ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -จุลพน-, *จุลพน* |
(Few results found for -จุลพน- automatically try *จุลพน*) |
จุลพน | น. ชื่อกัณฑ์ที่ ๖ ของมหาชาติ. | กระแบก | น. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็เรียก. | กระลบ | (-หฺลบ) ก. ตระหลบ. ว. ฟุ้ง เช่น ก็หอมกระลบอบองค์ (ม. คำหลวง จุลพน). | กระอึก | ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน). | กระเอบ | ว. อร่อย, หอมหวาน, เช่น ลิ้มไล้โอชกระเอบหวาน (ม. คำหลวง จุลพน). | กรูด ๑ | (กฺรูด) น. มะกรูด เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน). | กลู่ | (กฺลู่) ก. เกลื่อน, ใช้เข้าคู่กับคำ กลาด เป็น กลู่กลาด เช่น ดอกไม้อันบานโรยโกยกลู่กลาดคือลาญใน (ม. คำหลวง จุลพน). | กวะแกว่ง | (กฺวะแกฺว่ง) ก. แกว่งไปมา เช่น ช่อช้อยกวะแกว่งไกว (ม. คำหลวง จุลพน). | กว่า | (กฺว่า) ก. ไปจาก เช่น แทบทางที่จะกว่า (ม. คำหลวง จุลพน), ผิออกนางธจะกว่า (ม. คำหลวง กุมาร), ไป เช่น ลํ๋ตายหายกว่า (จารึกสยาม). | กัจฉปะ | (กัดฉะปะ) น. เต่า เช่น หมู่มัจฉกัจฉปะทุกสิ่งสรรพ์ (ม. ร่ายยาว จุลพน). | กันลง ๑, กันลอง ๑ | น. แมลงภู่ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน). | กันลึง | ก. จับ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน). | กัลหาย | (กัน-) ก. กรรหาย, อยากเป็นกำลัง, หิวโหย, เช่น ชายใดเดอรร้อนรนนจวนจวบสร้อยสรสวรก็หายกัลหายหื่นหรรษ์ (ม. คำหลวง จุลพน). | ขัณฑสกร | (ขันทดสะกอน) น. นํ้าตาลกรวด, เครื่องยาไทยอย่างหนึ่งคล้ายนํ้าตาลกรวด, นํ้าตาลชนิดหนึ่งเชื่อกันว่าเกิดที่ใบบัว, เช่น เมื่อเวลาพุ่มไม้มีดอกออกตระการบานเต็มที่พร้อมฤดู เสาวคนธ-รสเรณูโรยร่วงลงบนใบอุบล ซึ่งลอยลาดดาดาษอยู่บนหลังน้ำ เมื่อล่วงเวลากาลก็ก่อเกิดโอชะวิเศษหวานเป็นมธุรส มีนามกำหนดเรียกว่า โบกขรมธุ ผู้เรียนรู้ลุในตำราแพทยศาสตร์ ย่อมสืบเสาะแสวงหามาประกอบใช้ในการโอสถ มีนามปรากฏเรียกว่า ขัณฑสกร (ม. ร่ายยาว จุลพน). | คุกพาทย์ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้บรรเลงเพื่อแสดงการแผลงฤทธิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน. | จรรมขัณฑ์ | น. ท่อนหนัง, แผ่นหนัง, เช่น ทรงครองอชินจรรมขัณฑ์เป็นเครื่องคลุม (ม. ร่ายยาว จุลพน). | จราว ๒ | (จะ-) น. ดอกไม้ เช่น แคแจรเจรอญจราว (ม. คำหลวง จุลพน). (ดู จาว ๔). | จาว ๔ | น. ดอก, ดอกไม้, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง จาวจำแทงจำเทิด (ม. คำหลวง จุลพน), จราว ก็ใช้, โดยปริยายหมายถึงผู้หญิง เช่น ไฟกามรลุงจาว ทองเทศ (ทวาทศมาส). | จุล- | (จุนละ-) ว. เล็ก, น้อย, (มักใช้นำหน้าคำสมาส) เช่น จุลศักราช จุลพน. | แจร | (แจฺร) น. ต้นแคแตร เช่น แคแจรเจริญจราว (ม. คำหลวง จุลพน). | แจรง | (แจฺรง) ก. แจง, กระจายออก, ขยายออก, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง (ม. คำหลวง จุลพน). | ชรไม | (ชะระ-) ว. ชไม, ทั้งคู่, เช่น พรรคหนึ่งนกชื่อชิวปุต์ตา ครพชรไมมามเหมื่อย (ม. คำหลวง จุลพน). | ชรุก | (ชะรุก) ก. ซุก, แอบ, แทรก, เอาของไปแอบแฝงไว้, เช่น ช่อช้อยชรุกระโยงยาน (ม. คำหลวง จุลพน). | แชรง | (ชะแรง) ก. แซง, เบียดเสียด, เช่น ไม้มีผลต่างต่าง ช่อช้อยช่างแชรงดวง (ม. คำหลวง จุลพน). | ดันเหิม | ก. ตันเหิม, รื่นเริง, บันเทิงใจ, เช่น มีกมลเบิกบานบันเทิงเริงรื่น ดันเหิมหื่นหรรษาโมทย (ม. คำหลวง จุลพน). | ด้าม | ต้น, ทาง, เช่น รยกคันธมาทน์ โดยด้ามอาทิสวคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน), อันว่าพระสรรเพชญ์ ผู้เผด็จด้ามตัณหา ลุปรมาภิสมพุทธ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), บพิตร ข้าอยู่ศุขเสวอยราช โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ดูกรเจ้าอำเภอใด แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม ทำโทษน้นน (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | ดำกล | งาม เช่น พยงพื้นในนภดล ดำกลดาดด้วยดวงดาว (ม. คำหลวง จุลพน). | ถมอ | (ถะหฺมอ, ถะมอ) น. หิน เช่น ดาดดำถมอทะมื่น (ม. คำหลวง จุลพน). | ทรนาว, ทระนาว | (ทอระ-) ว. ระนาว, มากมาย, เช่น พบโพหนึ่งในไพรสณฑ์ สาขานฤมล แลลำทรนาวสาวสาร (สมุทรโฆษ), งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน). | ทรสาย | (ทอระ-) ว. สยาย, รุงรัง, เช่น ทรสายกิ่งชื้อชัฏ (ม. คำหลวง จุลพน), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสุม เป็น ทรสายทรสุม ก็มี เช่น กิ่งทรสายทรสุมผกา (ม. คำหลวง มหาพน). | ทรสุม | (ทอระ-) ว. ซึ่งสุมกัน, เป็นกลุ่ม, เป็นพุ่ม, เป็นช่อ, เช่น ไม้ทรสุมสมกิ่งวันนี้ (ม. คำหลวง กุมาร), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสาย เป็น ทรสุมทรสาย ก็มี เช่น ใบทรสุมทรสายศาล (ม. คำหลวง จุลพน). | นาว | น. มะนาว เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน). | บแรงภักษ์, บ่แรงภักษ์ | ก. กินไม่ไหว เช่น กระจับใหญ่มีในโบษขรเท่าศีศะกาษร แลใบบ่แรงภักษภูญช์ (ม. คำหลวง จุลพน). | บง ๓ | ก. คล้อง, ห่ม, เช่น บงบ่าเฉวียง (ม. คำหลวง จุลพน). | ผงร | (ผะหฺงอน) ก. หงาย, ชูขึ้น, ทรงไว้, เช่น ข้าแต่พระผู้ผงรแผ่นแผ้ว (ม. คำหลวง จุลพน) | เพ็จ ๒ | ก. เผล็ด, ผลิ, เช่น พิเภทเพ็จผกากาญจน (ม. คำหลวง จุลพน). | รัว ๒ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงในลักษณะต่าง ๆ กันคือ รัวธรรมดาหรือรัวลาเดียว ใช้บรรเลงเมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในการแสดงโขนละครเป็นต้น และใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์ที่แสดงผลสำเร็จของพิธีการหรือพิธีกรรมนั้น ๆ, รัวเฉพาะ ใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์บางเพลง เช่น รัวท้ายเพลงบาทสกุณี รัวท้ายเพลงปลูกต้นไม้ รัวสามลา เป็นเพลงในชุดโหมโรงเย็นมีความหมายแทนการกราบไหว้บูชา ในการแสดงโขนละคร ใช้บรรเลงประกอบกิริยาแสดงอิทธิฤทธิ์ของตัวละครสูงศักดิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน. | วิจล | วุ่นวาย, วุ่นใจ, เช่น ในสุรสถานดำหนักพน อย่ารู้วิจลสักอันเลย (ม. คำหลวง จุลพน). |
| จุลพน | น. ชื่อกัณฑ์ที่ ๖ ของมหาชาติ. | กระแบก | น. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็เรียก. | กระลบ | (-หฺลบ) ก. ตระหลบ. ว. ฟุ้ง เช่น ก็หอมกระลบอบองค์ (ม. คำหลวง จุลพน). | กระอึก | ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน). | กระเอบ | ว. อร่อย, หอมหวาน, เช่น ลิ้มไล้โอชกระเอบหวาน (ม. คำหลวง จุลพน). | กรูด ๑ | (กฺรูด) น. มะกรูด เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน). | กลู่ | (กฺลู่) ก. เกลื่อน, ใช้เข้าคู่กับคำ กลาด เป็น กลู่กลาด เช่น ดอกไม้อันบานโรยโกยกลู่กลาดคือลาญใน (ม. คำหลวง จุลพน). | กวะแกว่ง | (กฺวะแกฺว่ง) ก. แกว่งไปมา เช่น ช่อช้อยกวะแกว่งไกว (ม. คำหลวง จุลพน). | กว่า | (กฺว่า) ก. ไปจาก เช่น แทบทางที่จะกว่า (ม. คำหลวง จุลพน), ผิออกนางธจะกว่า (ม. คำหลวง กุมาร), ไป เช่น ลํ๋ตายหายกว่า (จารึกสยาม). | กัจฉปะ | (กัดฉะปะ) น. เต่า เช่น หมู่มัจฉกัจฉปะทุกสิ่งสรรพ์ (ม. ร่ายยาว จุลพน). | กันลง ๑, กันลอง ๑ | น. แมลงภู่ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน). | กันลึง | ก. จับ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน). | กัลหาย | (กัน-) ก. กรรหาย, อยากเป็นกำลัง, หิวโหย, เช่น ชายใดเดอรร้อนรนนจวนจวบสร้อยสรสวรก็หายกัลหายหื่นหรรษ์ (ม. คำหลวง จุลพน). | ขัณฑสกร | (ขันทดสะกอน) น. นํ้าตาลกรวด, เครื่องยาไทยอย่างหนึ่งคล้ายนํ้าตาลกรวด, นํ้าตาลชนิดหนึ่งเชื่อกันว่าเกิดที่ใบบัว, เช่น เมื่อเวลาพุ่มไม้มีดอกออกตระการบานเต็มที่พร้อมฤดู เสาวคนธ-รสเรณูโรยร่วงลงบนใบอุบล ซึ่งลอยลาดดาดาษอยู่บนหลังน้ำ เมื่อล่วงเวลากาลก็ก่อเกิดโอชะวิเศษหวานเป็นมธุรส มีนามกำหนดเรียกว่า โบกขรมธุ ผู้เรียนรู้ลุในตำราแพทยศาสตร์ ย่อมสืบเสาะแสวงหามาประกอบใช้ในการโอสถ มีนามปรากฏเรียกว่า ขัณฑสกร (ม. ร่ายยาว จุลพน). | คุกพาทย์ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้บรรเลงเพื่อแสดงการแผลงฤทธิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน. | จรรมขัณฑ์ | น. ท่อนหนัง, แผ่นหนัง, เช่น ทรงครองอชินจรรมขัณฑ์เป็นเครื่องคลุม (ม. ร่ายยาว จุลพน). | จราว ๒ | (จะ-) น. ดอกไม้ เช่น แคแจรเจรอญจราว (ม. คำหลวง จุลพน). (ดู จาว ๔). | จาว ๔ | น. ดอก, ดอกไม้, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง จาวจำแทงจำเทิด (ม. คำหลวง จุลพน), จราว ก็ใช้, โดยปริยายหมายถึงผู้หญิง เช่น ไฟกามรลุงจาว ทองเทศ (ทวาทศมาส). | จุล- | (จุนละ-) ว. เล็ก, น้อย, (มักใช้นำหน้าคำสมาส) เช่น จุลศักราช จุลพน. | แจร | (แจฺร) น. ต้นแคแตร เช่น แคแจรเจริญจราว (ม. คำหลวง จุลพน). | แจรง | (แจฺรง) ก. แจง, กระจายออก, ขยายออก, เช่น ดอกไม้งามเงื่อนแต้ม แชรงยอดแย้มผกาแจรง (ม. คำหลวง จุลพน). | ชรไม | (ชะระ-) ว. ชไม, ทั้งคู่, เช่น พรรคหนึ่งนกชื่อชิวปุต์ตา ครพชรไมมามเหมื่อย (ม. คำหลวง จุลพน). | ชรุก | (ชะรุก) ก. ซุก, แอบ, แทรก, เอาของไปแอบแฝงไว้, เช่น ช่อช้อยชรุกระโยงยาน (ม. คำหลวง จุลพน). | แชรง | (ชะแรง) ก. แซง, เบียดเสียด, เช่น ไม้มีผลต่างต่าง ช่อช้อยช่างแชรงดวง (ม. คำหลวง จุลพน). | ดันเหิม | ก. ตันเหิม, รื่นเริง, บันเทิงใจ, เช่น มีกมลเบิกบานบันเทิงเริงรื่น ดันเหิมหื่นหรรษาโมทย (ม. คำหลวง จุลพน). | ด้าม | ต้น, ทาง, เช่น รยกคันธมาทน์ โดยด้ามอาทิสวคนธ์ (ม. คำหลวง จุลพน), อันว่าพระสรรเพชญ์ ผู้เผด็จด้ามตัณหา ลุปรมาภิสมพุทธ (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), บพิตร ข้าอยู่ศุขเสวอยราช โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ดูกรเจ้าอำเภอใด แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม ทำโทษน้นน (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | ดำกล | งาม เช่น พยงพื้นในนภดล ดำกลดาดด้วยดวงดาว (ม. คำหลวง จุลพน). | ถมอ | (ถะหฺมอ, ถะมอ) น. หิน เช่น ดาดดำถมอทะมื่น (ม. คำหลวง จุลพน). | ทรนาว, ทระนาว | (ทอระ-) ว. ระนาว, มากมาย, เช่น พบโพหนึ่งในไพรสณฑ์ สาขานฤมล แลลำทรนาวสาวสาร (สมุทรโฆษ), งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน). | ทรสาย | (ทอระ-) ว. สยาย, รุงรัง, เช่น ทรสายกิ่งชื้อชัฏ (ม. คำหลวง จุลพน), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสุม เป็น ทรสายทรสุม ก็มี เช่น กิ่งทรสายทรสุมผกา (ม. คำหลวง มหาพน). | ทรสุม | (ทอระ-) ว. ซึ่งสุมกัน, เป็นกลุ่ม, เป็นพุ่ม, เป็นช่อ, เช่น ไม้ทรสุมสมกิ่งวันนี้ (ม. คำหลวง กุมาร), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสาย เป็น ทรสุมทรสาย ก็มี เช่น ใบทรสุมทรสายศาล (ม. คำหลวง จุลพน). | นาว | น. มะนาว เช่น งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร (ม. คำหลวง จุลพน). | บแรงภักษ์, บ่แรงภักษ์ | ก. กินไม่ไหว เช่น กระจับใหญ่มีในโบษขรเท่าศีศะกาษร แลใบบ่แรงภักษภูญช์ (ม. คำหลวง จุลพน). | บง ๓ | ก. คล้อง, ห่ม, เช่น บงบ่าเฉวียง (ม. คำหลวง จุลพน). | ผงร | (ผะหฺงอน) ก. หงาย, ชูขึ้น, ทรงไว้, เช่น ข้าแต่พระผู้ผงรแผ่นแผ้ว (ม. คำหลวง จุลพน) | เพ็จ ๒ | ก. เผล็ด, ผลิ, เช่น พิเภทเพ็จผกากาญจน (ม. คำหลวง จุลพน). | รัว ๒ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงในลักษณะต่าง ๆ กันคือ รัวธรรมดาหรือรัวลาเดียว ใช้บรรเลงเมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในการแสดงโขนละครเป็นต้น และใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์ที่แสดงผลสำเร็จของพิธีการหรือพิธีกรรมนั้น ๆ, รัวเฉพาะ ใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงหน้าพาทย์บางเพลง เช่น รัวท้ายเพลงบาทสกุณี รัวท้ายเพลงปลูกต้นไม้ รัวสามลา เป็นเพลงในชุดโหมโรงเย็นมีความหมายแทนการกราบไหว้บูชา ในการแสดงโขนละคร ใช้บรรเลงประกอบกิริยาแสดงอิทธิฤทธิ์ของตัวละครสูงศักดิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน. | วิจล | วุ่นวาย, วุ่นใจ, เช่น ในสุรสถานดำหนักพน อย่ารู้วิจลสักอันเลย (ม. คำหลวง จุลพน). |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |