงานเป็นกงสุลใหญ่ และมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านหนังสือเดินทาง คุ้มครองคนไทย ตลอดจนด้านเอกสาร นิติกรรมต่าง ๆ ในต่างประเทศ ตำแหน่งต่าง ๆ ประจำสถานกงสุลใหญ่ มีดังนี้ Consul-General กงสุลใหญ่ Deputy Consul-General รองกงสุลใหญ่ Consul กงสุล Vice-Consul รองกงสุล Chancellor ผู้ช่วยกงสุล " [การทูต] | Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] | Dean (of the Diplomatic Corps) | คณบดีคณะทูต เอกอัครราชทูตที่อาวุโสที่สุด (ยื่นสาส์นตราตั้งก่อนผู้อื่น) ในประเทศนั้น ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหรือผู้แทนของคณะทูตานุทูต (ในกรณีที่รัฐผู้รับนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิก สมณทูตวาติกันจะดำรงตำแหน่งคณบดีทูต) [การทูต] | Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] | departure report | รายงานก่อนการพ้นหน้าที่ของหัวหน้าสำนักงานทางการทูต [การทูต] | diplomatic agent | ตัวแทนทางทูต คือ หัวหน้าของคณะผู้แทน หรือบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทน [การทูต] | diplomatic corps | คณะทูตานุทูต หมายถึง กลุ่มเอกอัครราชทูต กงสุล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศ รวมทั้งภริยาและเจ้าหน้าที่ทางการทูตที่อยู่ในประเทศนั้น ๆ [การทูต] | East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] | embassy | สถานเอกอัครราชทูต " ที่ทำการที่มีหัวหน้าสำนักงานในระดับเอกอัครราชทูตหรืออุปทูต ตำแหน่งต่าง ๆ ประจำสถานเอกอัครราชทูต มีดังนี้ Ambassador เอกอัครราชทูต Minister อัครราชทูต Minister Counsellor อัครราชทูตที่ปรึกษา Counsellor ที่ปรึกษา First Secretary เลขานุการเอก Second Secretary เลขานุการโท Third Secretary เลขานุการตรี Attaché ผู้ช่วยเลขานุการ นอกจากนี้ บางสถานเอกอัครราชทูต มีข้าราชการจากกระทรวงอื่น ๆ นอกเหนือจากกระทรวงการต่างประเทศไปปฏิบัติหน้าที่ด้วย เช่น ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ที่ปรึกษาฝ่ายการพาณิชย์ ที่ปรึกษาฝ่ายแรงงาน เป็นต้น " [การทูต] | exequatur | อนุมัติบัตร หมายถึง การอนุมัติจากรัฐผู้รับไม่ว่าจะเป็นในรูปใดก็ตาม ยอมรับให้หัวหน้าสถานทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งเข้าปฏิบัติหน้าที่ได้ (อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล พ.ศ. 2506) [การทูต] | Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] | First Secretary | เลขานุการเอก เป็นตำแหน่งชั้นเลขานุการทางการทูตที่สูงที่สุดในสถาน เอกอัครราชทูตอยู่เหนือเลขานุการโทและตรี หากว่าในสถานเอกอัครราชทูตใดไม่มีที่ปรึกษา เลขานุการเอกนี้จะทำหน้าที่บังคับบัญชารองลงมาจากเอกอัครราชทูต ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต [การทูต] | Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] | Gerakan Aceh Merdeka (Free Aceh Movement) | ขบวนการอาเจห์เสรี " เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2519 มี นาย Hasan Tiro เป็นหัวหน้า " [การทูต] | Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] | Heads of ASEAN Power Utilities/Authorities | การประชุมหัวหน้าองค์การ/หน่วยงานสาธารณูปโภคด้านพลังงานอาเซียน [การทูต] | head (leader) of delegation | หัวหน้าคณะผู้แทนในการเยือนหรือในการประชุมระหว่างประเทศ [การทูต] | head of consular post | หัวหน้าสถานทำการทางกงสุล " หมายถึงบุคคลที่ได้รับมอบหน้าที่ให้กระทำการในฐานะนั้น หัวหน้าสถานทำการทางกงสุลแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ (1) กงสุลใหญ่ (2) กงสุล (3) รองกงสุล (4) ตัวแทนทางกงสุล (อนุสัญญากรุงเวียนนา ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล พ.ศ. 2506) " [การทูต] | Head of Diplomatic Mission | บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ? [การทูต] | head of the mission | หัวหน้าคณะผู้แทน " หมายถึง หัวหน้าคณะผู้แทนทางทูต ซึ่งแบ่งเป็น 3 ชั้น (1) ชั้นเอก- อัครราชทูต หรือเอกอัครสมณทูต (2) ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และ อัครสมณทูต (3) ชั้นอุปทูต (อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความ-สัมพันธ์ทางทูต พ.ศ. 2504) " [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | High Commissioner | 1. เอกอัครราชทูตของประเทศในเครือจักรภพที่ประจำในสหราชอาณาจักรหรือประเทศใน เครือจักรภพด้วยกัน 2. ข้าหลวงใหญ่ ข้าหลวงใหญ่ : ใช้เรียกหัวหน้าสำนักงานบางแห่งในกรอบสหประชาชาติ เช่น United Nations High Commissioner of Refugee (UNHCR) หมายถึง ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต] | International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] | International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] | International Telecommunica-tion Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
| - Boss? | -หัวหน้า Body of Lies (2008) | Boss. | หัวหน้า The Garden of Forking Paths (2010) | Chief! | หัวหน้า! The King (2017) | Sorry, guv. | โทษครับ หัวหน้า Basic Instinct (1992) | -He has no priors-- | ถ้าหัวหน้าทีมมาช่วยรายงานเรื่องดีๆของผมหน่อยนะครับ Hero (1992) | -That's misleading. He has no convictions. | ชั้นคือหัวหน้าทีมคนใหม่ ร้อยโท จูแจอิน Hero (1992) | Mr. LaPlante, I've been persuaded, in view of your continued employment and your lack of priors to continue your bail under the same conditions pending sentencing six days from now. | หัวหน้า นี่คุณคิดว่าคำว่าหนังสือพิมพ์เป็นชื่อที่ตะเรียกขึ้นมาง่ายๆงั้นเหรอ คุณคิดว่าใครๆก็สามารถทำหนังสือพิมพ์ได้งั้นสิ Hero (1992) | I think a suspended sentence is unlikely. | หัวหน้า ผมไม่ได้พยายามเยาะเย้ยคุณนะ Hero (1992) | It turns out the accusations were false? | หัวหน้า Hero (1992) | Come on! | เค้าเป็นหัวหน้าแก๊งค์มาเฟีย เพราะงั้นบุคลิกเค้าเลยไม่มีที่ติจิงๆ Hero (1992) | Moron. | หัวหน้าทีมคะ กระทรวงแรงงานโทรมาค่ะ Hero (1992) | It's against his religion to stick his neck out. | หัวหน้าทีมของเราช่างอ่อนไหวอย่างที่เห็นเลยจิงๆ Hero (1992) | As the project supervisor and the government liaison... it was my responsibility... to use the strongest measures available. | ในฐานะหัวหน้าโครงการ และผู้ประสานงานของรัฐบาล มันเป็นความรับผิดชอบของฉัน ที่จะใช้มาตรการเด็ดขาด The Lawnmower Man (1992) | Hunt knew the Major did not approve of his maverick ways. | หัวหน้ายังไม่ปล่อยให้เขาเป็นอิสระ The Cement Garden (1993) | 'Sit down, ' said the Major. | "นั่งลง"หัวหน้าเขาสั่ง The Cement Garden (1993) | Cosmo curled up at his master's feet as the Major proceeded to brief Hunt on his mission... | คอสโมมาอยู่แทบเท้าเจ้านายของมัน ทันใดที่หัวหน้าเข้ารวบตัวเขา The Cement Garden (1993) | Hunt would pore over the masterpieces of world literature, writing down the great thoughts of mankind in a massive steel bound journal, while his faithful dog Cosmo dozed at his feet. | ฮันท์เฝ้าศึกษาความเป็นไปของหัวหน้าใหญ่ บันทึกสิ่งต่างๆที่สำคัญไว้ ในทุกสิ่งที่พบระหว่างเดินทาง The Cement Garden (1993) | Their flag bearer is the sled captain Derice Bannock. | ผู้ถือธงชาติของพวกเขาก็คือ หัวหน้าทีม ดีรีซ แบนนอค Cool Runnings (1993) | The chief warder, Barker... gave us blue denim uniforms with yellow stripes. | หัวหน้าผู้คุม, Barker ... ทำให้เราแต่งกายผ้ายีนส์สีน้ำเงิน มีลายเส้นสีเหลือง In the Name of the Father (1993) | We had to confront the chief prison officer, Barker. | เราต้องเผชิญหน้ากับหัวหน้า เจ้าหน้าที่เรือนจำ Barker In the Name of the Father (1993) | The new chief screw had the yard painted... and I was back walking in circles again. | สกรูหัวหน้าใหม่ ทาสีลานมี ... และฉันก็กลับ เดินในวงการอีกครั้ง In the Name of the Father (1993) | Our chief archivist, Mr Jenkins, is here to assist you. | หัวหน้าผู้เก็บเอกสารสำคัญของเรา, นายเจนกินส์, อยู่ที? In the Name of the Father (1993) | The train came in through the archway, and the officer in charge of the selection went immediately to work... and sent 2, 000 of them... straightaway to Special Treatment. | หัวหน้าก็ตรงเข้าไป... ชี้เอา 2000 คน... นึกว่ายิว... Schindler's List (1993) | Their boss is Norman Stansfield. He's in the D.E.A. building, room 4602. | หัวหน้าพวกมัน คือนอร์แมนสแตนฟิลด์ มันอยู่ในสำนักงานตำรวจ ห้อง 4602 Léon: The Professional (1994) | Yes, Ariki. | ใช่ท่านหัวหน้า Rapa Nui (1994) | The band and their chief, Hotu Matu'a, | คนกลุ่มนี้และหัวหน้าโฮตูมาตัว... Rapa Nui (1994) | Tell the other Long Ears There's no use Choosing swimmers, | บอกตระกูลเราว่าไม่ต้องเลือกใครอีกแล้วเพราะโนโร จะชนะทำให้ข้าเป็นหัวหน้าต่อไปเป็นปีที่20 Rapa Nui (1994) | It's finished, Ariki-mau. Will you give your approval? | งานเสร็จแล้วท่านหัวหน้า ท่านจะยอมรับไหม Rapa Nui (1994) | Ariki. May I ask, How does this moai displease the gods? | ท่านหัวหน้า รูปสลักนี้ไม่เป็นที่น่าพอใจเทพเจ้ากระนั้นหรือ Rapa Nui (1994) | It's the Ariki-mau's fish until the next moon. | นี่ปลาของท่านหัวหน้า Rapa Nui (1994) | It was in the net with the other fish. It was drowned. I was bringing it to the Ariki-mau. | มันติดมากับปลาอื่นมันตายแล้ว ข้านำมันให้ท่านหัวหน้า Rapa Nui (1994) | The Arikis grandson shouldn't steal chickens. - Especially mine. | หลานของหัวหน้าไม่ควรขโมยไก่นะ โดยเฉพาะไก่ของข้า Rapa Nui (1994) | The Ariki-mau promised we could keep 30% of the crop. | อาหารปันส่วน ท่านหัวหน้าสัญญาให้ผลผลิตเรา30เปอร์เซนต์ Rapa Nui (1994) | So your grandfather can be Birdman again and work us all to death? | ทำไม่ต้องช่วยเพื่อปู่แกได้เป็นหัวหน้าอีก และใช้เราแทบตายรึ Rapa Nui (1994) | Of the royal Miru clan For the Ariki-mau.. | โนโรเนียแห่งตระกูลมิรู เลือกท่านหัวหน้าอริกิเมา Rapa Nui (1994) | This is all I have. You're old, Heke. Join the crew. | ข้าเป็นหัวหน้าช่างสลักมา 27 ปีแล้ว นี่เป็นตำแหน่งของข้า Rapa Nui (1994) | Kill them! | เราจะแข่งขันเป็นหัวหน้าด้วย Rapa Nui (1994) | But competing for the Birdman! | ให้มันไปบ้าง อาหารและเชื้อเพลิงอีกนิดหน่อย เว้นแต่เรื่องให้เขาแข่งขันเป็นหัวหน้า Rapa Nui (1994) | For the Short Ears to enter The Birdman race The Great Moai must be finished | ถ้าให้พวกหูสั้นเข้าแข่งขันเป็นหัวหน้า รูปสลักใหญ่ต้องเสร็จโดยมีหมวก Rapa Nui (1994) | To honor The reign of the new Birdman, Your insolence today! | เพื่อเป็นเกียรติแก่หัวหน้าใหม่ เพราะความอหังการของพวกเจ้าวันนี้ Rapa Nui (1994) | Who will be your Birdman? Myself. | มาเก้ถ้าเจ้าชนะจะเลือกใครเป็นหัวหน้า Rapa Nui (1994) | Though I make one last condition, Ariki-mau. | - ข้าขอเงื่อนไขสุดท้ายท่านหัวหน้า Rapa Nui (1994) | Noroinia not win? | อะไรจะเกิดขึ้นถ้าพวกหูสั้นได้เป็นหัวหน้า Rapa Nui (1994) | But, forgive me, sire He is not cut from the same stone as yourself. He needs a strong hand, someone trusted, like myself | แพ้ชนะเขาคือหัวหน้าตระกูลต่อไป แต่ข้าขออภัยเขาไม่แข็งแกร่งเหมือนหินอย่างท่าน Rapa Nui (1994) | If I win, you retire. It's time for a new Ariki-mau. | ท่านหัวหน้าถ้าท่านชนะ ท่านออกจากตำแหน่งได้ถึงเวลามีหัวหน้าใหม่แล้ว Rapa Nui (1994) | But someone must guide the new Ariki-mau until you Send | ต้องมีใครคอยแนะนำหัวหน้าคนใหม่... Rapa Nui (1994) | He knew the gods' will. Will Makemake descend on us? | ท่านหัวหน้าพูดถูก ท่านรู้เจตนารมณ์ของเทพเจ้า Rapa Nui (1994) | You can't see. | - ต้องไปข้าเป็นหัวหน้า Rapa Nui (1994) | Ariki-paka. - Watch. | ดูผู้คนตายซิท่านหัวหน้า.. Rapa Nui (1994) | As head of the hospital, let me speak. | ได้โปรด บิลล์ พยาบาล ในฐานะหัวหน้าโรงพยาบาล ขอผมพูดหน่อย Don Juan DeMarco (1994) |
| หัวหน้า | [hūanā] (n) EN: chief ; boss ; leader ; foreman ; head ; superior ; president FR: chef [ m, f ] ; leader [ m ] (angl.) ; meneur [ m ] ; patron [ m ], patronne [ f ] ; boss [ m ] (fam.) ; président [ m ] ; présidente [ f ] ; dirigeant [ m ] ; dirigeante [ f ] | หัวหน้าช่างกล | [hūanā chang kon] (n, exp) EN: chief engineer | หัวหน้าฝูง | [hūanā fūng] (n, exp) EN: chief of a herd of animals | หัวหน้าคณะสงฆ์ | [hūanā khana song] (n, exp) EN: monk dean | หัวหน้าคนงาน | [hūanā khon-ngān] (n, exp) EN: foreman FR: contremaître [ m ] | หัวหน้าครอบครัว | [hūanā khrøpkhrūa] (n, exp) EN: head of the family FR: chef de famille [ m ] | หัวหน้ากลุ่ม | [hūanā klum] (n, exp) EN: head | หัวหน้างาน | [hūanā ngān] (n, exp) EN: supervisor ; foreman | หัวหน้าหน่วย | [hūanā nūay] (n, exp) EN: section chief | หัวหน่าว | [hūanāo] (n) EN: pubis FR: pubis [ m ] | หัวหน้าพรรค | [hūanā phak] (n) EN: party head ; party leader FR: président de parti [ m ] ; présidente de parti [ f ] ; chef de parti [ m, f ] | หัวหน้าแผนก | [hūanā phanaēk] (n, exp) EN: chief (of a section) | หัวหน้าพ่อครัว | [hūanā phøkhrūa] (n) EN: chief FR: chef [ m ] | หัวหน้ารัฐบาล | [hūanā ratthabān] (n, exp) FR: chef de gouvernement [ m ] | หัวหน้าส่วน | [hūanā suan] (n, exp) EN: section chief | หัวหน้าศูนย์ | [hūanā sūn] (n, exp) EN: chief of center | หัวหน้าทัพ | [hūanā thap] (n, exp) EN: commander-in-chief | หัวหน้าทีม | [hūanā thīm] (n, exp) EN: team captain ; head FR: capitaine (d'équipe) | หัวหน้าทัวร์ | [hūanā thūa] (n, exp) EN: tour leader | หัวหน้าวง | [hūanā wong] (n, exp) EN: head of a band | รองหัวหน้า | [røng hūanā] (n, exp) FR: sous-chef [ m ] ; second [ m ] |
| abbess | (n) บาทหลวงหญิง, See also: หัวหน้าสำนักแม่ชี | archbishop | (n) หัวหน้าของบิชอพ, Syn. chief bishop | boss | (n) นายจ้าง, See also: เจ้านาย, หัวหน้า, นาย, ผู้เป็นใหญ่, Syn. chief, employer | butler | (n) หัวหน้าคนใช้, See also: พ่อบ้าน, Syn. maid | capo | (n) หัวหน้ากลุ่มมาเฟีย | captain | (n) กัปตัน, See also: หัวหน้าผู้ควบคุมเรือ, Syn. shipmaster | captain | (n) หัวหน้าทีม, Syn. leader, commander | chairmanship | (n) ความเป็นประธาน, See also: ความเป็นหัวหน้า, Syn. headship, chair | chef | (n) หัวหน้าพ่อครัว, Syn. head cook | chief | (n) ผู้นำ, See also: หัวหน้า, Syn. leader, head | chieftain | (n) หัวหน้าเผ่า | cock | (n) หัวหน้า, See also: ผู้นำ, Syn. leader, chief person | commander | (n) ผู้บังคับบัญชา, See also: หัวหน้า, ผู้บัญชาการ, ผู้ออกคำสั่ง, Syn. commandant, head, administrator, chief, leader, captain, dictator, ruler, skipper | curator | (n) หัวหน้าผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์, Syn. museum officer | dean | (n) คณบดี (ทางการศึกษา), See also: หัวหน้า, Syn. the head of a faculty, school or administrative division in a university or college | den mother | (n) หัวหน้ากลุ่มที่เป็นผู้หญิง | don | (n) หัวหน้ามาเฟีย, See also: เจ้าพ่อมาเฟีย, หัวหน้าแกงค์ | figurehead | (n) หัวหน้าแต่ในนาม (แต่ไม่ได้มีอำนาจแท้จริง), See also: หุ่นเชิดที่ไร้อำนาจ, Syn. dummy | forelady | (n) หัวหน้าคนงานที่เป็นผู้หญิง, Syn. forewoman | foreman | (n) หัวหน้าคนงาน | foreman | (n) หัวหน้าคณะลูกขุน | gaffer | (n) หัวหน้าคนงาน, See also: ช่างควบคุมไฟในโทรทัศน์หรือภาพยนตร์, Syn. boss | head | (n) หัวหน้า, See also: ผู้นำ, Syn. boss, chief, leader, Ant. subordinate, underling | headman | (n) หัวหน้ากลุ่ม, See also: ผู้นำกลุ่ม, ผู้ใหญ่บ้าน, Syn. chief, leader | headship | (n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งหัวหน้า, Syn. leadership | high priest | (n) พระชั้นสูง, See also: หัวหน้าคณะสงฆ์ | higher-up | (n) บุคคลที่มีตำแหน่งสูงในหน่วยงานหรือองค์กร (คำไม่เป็นทางการ), See also: หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, Syn. chief, senior, superior, Ant. inferior, subordinate, underling | rank and file | (idm) ทหารประจำการ ที่ไม่มียศใหญ่โต, See also: สมาชิกในทีมที่ไม่ใช่หัวหน้า | lead | (vi) เป็นผู้นำ, See also: เป็นหัวหน้า, นำ, เป็นคนสำคัญ, เป็นหัวเรี่ยวหัวแรง, Syn. direct, conduct, precede | leadership | (n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งหัวหน้า | major-domo | (n) พ่อบ้านดูแลบ้าน, See also: ผู้ดูแลบ้าน, หัวหน้าคนรับใช้ที่เป็นผู้ชาย, Syn. seneschal | majority leader | (n) หัวหน้าพรรคเสียงข้างมากในสภา | master | (n) เจ้านาย, See also: นายจ้าง, หัวหน้า, ผู้ควบคุม, ผู้ปกครอง, Syn. chief, leader, ruler, governor | master | (n) หัวหน้าครอบครัว, See also: เจ้าบ้าน | mastership | (n) ตำแหน่งหัวหน้า | matriarch | (n) หัวหน้าครอบครัวหรือชนเผ่าซึ่งเป็นหญิง, Syn. dowager, ruler | Mephistophelean | (n) หัวหน้าปีศาจ | Mephistopheles | (adj) เกี่ยวกับหัวหน้าปีศาจ | Mephistophelian | (adj) หัวหน้าปีศาจ | Mother Superior | (n) คุณแม่อธิการ, See also: หัวหน้าแม่ชี | mother superior | (n) คุณแม่อธิการ, See also: หัวหน้าแม่ชี | arch | (prf) หัวหน้า, See also: สำคัญ | archi | (prf) หัวหน้า, See also: สำคัญ | patriarch | (n) หัวหน้าครอบครัว, See also: หัวหน้าเผ่า, Syn. leader, head | provost marshal | (n) หัวหน้าสารวัตรทหาร | ringleader | (n) หัวหน้าแก๊ง, See also: หัวหน้าก๊ก, หัวหน้ากลุ่มอันธพาล, Syn. agitator, leader | big fish | (sl) หัวหน้า, See also: เจ้านาย, ผู้นำ | guv | (sl) เจ้านาย, See also: หัวหน้า, Syn. guv’nor | guv’nor | (sl) เจ้านาย, See also: หัวหน้า, Syn. guv | top bannana | (sl) ผู้นำ, See also: หัวหน้า, Syn. Top drawer |
| abbess | (แอบ' บิส) n. หัวหน้าสำนักแม่ชี | abp. | abbr. archbishop. (หัวหน้าบาทหลวงเจ้าคณะ) | admiral | (แอด' มีเริล) n. นายพลเรือ, พลเรือเอก, หัวหน้าหน่วยเรือประมงหรือเรือสินค้า | arch 2 | (อาร์ค) adj. สำคัญที่สุด, หัวหน้า, สำคัญ, มหา, บรม, เอก. -archness n., Syn. chief | arch- | (คำเสริมหน้า) มีความหมายว่า 'หัวหน้า', Syn. - archi-. -archy- | archangel | (อาร์ค'เอนเจิล) n. ทูตสวรรค์ชั้นหัวหน้า, ประมุขทูตสวรรค์, สมุนไพรชนิดหนึ่ง. -archangelic (al) adj. | archbishop | (อาร์ค'บิเชิพ) n. หัวหน้า bishop หัวหน้าบาทหลวง (chief bishop) | archbishopric | (อาร์คบิช'ชัพริค) n. ตำแหน่งหัวหน้า bishop (office of an archbishop) | archenemy | (อาร์คเอน'นีมี) n. หัวหน้าศัตรู, ซาตาน, ศัตรูสำคัญ | archi- | (คำเสริมหน้า) มีความหมายว่า "หัวหน้า", "สำคัญ", "แรกเริ่ม" (arch-) | archon | (อาร์'คอน) n. หัวหน้าผู้พิพากษาในกรุงเอเธนส์สมัยโบราณ -archonship n. | archpriest | (อาร์ค'พริสทฺ) n. หัวหน้าพระ. -archpriesthood, archpriestship n. | autocephalous | (ออโทเซฟ'ฟะลัส) adj. ซึ่งมีหัวหน้าบาทหลวงของตัวเอง having its own head | bell captain | n. หัวหน้าพนักงานรับใช้ในโรงแรม | bishop | (บิช'เชิพ) n. หัวหน้าบาทหลวง, สังฆนายก, ตัวหมากรุกฝรั่งที่เทียบเท่ากับโคนของหมากรุกไทย, See also: bishopric adj. ดูbishop | boatswain | (โบ'เซิน) n. สรั่งเรือ, พันจ่าเรือที่มีหน้าที่ดูแลเรือ, หัวหน้ากะลาสีเรือ, จ่ายามเรือ | butler | (บัท'เลอะ) n. หัวหน้าคนใช้, พ่อบ้าน | captain | (แคพ'เทน) { captained, captaining, captains } n. ร้อยเอก, เรือเอก, เรืออากาศเอก, นาวาเอก, หัวหน้า, ผู้นำ, กัปตันเรือ, หัวหน้านักบิน, ไต้ก๋ง, หัวหน้าชุดนักกีฬา vt. เป็นผู้นำ, เป็นหัวหน้า, บัญชาการ, See also: captancy n. ดู captain, captainship n. ดู captain | catholic church | n. นิกายคาทอลิกที่มีสันตะปาปาเป็นหัวหน้า, Roman Catholic Church | chef | (เชฟ) n. คนครัว, หัวหน้าครัว | chief | (ชีฟ) n. ผู้นำ, หัวหน้า, นาย -adj. สำคัญที่สุด, หลัก -adv. ส่วนใหญ่, Syn. leader, Ant. underling | chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | chief justice | n. หัวหน้าผู้พิพากษา, อธิบดีศาล, See also: chiefjusticeship n. | chieftain | (ชีฟ'เทิน) หัวหน้าคณะ, หัวหน้าเผ่า, หัวหน้าแก๊ง, See also: cy, ship n. | cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | cock | (คอค) { cocked, cocking, cocks } n. ไก่ตัวผู้, นกตัวผู้, ผู้นำ, หัวหน้า, นักต่อสู้, นกสับของปืน, หัวก๊อกท่อน้ำท่อแก๊สที่ใช้มือปิดเปิดได้, ลึงค์, เวลาไก่ขัน, รุ่งอรุณ, การขันของไก่ vt. ดึงนกสับ vi. เดินวางท่า, วางมาด, เชิดขึ้น, ตั้งขึ้น, เตรียมยิง | cock of the walk | n. ผู้นำ, หัวหน้ากลุ่ม | cockswain | (คอค'ซัน) n. มือพายหัวหน้าเรือ แข่ง | commissar | (คอม'มิซาร์) n. หัวหน้าหน่วยงานของรัสเซีย, ผู้ตรวจการในรัสเซีย, ผู้บังคับการตำรวจ, นายทหารฝ่ายเกียกกาย | commissary | (คอม'มิเซอรี) n. ร้านขายอาหารและเสบียง, ที่จ่ายเสบียง, รองหัวหน้า, commissar, รองอธิบดีตำรวจ, รองนายกเทศมนตรี | commissioner | (สคะมิช'เชินเนอะ) n. ผู้ได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่, ผู้ตรวจการณ์, กรรมาธิการ, กรรมการ, หัวหน้ากรม, อธิบดี | committeeman | (คะมิท'ทีเมิน) n. กรรมการ กรรมาธิการ, หัวหน้าพรรคการเมืองในเขตเลือกตั้ง -pl. committeemen | commodore | (คอม'มะดอร์) n. พลเรือจัตวา, นาวาเอกพิเศษ, ผู้บังคับการขบวนเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่, ประธานหรือหัวหน้าสโมสรเล่นเรือ | cox | (คอคซฺ) ฐcoxed, coxing, coxes } n. คนถือท้ายเรือแข่ง, หัวหน้ามือพายของเรือแข่ง. vt. ทำหน้าที่เป็นคนถือ, ท้ายเรือแข่ง | coxswain | (คอค'เซิน, -สเวน) n. คนถือท้ายเรือแข่ง, หัวหน้ามือพายของเรือแข่ง, คนที่ทำหน้าที่ดูแลเรือบด, Syn. steersman | curate | n. พระผู้ช่วยหัวหน้าพระ, พระผู้บำบัดวิญญาณ | dean | (ดีน) n. คณบดี, หัวหน้าคณะ, เจ้าอาวาส, ผู้มีอาวุโส., See also: deanship n. ดูdean | director | (ดิเรค'เทอะ, ไดเรค'เทอะ) n. ผู้อำนวยการ, ผู้ชี้ทาง, ผู้แนะนำ, ผู้บัญชา, ผู้ส่ง, ผู้กำกับการแสดงภาพยนตร์, หัวหน้าวงดนตรี | drummajor | หัวหน้าวงดนตรีทหาร, ผู้นำวงดนตรีในขบวนแห่ | editor in chief | n. หัวหน้า บรรณาธิการ | emir | (อะเมียร์') n. หัวหน้าเผ่าอาหรับ, เจ้าชายอาหรับ, เจ้าเมืองอาหรับ, Syn. emeer | factotum | (แฟคโท' ทัม) n. หัวหน้าคนใช้, พ่อบ้าน | figurehead | n. หัวหน้าในนาม (ไม่มีอำนาจ) , รูปแกะสลักของเรือ | foreman | (ฟอร์'เมิน) n. หัวหน้าคนงาน, หัวหน้าคณะลูกขุน., See also: foremanship n. -pl. foremen | ganger | n. หัวหน้ากรรมกร, หัวหน้าคนงาน | goodman | n. หัวหน้าครอบครัว, สามี, คำเรียกให้เกียรติแก่ผู้ชาย -pl. goodmen | grand master | หัวหน้า, ผู้นำ | head | (เฮด) n. ศีรษะ, ส่วนหัว, สมอง, ตำแหน่งผู้นำ, ตำแหน่งสูงสุด, จุดสุดยอด -Phr. (lose one's head อารมณ์เสีย, ตื่นเต้น) adj. ชั้นนำ, ที่หนึ่ง, สำคัญ, เกี่ยวกับหัว, ข้างหน้า vt. นำหน้า, เป็นผู้นำ, เป็นหัวหน้า, หันหน้าไปทาง, บ่ายหน้าไปทาง, ต่อหัว, จ่าหน้า vi. ไปข้างหน้า, ออกเดิ | headman | (เฮด'เมิน) n.หัวหน้า, ผู้นำ, ผู้คุมงาน, มือเพชฌาตตัดคอ -pl. headmen | headwaiter | n. หัวหน้าบ๋อย, ห้วหน้ากระเป๋ารถเมล์ |
| abbess | (n) หัวหน้านางชี | archangel | (n) หัวหน้าเทวทูต, หัวหน้าทูตสวรรค์, ประมุขทูตสวรรค์ | archbishop | (n) หัวหน้าบาทหลวง, พระสันตปาปา | bishopric | (adj) เกี่ยวกับหัวหน้าบาทหลวง | boatswain | (n) หัวหน้ากะลาสีเรือ, จ่ายามเรือ, สรั่งเรือ | boss | (n) นายจ้าง, เจ้านาย, หัวหน้า, ลายสลักปุ่ม, โหนก | brigadier | (n) หัวหน้ากอง | butler | (n) หัวหน้าคนใช้, พ่อบ้าน | captain | (n) หัวหน้า, ผู้นำ, นายทหาร, ไต้ก๋งเรือ, กัปตันเรือ, หัวหน้านักกีฬา | chef | (n) หัวหน้าพ่อครัว, หัวหน้าคนครัว | chief | (adj) เป็นหัวหน้า, เป็นนาย, สำคัญ, เป็นหลัก | chief | (n) หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, นาย, ผู้นำ | chieftain | (n) ประมุข, หัวหน้าเผ่า, หัวหน้าคณะ, หัวหน้าแก๊ง | commissar | (n) หัวหน้ากรมกอง, ตำแหน่งผู้ตรวจการในรัสเซีย | elite | (n) หัวหน้า, ยอด, หัวกะทิ, สิ่งที่เลือกแล้ว | figurehead | (n) รูปปั้นตรงหัวเรือ, เจว็ด, ผู้เป็นหัวหน้าแต่ในนาม, หุ่นเชิด | foreman | (n) หัวหน้าคนงาน | ganger | (n) หัวหน้าคนงาน, หัวหน้ากรรมกร | head | (adj) สำคัญ, เป็นหัวหน้า, อยู่ต้นๆ, เป็นยอด, ชั้นนำ, ข้างหน้า | head | (n) ศีรษะ, หัว, ยอด, หัวหน้า, ประมุข, สมอง, สติปัญญา, ความคิด, หัวข้อ | head | (vt) นำ, เป็นหัวหน้า, อยู่ต้น, ขึ้นหน้า, จ่าหน้า | headless | (adj) ไม่มีหัว, โง่, ไม่มีสมอง, ไม่มีความคิด, ไม่มีหัวหน้า | headship | (n) ตำแหน่งหัวหน้า, ความเป็นผู้นำ, ตำแหน่งผู้นำ | high | (adj) สูง, สำคัญ, เลิศ, รุนแรง, เต็มที่, ยิ่ง, เป็นหัวหน้า | householder | (n) เจ้าของบ้าน, พ่อบ้าน, หัวหน้าครอบครัว | lead | (vt) นำ, พา, ล่อ, เป็นหัวหน้า, นำหน้า, พูดนำ, ดำเนินชีวิต, ชักจูง | leader | (n) ผู้นำ, หัวหน้า, สายนำไฟฟ้า, ตัวนำแสดง, บทนำ, ผู้บัญชาการ | leadership | (n) ความเป็นผู้นำ, ความเป็นหัวหน้า, ตำแหน่งผู้นำ | leading | (adj) ชั้นแนวหน้า, ชั้นนำ, สำคัญ, เป็นหัวหน้า | master | (n) หัวหน้า, ผู้บังคับการ, ครู, เจ้านาย, มหาบัณฑิต | monitor | (n) หัวหน้านักเรียน, พี่เลี้ยง, ผู้ตักเตือน, เรือหุ้มเกราะ, สัตว์เลื้อคล | patriarch | (n) พระราชาคณะ, พระสังฆราช, บาทหลวง, หัวหน้าครอบครัว, ปรมาจารย์, ผู้เฒ่า | patriarchal | (adj) เกี่ยวกับบาทหลวง, เกี่ยวกับหัวหน้าครอบครัว | prefect | (n) เจ้าเมือง, นายอำเภอ, หัวหน้าชั้น, หัวหน้านักเรียน | principal | (n) ครูใหญ่, หัวหน้า, ต้นทุน, อาจารย์ใหญ่, ตัวการ, ผู้ว่าจ้าง | provost | (n) ประธาน, หัวหน้าพระ, นายกเทศมนตรี, พระครู | ringleader | (n) หัวโจก, ผู้นำ, หัวหน้าแก๊ง | sheik | (n) เจ้าแขก, เจ้าอาหรับ, ชีค, ผู้นำศาสนาอิสลาม, หัวหน้าเผ่า | sheikh | (n) เจ้าแขก, เจ้าอาหรับ, ชีค, ผู้นำศาสนาอิสลาม, หัวหน้าเผ่า | sister | (n) น้องสาว, พี่สาว, นางชี, พี่น้อง, หัวหน้าพยาบาล | taskmaster | (n) หัวหน้าคนงาน, ผู้ควบคุมงาน |
| Ch_mungkorndang | [wor ra nuh see dang] (n) โจรจกหะมอย, หัวหน้าแก๊งเด็กติ๋มก่อนสี่ทุ่ม | Council of Ministers | "คณะมนตรีบริหาร" เป็นชื่อเรียกรัฐบาลระดับแคว้น รัฐ หรือภูมิภาค คำนี้ปรากฎในบางประเทศที่ใช้ระบอบการปกครองแบบสหพันธรัฐ หัวหน้าคณะมนตรีบริหารมักมีชื่อตำแหน่งว่า "มุขมนตรี" | Kim taeyeon | [คิม แทยอน] (n, name) หัวหน้าวง และนักร้องหลักของ Girls' Generation หรือ So Nyeo Shi dae ซึ่งเป็นกลุ่มนักร้องหญิงจากประเทศเกาหลีที่มีสมาชิกทั้งหมด 9 คน ตอนนี้กำลังเป็นที่นิยมอย่างมาก จาก Mini 2nd Album : Tell me your wish (Genie) แทยอนน่ารักและรับประกันในความรั่วค่ะ อิอิ Image: | kim taeyeon | [คิม แทยอน] (name) หัวหน้าวง Girls' Generation ศิลปินกลุ่มหญิงจากประเทศเกาหลีใต้ ประกอบด้วยสมาชิก 9 คน โดยนอกจากทำหน้าที่เป็นหัวหน้าวงแล้ว แทยอนยังทำหน้าที่นักร้องเสียงหลักของวงอีกด้วย, Syn. Taeyeon Image: | Play follow the leader | (n, vi, vt, modal, ver) เล่นตามหัวหน้า | premiership | (n, adj) (พรีเมียร์', พริมเยียร์') n. นายกรัฐมนตรี, อัครมหาเสนาบดี. adj. เป็นหัวหน้า, นำหน้า, ครั้งแรก, เก่าที่สุด. คำศัพท์ย่อย: premiership n. คำที่มีความหมายเหมือนกัน: prime minister |
| 上司 | [じょうし, joushi] (n) หัวหน้า, เจ้านาย | 親分 | [おやぶん, oyabun] (n) หัวหน้าแก๊ง(ยากูซ่า) หัวหน้ากลุ่ม | 親分株 | [おやぶんかぶ, oyabunkabu] (n) ตำแหน่งหัวหน้า | 課長 | [かちょう, kachou] (n) ผู้จัดการแผนก, หัวหน้าแผนก |
| 所長 | [しょちょう, shochou] (n) หัวหน้าแผนก, หัวหน้าฝ่าย | 首席幕僚 | [しゅせきばくりょう, shusekibakuryou] (n) หัวหน้าที่ปรึกษา (ตำแหน่งทางทหาร) | 頭 | [かしら, kashira] (n) หัวหน้า |
| 部長 | [ぶちょう, buchou] TH: หัวหน้าหน่วยงาน | 目上 | [めうえ, meue] TH: ผู้ที่อยู่ในสถานะที่สูงกว่า เช่น เจ้านาย หัวหน้า อาจารย์ เป็นต้น EN: superior(s) |
| Chef | (n) |der, pl. Chefs| หัวหน้า, See also: Leiter, Vorgesetzter | Leiter | (n) |der, pl. Leiter| ผู้นำ, หัวหน้า | entlassen | (vt) |entließ, hat entlassen| ไล่ออก(จากงาน) เช่น Der Chef hat heute einen Angestellten entlassen. วันนี้หัวหน้าไล่พนักงานออกหนึ่งคน, See also: Related: kündigen, Syn. jmdn. feuern | Häuptling | (n) |der, pl. Häuptlinge| ผู้นำกลุ่ม, หัวหน้าเผ่า, See also: Leiter, Syn. Chef |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |