ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รัช, -รัช- |
One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa. | วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo |
|
| รัช | (n) dust, See also: particle, Syn. ธุลี, ฝุ่น, ละออง, ผง | รัช | (n) state of being king, See also: kingship, monarchy, Thai Definition: ความเป็นพระราชา | รัช | (n) royal treasures, See also: throne, royal property, Syn. ราชย์, ราไชศวรรย์, ราชสมบัติ | รัชนี | (n) night, See also: night-time, Syn. ราตรี, รัตติกาล, ราตรีกาล, ราตร, กลางคืน, เวลามืด | วิรัช | (adj) foreign, Syn. ต่างประเทศ, ต่างชาติ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิรัช | (adj) pure, See also: clean, chaste, flawless, stainless, Syn. บริสุทธิ์, สะอาด, ใส, Thai Definition: ที่ปราศจากมลทิน, ที่ไม่มีตำหนิ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ไพรัช | (adj) foreign, Syn. ต่างประเทศ, เมืองนอก, Thai Definition: ที่มาจากนอกประเทศ | ปรัชญา | (n) philosophy, Example: นักศึกษาชอบเรียนวิชาปรัชญา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง | รัชกาล | (n) reign, Example: ประตูป้อมนี้เป็นประตูเก่าของวังหน้า สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5, Count Unit: รัชกาล, Thai Definition: เวลาครองราชสมบัติแห่งพระราชาองค์หนึ่งๆ | รัชนีกร | (n) moon, Syn. พระจันทร์, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | รัชสมัย | (n) reign, Example: พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบำรุงการละครและปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ตลอดรัชสมัยของพระองค์ | รัชทายาท | (n) heir, See also: heir to the throne, Example: ขุนวรวงศาธิราชลอบวางยาพิษปลงพระชนม์สมเด็จพระแก้วฟ้า รัชทายาทของสมเด็จพระไชยราชาธิราช, Thai Definition: ผู้จะสืบราชสมบัติ | นักปรัชญา | (n) philosopher, See also: intellectual, Example: นักปรัชญาหลายคนเชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เป็นสิ่งยากที่คอมพิวเตอร์จะเลียนแบบได้, Thai Definition: ผู้รู้, ผู้มีปัญญา | รัชชูปการ | (n) capitation, See also: poll-tax, taxes, Syn. เงินรัชชูปการ, ภาษีรัชชูปการ, Thai Definition: เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล | อภิปรัชญา | (n) metaphysics, See also: super philosophy, Example: เรื่องลิลิตพระลอเป็นเรื่องที่แฝงอภิปรัชญาไว้, Thai Definition: สาขาหนึ่งของปรัชญา ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา | พุทธปรัชญา | (n) Buddhist philosophy, Example: ในพุทธปรัชญาเราไม่พบความคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเช่นที่พบในปรัชญาตะวันตก, Thai Definition: หลักแห่งความรู้และความจริงในศาสนาพุทธ | รัชฎาภิเษก | (n) royal silver jubilee ceremony, See also: a silver jubilee, Syn. รัชดาภิเษก, Thai Definition: พิธีที่พระเจ้าแผ่นดินกระทำเมื่อครองราชสมบัติได้ 25 ปี, Notes: (โบราณ) | ปรัชญาการเมือง | (n) political philosophy, Example: การอ่านหาปรัชญาการเมืองหรือปรัชญาเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ก็เป็นวิธีการอ่านที่ดี | | |
| กรัชกาย | (กะรัดชะ-, กะหฺรัดชะ-, กฺรัดชะ-) น. ร่างกาย เช่น เจ้างามยามประจงจัดกรัชกาย (กลบทบัวบานกลีบขยาย). | บทรัช | (บดทะ-) น. ละอองเท้า เช่น นางโรยนางรื่นล้าง บทรัช (ลอ). | บาทรช, บาทรัช | (บาดทะรด, บาดทะรัด) น. ละอองเท้า. | ปรัชญา | (ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา) น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง. | ไพรัช, ไพรัช- | (ไพรัดชะ-) ว. นอกประเทศ, ต่างประเทศ, เช่น ไพรัชพากย์. | รัช ๑ | น. ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง. | รัช ๒, รัช- | (รัดชะ-) น. ความเป็นพระราชา, ราชสมบัติ. | รัชกาล | น. ช่วงเวลาที่ครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่ง ๆ, โดยอนุโลมใช้หมายถึงพระมหากษัตริย์รัชกาลนั้น ๆ เช่น รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้น. | รัชชูปการ | น. เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากชายฉกรรจ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘-๖๐ ปีที่มิได้รับราชการทหารหรือได้รับการยกเว้นเป็นรายบุคคล เริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชบัญญัติลักษณะการเก็บเงินรัชชูปการ พุทธศักราช ๒๔๖๒). | รัชทายาท | น. ผู้จะสืบราชสมบัติ. | รัชมังคลาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติได้นานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่เคยมีมา. | รัชกะ | น. รชกะ, คนย้อมผ้า, คนซักผ้า. | รัชชุ | (รัด-) น. สาย, เชือก. | รัชชูปการ | (-ปะ-) ดู รัช ๒, รัช-. | รัชฎาภิเษก | (รัดชะ-) น. รัชดาภิเษก. | รัชด-, รัชต- | (รัดชะ-) น. รชตะ, เงิน. | รัชดาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติครบ ๒๕ ปี. | รัชดาภิเษก | ดู รัชด-, รัชต-. | รัชนะ | (รัดชะ-) น. การย้อม. | รัชนี | (รัดชะ-) น. กลางคืน, เวลามืด. | รัชนีกร | น. พระจันทร์. | วิรัช ๑ | ว. ปราศจากธุลี, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สะอาด. | วิรัช ๒ | ว. ต่างประเทศ. | เวสารัช | น. ความเป็นผู้แกล้วกล้า. | อภิปรัชญา | (อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา. | กกุธภัณฑ์ | (กะกุดทะ-) น. สัญลักษณ์สำคัญแห่งความเป็นพระมหากษัตริย์ คือ ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกรชัยพฤกษ์ ๔. วาลวีชนี (พัดกับแส้) ๕. ฉลองพระบาท รวมเรียกว่าเบญจราชกกุธภัณฑ์ ทั้งนี้ บางสมัยใช้เครื่องราชกกุธภัณฑ์แตกต่างกัน เช่น ใช้ฉัตรแทนพระมหาพิชัยมงกุฎ.(ป. กกุธ ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ ว่า
ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๒ มีทั้งฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชัยมงกุฎ และฉลองพระบาท รวมเป็น ๗ สิ่ง.วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็นพัดกับแส้จามรีนั้น แต่ก่อนเป็นพัดใบตาลอย่างที่เรียกว่า พัชนีฝักมะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็นแส้จามรีจะถูกกว่า เพราะศัพท์ว่าวาลวีชนี หมายความเป็นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้างแส้จามรีขึ้น แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็นอันรวมไว้ทั้ง ๒ อย่างในเครื่องที่เรียกว่า วาลวีชนี). | กร ๓ | (กอน) น. แสง, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น รัชนีกร นิศากร. | กระบอก ๑ | เสื้อชนิดหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ แขนยาว ช่วงตัวสั้นเสมอบั้นเอว แขนรัด ตัวรัด คอสูง เรียกว่า เสื้อกระบอก | กะหลาป๋า ๑ | เรียกหมวกชนิดหนึ่งสานด้วยไม้ไผ่อย่างละเอียด รูปทรงสูง ผู้หญิงนิยมใช้ในเวลาแข่งเรือ มีดอกไม้จีนเสียบ เป็นของเก่าในสมัยต้นรัชกาลที่ ๕ ขึ้นไป ว่า หมวกกะหลาป๋า | ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ | น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔). | โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. | เงินตรา | น. เงินที่รัฐกำหนดขึ้นไว้เพื่อใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ได้แก่ เหรียญกระษาปณ์และธนบัตร, (โบ) เงินที่ทำเป็นก้อนลักษณะคล้ายตัวด้วงงอ มีตราจักรและตราประจำรัชกาล มีขนาด น้ำหนัก และราคาต่างกัน ใช้เป็นเงินตราในการแลกเปลี่ยน, เงินพดด้วง ก็เรียก. | เงินแป | น. เงินเหรียญมีลักษณะแบนกลมที่ออกมาใช้เป็นเงินตราในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทำด้วยเงิน มีราคาเป็นตำลึง บาท สลึง เฟื้อง ไพ (ประชุม ร. ๔), เรียกเหรียญซึ่งทำด้วยทองแดงหรือดีบุก. | เงินพดด้วง | น. เงินที่ทำเป็นก้อนลักษณะคล้ายตัวด้วงงอ มีตราจักรและตราประจำรัชกาล มีขนาด น้ำหนัก และราคาต่างกัน ใช้เป็นเงินตราในการแลกเปลี่ยน, เงินตรา ก็เรียก. | จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | จอมมารดา | น. ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๕ ซึ่งมีพระโอรสพระธิดา. | จางวาง | น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นสูงกว่าเจ้ากรมที่มิใช่กรมเสนาบดี ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา กำกับดูแลกรมนั้น ๆ, ตำแหน่งในสังกัดของเจ้านายที่ทรงกรม ทำหน้าที่กำกับดูแลกรมเจ้านาย, ตำแหน่งข้าราชการชั้นสูงในกรมมหาดเล็ก ตั้งขึ้นในรัชกาลที่ ๔ มีหน้าที่บังคับบัญชาหัวหมื่นมหาดเล็ก | จิงโจ้ ๔ | น. เรียกทหารผู้หญิงในวังครั้งรัชกาลที่ ๔ ว่า ทหารจิงโจ้. | จินดามณี | ชื่อตำราแบบเรียนหนังสือไทยโบราณ เช่น จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จินดามณีฉบับไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิทแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์. | จินตนิยม | น. ขบวนการในประวัติศาสตร์ของปรัชญาและศิลปะที่เน้นการเป็นตัวของตัวเอง เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์และระเบียบการที่ยึดถือกันมา นักปรัชญาและศิลปินของขบวนการนี้ถือว่าอารมณ์ ความรู้สึกสำคัญกว่าเหตุผล | จุลจอมเกล้า | (จุนละ-) น. ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง สร้างขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. | จุลวงศ์ | (จุนละ-) น. ชื่อหนังสือพงศาวดารลังกา แต่งเป็นภาษาบาลีต่อจากมหาวงศ์ ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าสิริเมฆวรรณจนถึงลังกาถูกอังกฤษยึดครอง. | เจ้าจอม | ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๑-๕ ซึ่งไม่มีพระราชโอรสพระราชธิดา. | เจ้าจอมมารดา | ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๑-๔ ซึ่งมีพระราชโอรสพระราชธิดา | ช้างเผือก ๒ | น. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง มีที่มาจากตราดาราช้างเผือกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตราพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลช้างเผือก. | ซีป่าย | น. ชื่อกองทหารแบบอังกฤษกองหนึ่งในรัชกาลที่ ๔ เอาแบบมาจากทหารซีปอยของกองทัพอังกฤษในอินเดีย. | ญาณวิทยา | (ยานะวิดทะยา, ยานนะวิดทะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยบ่อเกิด ลักษณะ หน้าที่ ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู้. | ดิเรกคุณาภรณ์ | น. ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-มหาภูมิพลอดุลยเดช มี ๗ ชั้น. | ตรรกศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี. | ทวีธาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อรัชกาลที่ ๕ ทรงครองราชสมบัติยืนนานมาเป็น ๒ เท่าของรัชกาลที่ ๔, เรียกเหรียญที่จัดทำขึ้นเป็นที่ระลึกในพระราชพิธีนี้ ว่า เหรียญทวีธาภิเษก. |
| present reign | รัชกาลปัจจุบัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pretender to the throne | รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political philosophy; philosophy, political | ปรัชญาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political philosophy | ปรัชญาการเมือง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | philosophy, political; political philosophy | ปรัชญาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | philosophy, political | ปรัชญาการเมือง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | philosophy, process | ปรัชญากระบวนการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | philosophy, social | ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | poll tax | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [ ดู capitation tax ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | poll tax | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | process philosophy | ปรัชญากระบวนการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | regnal years | ปีในรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | social philosophy | ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | airbrush | แอร์บรัช [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | A.R. (Anno Regni) | ปีในรัชกาล, เป็นปีที่ ... ในรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | A.R. (Anno Regni) | ปีในรัชกาล, เป็นปีที่ ... ในรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | metaphysical painting | จิตรกรรมแนวอภิปรัชญา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Metaphysical poet | กวีแนวอภิปรัชญา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | metaphysics | อภิปรัชญา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | capitation tax | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [ ดู poll tax ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | capitation tax | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | interregnum | ช่วงว่างระหว่างรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tax, poll; tax, capitation | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tax, poll; tax, capitation | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tax, capitation; tax, poll | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tax, capitation; tax, poll | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | throne, heir to the | รัชทายาท [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | throne, pretender to the | รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Heir Apparent | รัชทายาท [ ดู heir to the throne ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Heir Apparent | รัชทายาท (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | heir to the throne | รัชทายาท [ ดู Heir Apparent ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Heir to the Throne | รัชทายาท, ผู้สืบสันตติวงศ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Women philosophers | นักปรัชญาสตรี [TU Subject Heading] | Alienation (Philosophy) | ความผิดแปลกสภาวะ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Arthurian romances | นิยายรักในรัชสมัยกษัตริย์อาร์เธอร์ [TU Subject Heading] | Authenticity (Philosophy) | ลักษณะของแท้ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Buddhism and philosophy | พุทธศาสนากับปรัชญา [TU Subject Heading] | Buddhist philosophy | พุทธปรัชญา [TU Subject Heading] | Charity | การให้ทาน (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Children and philosophy | เด็กกับปรัชญา [TU Subject Heading] | Comparison (Philosophy) | การเปรียบเทียบ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Constructivism (Philosophy) | ทฤษฎีแนวคิด (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Criticism (Philosophy) | วิจารณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Ideals (Philosophy) | อุดมคติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Identity (Philosophical concept) | เอกลักษณ์ (แง่ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Image (Philosophy) | ภาพลักษณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Individuation (Philosophy) | ปัจเจกบุคคล (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Instinct (Philosophy) | สัญชาตญาณ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Islam and philosophy | ศาสนาอิสลามกับปรัชญา [TU Subject Heading] | Law (Philosophy) | กฎหมาย (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Metaphysics | อภิปรัชญา [TU Subject Heading] | Metaphysics in literature | อภิปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Peace (Philosophy) | สันติภาพ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Philosophers | นักปรัชญา [TU Subject Heading] | Philosophers, Ancient | นักปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading] | Philosophers, Medieval | นักปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading] | Philosophers, Modern | นักปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy | ปรัชญา [TU Subject Heading] | Philosophy and religion | ปรัชญากับศาสนา [TU Subject Heading] | Philosophy and science | ปรัชญากับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Philosophy in literature | ปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Philosophy of mind | ปรัชญาของจิต [TU Subject Heading] | Philosophy of nature | ปรัชญาธรรมชาติ [TU Subject Heading] | Philosophy, Ancient | ปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading] | Philosophy, Asia | ปรัชญาเอเชีย [TU Subject Heading] | Philosophy, Chinese | ปรัชญาจีน [TU Subject Heading] | Philosophy, Comparative | ปรัชญาเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] | Philosophy, English | ปรัชญาอังกฤษ [TU Subject Heading] | Philosophy, French | ปรัชญาฝรั่งเศส [TU Subject Heading] | Philosophy, Greek (Modern) | ปรัชญากรีกสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy, Hindu | ปรัชญาฮินดู [TU Subject Heading] | Philosophy, Indic | ปรัชญาอินเดีย [TU Subject Heading] | Philosophy, Islamic | ปรัชญาอิสลาม [TU Subject Heading] | Philosophy, Medieval | ปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading] | Philosophy, Modern | ปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy, Taoist | ปรัชญาเต๋า [TU Subject Heading] | Philosphy, Confucian | ปรัชญาขงจื้อ [TU Subject Heading] | Philosphy, Thai | ปรัชญาไทย [TU Subject Heading] | Power (Philosophy) | อำนาจ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Practice (Philosophy) | การปฏิบัติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Process philosophy | ปรัชญากระบวนการ [TU Subject Heading] | Self (Philosophy) | อัตตา (ปรัชญา) [TU Subject Heading] |
| We're experiencing a high reading on one of our indicators. | คนที่มีความรู้แน่นปึ้กไปทุกเรื่องไม่ว่าจะเป็นเรื่องวัฒนธรรม ปรัชญา ปัญหาชีวิตผู้หญิง นา กา ยอน Hero (1992) | Jules, did you ever hear the philosophy that once a man admits he is wrong... that he is immediately forgiven for all wrongdoings? | จูลส์, คุณเคยได้ยินปรัชญาว่าเมื่อผู้ชายคนหนึ่งยอมรับว่าเขาเป็นสิ่งที่ผิด ... ว่าเขาได้รับการให้อภัยได้ทันทีสำหรับความผิดทั้งหมดหรือไม่ Pulp Fiction (1994) | I turned into a metaphysician. | โดยการทำตัวเป็นนักปรัชญา Don Juan DeMarco (1994) | Housed with Dobie Rush. | กรงเดียวกับโดบี้รัช Heat (1995) | You are really too undeveloped For philosophical junk like this Too adult is it? | เธอด้อยพัฒนาเกินไป ที่จะเข้าใจเรื่องปรัชญาแบบนี้ The Little Prince (1974) | What a wonderful philosophy you have. | อะไรที่ยอดเยี่ยมปรัชญาคุณมี Mad Max (1979) | In Hindu philosophy the way to God is to free yourself of possessions and of passions. | ปรัชญาของฮินดูกล่าวว่า วิธีเข้าถึงพระเจ้าคือ ไม่ยึดติด Gandhi (1982) | Dr.Tyree's philosophy class is right down the hall. | ชั้นเรียนวิชาปรัชญาของ ดร.ไทรี อยู่สุดโถงด้านโน้น Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | But I think that's a super philosophy, Will. | นั่นแหละเป็นยอดปรัชญาที่เธอมีอยู่ใน ตัวเธอตลอดมา Good Will Hunting (1997) | Yeah, well, I think that's a super philosophy, Sean. | เรอะมันก็เป็นยอดปรัชญาข้อหนึ่งนะฌอน Good Will Hunting (1997) | Just sit. We don't want any company. I'll read you Emerson. | นั่งตรงนั้นดีแล้ว เดี๋ยวฉันอ่าน ปรัชญาเอเมอร์สันให้ฟัง As Good as It Gets (1997) | - We should be getting you home. - Here's us at Mt. Rushmore. | เดี๋ยวๆ นี่เราไปเที่ยวเขารัชมอร์ จำได้มั้ยตอนที่พ่อยังอยู่ The Truman Show (1998) | Suddenly, the old king discovered he had two heirs. | กษัตริย์ผู้ชราได้รัชทายาท 2 องค์ The Man in the Iron Mask (1998) | For he, too, is a king's son. Thank you. | เพราะนี่ก็รัชทายาท The Man in the Iron Mask (1998) | - Rushmore. - Shh. | รัชมอร์ Rushmore (1998) | I just wanted to say that I strongly agree with your views concerning Rushmore. | ผมเห็นด้วยอย่างยิ่ง กับมุมมองของคุณเรื่องรัชมอร์ Rushmore (1998) | I really think you're right about Rushmore. | ผมว่าคุณพูดถูกเกี่ยวกับรัชมอร์ Rushmore (1998) | It entails that if you fail another class, you'll be asked to leave Rushmore. | แปลว่าถ้าเธอตกอีกวิชาเดียว เธอจะต้องออกจากรัชมอร์ Rushmore (1998) | And my mother read it and felt I should go to Rushmore. | แม่ผมอ่านแล้วคิดว่าผมควรมาเรียนรัชมอร์ Rushmore (1998) | For me, it's going to Rushmore. | สำหรับผมมันคือรัชมอร์ Rushmore (1998) | And this is your first year at Rushmore, I take it. | นี่เป็นปีแรกของคุณที่รัชมอร์สินะ Rushmore (1998) | Say, how did you decide to teach at Rushmore? | ว่าแต่ทำไมคุณเลือกสอนที่รัชมอร์ Rushmore (1998) | What Rushmore needs is an aquarium a first-class aquarium... | สิ่งที่รัชมอร์ต้องการคือตู้ปลา ตู้ปลาชั้นหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์จะใช้สอน Rushmore (1998) | I'm a former student of Rushmore Academy, which I recently got expelled from. | อดีตนักเรียนของรัชมอร์ อะคาเดมี่ ซึ่งผมเพิ่งโดนไล่ออกมา Rushmore (1998) | Yeah, I'm fine, but I miss Rushmore. | สบายดีครับ แต่คิดถึงรัชมอร์ Rushmore (1998) | So when he died, I gave it to the library here. | แล้วเขาก็มาเรียนรัชมอร์ พอเขาตาย ฉันก็เลยยกให้ห้องสมุด Rushmore (1998) | Thanks for bailing me out, Dad. Can you drop me off at Rushmore? | ขอบคุณที่มาประกันผม ส่งผมที่รัชมอร์นะฮะ Rushmore (1998) | - Rushmore was my life. | - รัชมอร์คือชีวิตผม Rushmore (1998) | She's my Rushmore, Max. | เธอเป็นรัชมอร์ของฉัน แม็กซ์ Rushmore (1998) | I got those at Rushmore. | ผมได้มาจากรัชมอร์ Rushmore (1998) | - Rushmore. I've got one last piece of unfinished business to attend to. | รัชมอร์ ฉันมีธุระอีกอย่างนึงที่จะต้องสะสาง Rushmore (1998) | I, uh, actually wrote a different version of the play two years ago, but I couldn't get it done over at Rushmore. | จริง ๆ แล้ว ผมเขียนบทนี้อีกเวอร์ชั่นนึงเมื่อ2ปีก่อน แต่ผมทำเป็นละครไม่ได้ที่รัชมอร์ Rushmore (1998) | Now, let's ready ourselves for guided meditation. | คุณไม่ได้กำลังจะตาย อะไรนะ ตามหลักทางปรัชญาธิเบต หรือความหมายอะไรก็ตามน่ะ Fight Club (1999) | Oh, harder, harder! | ผมเป็นนักปรัชญาแห่งเซ็น Fight Club (1999) | Heir to throne must never be involved in issue of bondservant. | รัชทายาทของราชบัลลังก์ทรงไม่เเกี่ยวข้องกับสัญญาทาส Anna and the King (1999) | Yes, we're trying the same philosophy. | ใช่เลย, เรากำลังพยายามทำความเข้าใจปรัชญาเดียวกันอยู่ Hothead (2001) | Why haven't you dazzled us with these philosophical speculations of yours? | ทำไมนายไม่แสดงปรัชญาอันล้ำลึก ให้พวกเราได้ตกตะลึงกันอีกล่ะ The Dreamers (2003) | - I didn't know I was being philosophical. | - ไม่รู้สิ ก็ไม่ได้เป็นปรัชญาอะไรหรอก The Dreamers (2003) | Over the centuries we have put more and more things in that public realm and lately just lately in the last lets say in the last three or four decades started pulling them out again. | ตลอดหลายศตวรรษที่ผ่านมา (มาร์ค คิงเวลล์ นักปรัชญา) เรานำสิ่งต่าง ๆ ไปไว้ในขอบเขตของความเป็นสาธารณสมบัติมากขึ้น ๆ แต่พอมาในยุคหลัง ๆ เมื่อไม่นานมานี้เอง The Corporation (2003) | You have to pose on people what's called a philosophy of futility. | คุณต้องยัดเยียดสิ่งที่เรียกว่า ปรัชญาของความไม่มีประโยชน์ให้แก่ประชาชน The Corporation (2003) | How can you, when neither modern science nor philosophy can explain what life is? | คุณจะทำยังงัย? เมื่อทั้งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญา ไม่อาจให้คำอธิบายได้ว่าชีวิตคืออะไร Ghost in the Shell (1995) | That's just what Rush Limbaugh said. | นั่นเป็นเพียงสิ่งที่รัชลิมกล่าวว่า The Birdcage (1996) | It's made of scholars, theologians, scientists, philosophers... | มันทำของนักวิชาการศาสนาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์นักปรัชญา Contact (1997) | Guys, that's enough! | แล้วใครพาคุณไปที่ชมรมปรัชญานั่น I Heart Huckabees (2004) | Can I trust my habitual mind or do I need to learn to look beneath those things? | ผมควรจะเชื่อความคิดของผม หรือว่าควรมองให้ลึกลงไป - ดูเหมือนแขกเราเป็นนักปรัชญา I Heart Huckabees (2004) | Sounds like we got a philosopher. | - ใช่ นักปรัชญา เราไม่จำเป็นต้อง ถามคำถามพวกนี้ใช่มั้ยคะ I Heart Huckabees (2004) | So, voila! Two overlapping, fractured philosophies... | ปรัชญาใหม่ 2 ส่วนซ้ำซ้อนกัน เกิดขึ้นจากความเจ็บปวดนี้ I Heart Huckabees (2004) | Oh, boy. The man-poet who banged France's dark lady of philosophy. | ไอ้หนุ่มที่ฟันองค์หญิงลึกลับ แห่งหลักปรัชญา I Heart Huckabees (2004) | She's a philosophy student | เธอเป็นนักศึกษาปรัชญาเชียวนะ Rice Rhapsody (2004) | I can see right through you. Remember? I'm psychic | ฉันมองเธอทะลุไปหมดแหล่ะ อย่าลืมสิ ฉันเป็นนักปรัชญานะ Rice Rhapsody (2004) |
| อภิปรัชญา | [aphipratyā = aphipratchayā] (n) EN: metaphysics FR: métaphysique [ f ] | แบบรัชกาล | [baēp ratchakān] (n, exp) EN: bureaucratic | คำถามทางปรัชญา | [khamthām thāng pratyā] (n, exp) EN: philosophical questions FR: question philosophique [ f ] | เขื่อนรัชชประภา | [Kheūoen Ratchapraphā] (n, prop) EN: Ratchaprapa Dam | ความคิดปรัชญา | [khwāmkhit pratyā = pratchayā] (n, exp) EN: philosophical thinking FR: pensée philosophique [ f ] | ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์(มหาราช) | [nai ratchasamai Somdēt Phra Nārāi (Mahārāt)] (xp) EN: during the reign of King Narai ; during King Narai's reign | นักปรัชญา | [nakpratyā = nakpratchayā] (n) EN: philosopher FR: philosophe [ m ] | เงินรัชชูปการ | [ngoen ratchūpakān] (n, exp) EN: capitation tax ; head tax ; poll tax | นิติปรัชญา | [nitipratyā = nitipratchayā] (n, exp) EN: philosophy of law | พุทธปรัชญาเถรวาท | [Phutthapratjā thērawāt] (n, exp) EN: Theravada Buddhist Philosophy | ปรัชญา | [pratyā = pratchayā] (n) EN: philosophy ; gnosis ; prajna FR: philosophie [ f ] ; gnose [ f ] | ปรัชญาอเมริกัน | [pratyā Amērikan] (n, exp) EN: American Philosophy FR: philosophie américaine [ f ] | ปรัชญาแห่งชีวิต | [pratyā haeng chīwit] (n, exp) EN: philosophy of life FR: philosophie de l'existence [ f ] | ปรัชญาอินเดีย | [pratyā Indīa] (n, exp) EN: Indian Philosophy FR: philosophie indienne [ f ] | ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ | [pratyā Indīa samai bōrān] (n, exp) EN: Ancient Indian Philosophy | ปรัชญาจีน | [pratyā Jīn] (n, exp) EN: Chinese Philosophy FR: philosophie chinoise [ f ] | ปรัชญาการเมือง | [pratyā kānmeūang] (n, exp) EN: political philosophy FR: philosophie politique [ f ] | ปรัชญากรีก | [pratyā Krīk] (n, exp) EN: Greek Philosphy FR: philosophie grecque [ f ] | ปรัชญาเมธี | [pratyāmēthī = pratchayāmēthī] (n) EN: philosopher FR: philosophe [ m ] | ปรัชญาภาษา | [pratyā phāsā] (n, exp) EN: philosophy of language FR: philosophie du langage [ f ] | ปรัชญาสตรี | [pratyā sattrī] (n, exp) EN: philosophy of women | ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง | [pratyā sētthakit phøphīeng = pratchayā sētthakit phøphīeng] (n, exp) EN: sufficiency economy philosophy | ปรัชญาญี่ปุ่น | [pratyā Yīpun] (n, exp) EN: Japanese Philosophy FR: philosophie japonaise [ f ] | ปรัชญาตะวันตก | [prawat pratyā Tawan-tok] (n, exp) EN: history of Western Philosophy FR: histoire de la philosophie occidentale [ f ] | รัช | [rat] (n) EN: kingdom ; throne ; kingship FR: royaume [ m ] ; royauté [ f ] | รัชดาภิเษก | [Rātchadāphisēk] (n, prop) EN: Ratchadaphisek FR: Ratchadaphisek | รัชกาล | [ratchakān] (n) EN: reign FR: règne [ m ] | รัชกาลที่ห้า | [Ratchakān thī hā] (n, prop) EN: Rama V (King) FR: Rama V (roi) [ m ] | รัชกาลที่หก | [Ratchakān thī hok] (n, prop) EN: Rama VI (King) FR: Rama VI (roi) [ m ] | รัชกาลที่เจ็ด | [Ratchakān thī jet] (n, prop) EN: Rama VII (King) FR: Rama VII (roi) [ m ] | รัชกาลที่เก้า | [Ratchakān thī kao] (n, prop) EN: Rama IX (King) FR: Rama IX (roi) [ m ] | รัชกาลที่หนึ่ง | [Ratchakān thī neung] (n, prop) EN: Rama I (King) FR: Rama I (roi) [ m ] | รัชกาลที่แปด | [Ratchakān thī paēt] (n, prop) EN: Rama VIII (King) FR: Rama VIII (roi) [ m ] | รัชกาลที่สาม | [Ratchakān thī sām] (n, prop) EN: Rama III (King) FR: Rama III (roi) [ m ] | รัชกาลที่สี่ | [Ratchakān thī sī] (n, prop) EN: Rama IV (King) FR: Rama IV (roi) [ m ] | รัชกาลที่สอง | [Ratchakān thī søng] (n, prop) EN: Rama II (King) FR: Rama II (roi) [ m ] | รัชสมัย | [ratchasamai] (n) EN: reign FR: règne [ m ] | รัชทายาท | [ratchathāyāt] (n) EN: heir to the throne ; royal heir | รัชชูปการ | [ratchūpakān] (n) EN: capitation |
| homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
| doctrine | (n) ทฤษฎี, See also: หลักการ, ปรัชญา, คำสอนทางศาสนา, Syn. philosophy, religious doctrine | ens | (n) การมีตัวตน (ทางปรัชญาป, See also: เอกลักษณ์, Syn. existence | entity | (n) เอกลักษณ์ (ทางปรัชญา), Syn. existence | epistemology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีของธรรมชาติและความรู้, See also: ปรัชญาวิทยาแขนงหนึ่ง | esthetics | (n) สุนทรียศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสวยความงาม, Syn. aestheticism, aesthetics | etiology | (n) การศึกษาทางปรัชญาที่เกี่ยวกับสาเหตุและต้นกำเนิด, Syn. aetiology | intellectualism | (n) ความเชื่อที่ว่าความรู้มาจากการคิดอย่างมีเหตุผล (ทางปรัชญา) | liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ | metaphysical | (adj) เกี่ยวกับอภิปรัชญา, Syn. mystical, spiritual, transcendental | metaphysically | (adv) ทางอภิปรัชญา | metaphysics | (n) อภิปรัชญา, Syn. epistemology, ontology, cosmology | philosopher | (n) นักปราชญ์, See also: นักปรัชญา, ปราชญ์, Syn. guru, sage, thinker | philosophical | (adj) เกี่ยวกับปรัชญา, See also: ซึ่งยึดหลักปรัชญา, Syn. esoteric | philosophically | (adv) โดยยึดหลักปรัชญา | philosophy | (n) หลักปรัชญา, See also: หลักความจริงของชีวิต, Syn. axiom, truth | philosophy | (n) วิชาปรัชญา | Plato | (n) นักปรัชญาชาวกรีก (ช่วง 427 -347 ปีก่อนคริสตกาล) | Platonic | (adj) เกี่ยวกับเพลโต, See also: เกี่ยวกับปรัชญาของเพลโต | Prince of Wales | (n) มงกุฎราชกุมารของประเทศอังกฤษ, See also: เจ้าชายองค์โตที่เป็นรัชทายาทของประเทศอังกฤษ | reign | (n) รัชกาล, See also: รัชสมัย, แผ่นดิน, การครองราชย์, Syn. era, dynasty, governnance | stoic | (n) ผู้นับถือปรัชญาของ Stoic | stoicism | (n) การนับถือปรัชญาของ Stoic | theosophy | (n) ความคิดด้านปรัชญาหรือศาสนาที่ยึดหลักเทววิทยา, See also: เทวหลักการ, Syn. spiritualism | thinker | (n) นักคิด, See also: นักปรัชญา, Syn. sage, intellectual, savant, philosopher | yang | (n) หลักปรัชญาจีน (หยาง) | yoga | (n) ปรัชญาศาสนาฮินดูที่สอนให้ควบคุมจิตใจและร่างกาย |
| absolute idealism | ปรัชญาที่เกี่ยวกับ absolute idea -absolute idealist n. | academism | (อะแคค' ดิมิสซึม) n. academicism. สำนักปรัชญาที่ก่อตั้งโดย | academy | (อะแคด' ดิมี) โรงเรียน, สำนัก, สภา, สถาบันการศึกษา, กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ, สำนักปัญญาปรัชญาของ Plato, วิทยสถาน, Syn. school | aristotelianism | (อะริสโทเทล'เยินนิสซึม) n. ปรัชญาคำสอนของอริสโตเติล | axiology | (แอคซิออล'โลจี) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับคุณค่าต่าง ๆ ศีลธรรมจรรยา ความสวยงามและศาสนา. -axiological adj. -axiologist n. (branch of philosophy) | brush | (บรัช) { brushed, brushing, brushes } n. แปรง, พู่กัน, หนวดเครารุงรัง, หางหยาบใหญ่ ของสัตว์ (เช่นสุนัขจิ้งจอก) , การเผชิญหน้ากับ, พุ่มไม้หนา, ส่วนที่เป็นพู่ -v. ปัด, ทา, กวาดด้วยแปรง, สัมผัสเบา -Phr. (brush aside ไม่สนใจ, กวาดล้าง) -Phr. (brush away ปัดออก, แปรงออก) -S.broo | byelorussia | (ไบเอลโลรัช'เชีย) n. แคว้นหนึ่งของรัสเซียทางด้านตะวันตก. -S.Belorussia | crush | (ครัช) { crushed, crushing, crushes } n. ทำให้แตก, ขยี้, บี้, คั้น, บด, เหยียบ, กำจัด, ทำลาย, ทำให้โศกเศร้า. n. การขยี้ (บี้คั้น, บด, กำจัด, ทำลาย, ทำให้โศกเศร้า) ฝูงชนที่แน่นขนัด, ความหลงใหลอย่างมาก, สิ่งที่หลงไหลอย่างมาก, น้ำผลไม้คั้น, Syn. smash | crushing | (ครัช'ชิง) adj. ซึ่งทำให้แตก, ซึ่งบดขยี้, ซึ่งทำให้สยบ, เด็ดขาด, ซึ่งชี้ขาด | inrush | (อิน'รัช) n. การไหลเข้า, การไหลบ่า, การไหลพุ่งเข้าไป., See also: inrushing n., adj. | juniorate | (จูน'ยะเรท) n. หลักสูตรปรัชญา2ปี | metaphysics | (เมททะฟิซ'ซิคซฺ) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับความจริงในธรรมชาติ, ปรัชญา (โดยเฉพาะในสาขาต่าง ๆ ที่เข้าใจได้ยาก) | mode | (โมด) n. วิธีการ, แบบ, ลักษณะการกระทำ (เกี่ยวกับปรัชญาKant) , ความเป็นจริงหรือการเป็นอยู่หรือความเป็นไปได้, แบบนิยม, แฟชั่น, สมัยนิยม | moment | (โม'เมินทฺ) n. ขณะนั้น, ชั่วครู่, ขณะ, ความสำคัญ, ความสำคัญของขณะนั้น, โอกาส, ผลที่ตามมา, ลักษณะของสิ่งของ (ปรัชญา), Syn. minute, weight, Ant. triviality | momentum | (โมเมน'ทัม) n. แรงแห่งการเคลื่อนที่, แรงกระตุ้น, แรงผลักดัน, ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือระบบที่เท่ากับผลคูณของมวลของวัตถุกับความเร็วของมัน;P; (ปรัชญา) ลักษณะของสิ่งของ pl. momenta, momentums, Syn. movement, motion, impulse, Ant. inerti | nailbrush | (เนล'บรัช) n. แปรงขัดเล็บ | paintbrush | (เพน'ทบรัช) n. แปรงทาสี | pascal | ปาสกาลเป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่นิยมใช้กันมากพอสมควร มักใช้ในการสอนวิชามโนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ผู้คิดภาษานี้ชื่อ Niklaus Wirth แต่ตั้งชื่อภาษาตามชื่อของนักคณิตปรัชญาคนสำคัญคนหนึ่งคือ Blaise Pascalดู high level language ประกอบ | ph d | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) | ph. d. | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) | philosopher | (ฟิลิส'ซะเฟอะ) n. นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ปราชญ์, ผู้รู้หลักธรรม, ผู้ที่ปลงตก, ผู้เล่นแปรธาตุ, ผู้มีใจเยือกเย็น ไม่สะทกสะท้านต่อภยันตราย, ผู้เล่นแปรธาตุ ุ, See also: philosophership n. | philosophic | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น | philosophical | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น | philosophy | (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา, ระบบปรัชญา, หลักปรัชญา, ระบบหลักการ, สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์, วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) , ธรรมะ, วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จริยศาสตร์, ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ | plato | (เพล'โท) n. นักปรัชญาชาวกรีก (เมื่อ427-347ปีก่อนคริสตกาล) | property | (พรอพ'เพอที) n. ทรัพย์สิน, ทรัพย์สมบัติ, สมบัติ, ที่ดิน, สิทธิครอบครอง, กรรมสิทธิ์, (ปรัชญา) , ลักษณะที่ไม่สำคัญ, (ละคร) เครื่องประ-ดับหรืออุปกรณ์, Syn. possessions, holding, attibute, trait, feature | rousseau | (รูโซ') n. Jean Jacques (ค.ศ.1712-78) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส | rush | (รัช) vi., n. (การ) วิ่ง, วิ่งเข้าไป, วิ่งแร่, พุ่ง, พรวดพราด, ถลัน, เร่ง, รีบเร่ง, ผลัก, ไส, ปรากฎขึ้นฉับพลัน vt. กระทำอย่างเร่งรีบ, เร่งรีบ, กรูกันไป, ยื้อแย่ง, แย่งซื้อ adj. เร่งรีบฉุกละหุก, พรวดพราด, กุลีกุจอ, See also: rushingly adv. | socrates | (ซอค'ระทีซ) n. (399-469 ปีมาก่อนคริสตกาล) นักปรัชญาชาวกรีก, See also: Socratic adj. | sophist | (ซอฟ'ฟิสทฺ) n. (ประวัติศาสตร์กรีก) ชนชั้นอาจารย์ปรัชญาและศิลปะการพูด | stoic | (สโท'อิค) adj. เกี่ยวกับหลักการขจัดตัณหาราคะ, ปลงตก, stoic, =stoical (ดู) . n. สมาชิกหรือผู้ยึดถือหลักปรัชญาของสำนักหลักปรัชญาดังกล่าว, , See also: stoic n. ผู้ปฎิบัติตามหลักปรัชญาดังกล่าว | subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, | subsist | (ซับซิสทฺ') vi. มีอยู่, ยังชีพ, ยังอยู่, อยู่รอด, ประทังชีพ, ดำรงชีพ, (ปรัชญา) ดำรงอยู่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด., Syn. exist, love, be, occur, endure | subsistent | (ซัยซิส'เทินทฺ) adj. มีอยู่, ยังชีพ, อยู่รอด, ดำรงชีพ, ประทังชีพ, ฝังติด, ประจำตัว n. (ปรัชญา) สิ่งที่มีอยู่หรือเป็นของจริง | thrush | (ธรัช) n. นกเล็กร้องเพราะจำพวกหนึ่งในตระกูล Turdidae, นักร้องหญิงอาชีพ, โรคเชื้อราที่ปากหรือลำคอ | tooth brush | (ทูธ'บรัช) n. แปรงสีฟัน | universal | (ยูนิเวอ'เซิล) adj. สากล, เกี่ยวกับจักรวาล, ทั้งหมด, ทั่วไป, มีผลทั่วไป, ทุกหนทุกแห่ง, ทั้งมวล, n. (ปรัชญา) ข้อเสนอสำหรับทุกชนชั้น, มโนธรรมทั่วไป, ลักษณะเฉพาะทั่วไป, ข้อต่ออเนกประสงค์ (หรือuniversal joint) ., See also: universalness n. | yin and yang | (ยิน แอนด์ แยง) n. (หลักปรัชญาและศาสนาในจีน) หลักการตรงกันข้ามสองอย่าง/ลบปรือบวก/มืดหรือสว่างเป็นต้น | yoga | (โย'กะ) n. (ปรัชญาอินเดีย) โยคะ -Yogic adj. -Yogism n. |
| capitation | (n) รัชชูปการ | HEIR heir apparent | (n) ทายาทที่แท้จริง, รัชทายาท | heir | (n) รัชทายาท, ทายาท, ผู้สืบทอด, ผู้รับมรดก, ผู้รับช่วง | inheritor | (n) ทายาท, ผู้สืบทอด, รัชทายาท | kingship | (n) ความเป็นพระเจ้าแผ่นดิน, ความเป็นกษัตริย์, รัชสมัย | metaphysical | (adj) เกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ | metaphysics | (n) ปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ | philosopher | (n) นักปราชญ์, นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ผู้เล่นแร่แปรธาตุ | philosophic | (adj) เกี่ยวกับปรัชญา, ที่ยึดหลักปรัชญา, ซึ่งปลงตก, ไม่ดิ้นรน | philosophize | (vi) คิดอย่างปรัชญาเมธี, ปลงตก, ยึดหลักปรัชญา, ศึกษาธรรมะ | philosophy | (n) ปรัชญา, จริยศาสตร์, ธรรมะ | POLL poll tax | (n) ภาษีรายหัว, ภาษีรัชชูปการ | reign | (n) รัชกาล, รัชสมัย, ความยิ่งใหญ่, อำนาจการปกครอง |
| acatalepsy | (n) แนวคิดทางปรัชญาที่ว่าความรู้ของมนุษย์ไม่เคยมีความแน่นอน | Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) | father's day | [ฟาเธอร์ส เดย์] (n) วันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลมหาราช รัชกาลที่ 9 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี ถือเป็นวันพ่อแห่งชาติด้วย, See also: A. Mother's Day, HM the Queen Sirikit's Birthday, Syn. HM the King Bhumipol's Birthday | LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน |
| 哲学 | [てつがく, tetsugaku] ปรัชญา |
| 平成 | [へいせい, heisei] TH: รัชสมัยเฮเซ เริ่มตั้งแต่ปีคศ.1989 |
| Philosophie | (n) |die, pl. Philosophien| ปรัชญา เช่น Unsere Philosophie lautet: Kunden sind König. ปรัชญาของเราคือ ลูกค้าเป็นพระเจ้า (แปลตรงๆ คือ ลูกค้าคือพระมหากษัตริย์) | Pragmatismus | (n) |der, nur Sg.| ปฏิบัตินิยม, หลักการหรือปรัชญาที่ว่าผลของการปฏิบัติเป็นแกนหรือความหมายของความรู้ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |