ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รัช, -รัช- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa. | วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo |
|
| รัช | (n) dust, See also: particle, Syn. ธุลี, ฝุ่น, ละออง, ผง | รัช | (n) state of being king, See also: kingship, monarchy, Thai Definition: ความเป็นพระราชา | รัช | (n) royal treasures, See also: throne, royal property, Syn. ราชย์, ราไชศวรรย์, ราชสมบัติ | รัชนี | (n) night, See also: night-time, Syn. ราตรี, รัตติกาล, ราตรีกาล, ราตร, กลางคืน, เวลามืด | วิรัช | (adj) foreign, Syn. ต่างประเทศ, ต่างชาติ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิรัช | (adj) pure, See also: clean, chaste, flawless, stainless, Syn. บริสุทธิ์, สะอาด, ใส, Thai Definition: ที่ปราศจากมลทิน, ที่ไม่มีตำหนิ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ไพรัช | (adj) foreign, Syn. ต่างประเทศ, เมืองนอก, Thai Definition: ที่มาจากนอกประเทศ | ปรัชญา | (n) philosophy, Example: นักศึกษาชอบเรียนวิชาปรัชญา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง | รัชกาล | (n) reign, Example: ประตูป้อมนี้เป็นประตูเก่าของวังหน้า สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5, Count Unit: รัชกาล, Thai Definition: เวลาครองราชสมบัติแห่งพระราชาองค์หนึ่งๆ | รัชนีกร | (n) moon, Syn. พระจันทร์, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | รัชสมัย | (n) reign, Example: พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบำรุงการละครและปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ตลอดรัชสมัยของพระองค์ | รัชทายาท | (n) heir, See also: heir to the throne, Example: ขุนวรวงศาธิราชลอบวางยาพิษปลงพระชนม์สมเด็จพระแก้วฟ้า รัชทายาทของสมเด็จพระไชยราชาธิราช, Thai Definition: ผู้จะสืบราชสมบัติ | นักปรัชญา | (n) philosopher, See also: intellectual, Example: นักปรัชญาหลายคนเชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เป็นสิ่งยากที่คอมพิวเตอร์จะเลียนแบบได้, Thai Definition: ผู้รู้, ผู้มีปัญญา | รัชชูปการ | (n) capitation, See also: poll-tax, taxes, Syn. เงินรัชชูปการ, ภาษีรัชชูปการ, Thai Definition: เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล | อภิปรัชญา | (n) metaphysics, See also: super philosophy, Example: เรื่องลิลิตพระลอเป็นเรื่องที่แฝงอภิปรัชญาไว้, Thai Definition: สาขาหนึ่งของปรัชญา ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา | พุทธปรัชญา | (n) Buddhist philosophy, Example: ในพุทธปรัชญาเราไม่พบความคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเช่นที่พบในปรัชญาตะวันตก, Thai Definition: หลักแห่งความรู้และความจริงในศาสนาพุทธ | รัชฎาภิเษก | (n) royal silver jubilee ceremony, See also: a silver jubilee, Syn. รัชดาภิเษก, Thai Definition: พิธีที่พระเจ้าแผ่นดินกระทำเมื่อครองราชสมบัติได้ 25 ปี, Notes: (โบราณ) | ปรัชญาการเมือง | (n) political philosophy, Example: การอ่านหาปรัชญาการเมืองหรือปรัชญาเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ก็เป็นวิธีการอ่านที่ดี | | |
| กรัชกาย | (กะรัดชะ-, กะหฺรัดชะ-, กฺรัดชะ-) น. ร่างกาย เช่น เจ้างามยามประจงจัดกรัชกาย (กลบทบัวบานกลีบขยาย). | บทรัช | (บดทะ-) น. ละอองเท้า เช่น นางโรยนางรื่นล้าง บทรัช (ลอ). | บาทรช, บาทรัช | (บาดทะรด, บาดทะรัด) น. ละอองเท้า. | ปรัชญา | (ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา) น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง. | ไพรัช, ไพรัช- | (ไพรัดชะ-) ว. นอกประเทศ, ต่างประเทศ, เช่น ไพรัชพากย์. | รัช ๑ | น. ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง. | รัช ๒, รัช- | (รัดชะ-) น. ความเป็นพระราชา, ราชสมบัติ. | รัชกาล | น. ช่วงเวลาที่ครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่ง ๆ, โดยอนุโลมใช้หมายถึงพระมหากษัตริย์รัชกาลนั้น ๆ เช่น รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้น. | รัชชูปการ | น. เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากชายฉกรรจ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘-๖๐ ปีที่มิได้รับราชการทหารหรือได้รับการยกเว้นเป็นรายบุคคล เริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชบัญญัติลักษณะการเก็บเงินรัชชูปการ พุทธศักราช ๒๔๖๒). | รัชทายาท | น. ผู้จะสืบราชสมบัติ. | รัชมังคลาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติได้นานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่เคยมีมา. | รัชกะ | น. รชกะ, คนย้อมผ้า, คนซักผ้า. | รัชชุ | (รัด-) น. สาย, เชือก. | รัชชูปการ | (-ปะ-) ดู รัช ๒, รัช-. | รัชฎาภิเษก | (รัดชะ-) น. รัชดาภิเษก. | รัชด-, รัชต- | (รัดชะ-) น. รชตะ, เงิน. | รัชดาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติครบ ๒๕ ปี. | รัชดาภิเษก | ดู รัชด-, รัชต-. | รัชนะ | (รัดชะ-) น. การย้อม. | รัชนี | (รัดชะ-) น. กลางคืน, เวลามืด. | รัชนีกร | น. พระจันทร์. | วิรัช ๑ | ว. ปราศจากธุลี, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สะอาด. | วิรัช ๒ | ว. ต่างประเทศ. | เวสารัช | น. ความเป็นผู้แกล้วกล้า. | อภิปรัชญา | (อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา. | กกุธภัณฑ์ | (กะกุดทะ-) น. สัญลักษณ์สำคัญแห่งความเป็นพระมหากษัตริย์ คือ ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกรชัยพฤกษ์ ๔. วาลวีชนี (พัดกับแส้) ๕. ฉลองพระบาท รวมเรียกว่าเบญจราชกกุธภัณฑ์ ทั้งนี้ บางสมัยใช้เครื่องราชกกุธภัณฑ์แตกต่างกัน เช่น ใช้ฉัตรแทนพระมหาพิชัยมงกุฎ.(ป. กกุธ ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ ว่า
ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๒ มีทั้งฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชัยมงกุฎ และฉลองพระบาท รวมเป็น ๗ สิ่ง.วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็นพัดกับแส้จามรีนั้น แต่ก่อนเป็นพัดใบตาลอย่างที่เรียกว่า พัชนีฝักมะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็นแส้จามรีจะถูกกว่า เพราะศัพท์ว่าวาลวีชนี หมายความเป็นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้างแส้จามรีขึ้น แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็นอันรวมไว้ทั้ง ๒ อย่างในเครื่องที่เรียกว่า วาลวีชนี). | กร ๓ | (กอน) น. แสง, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น รัชนีกร นิศากร. | กระบอก ๑ | เสื้อชนิดหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ แขนยาว ช่วงตัวสั้นเสมอบั้นเอว แขนรัด ตัวรัด คอสูง เรียกว่า เสื้อกระบอก | กะหลาป๋า ๑ | เรียกหมวกชนิดหนึ่งสานด้วยไม้ไผ่อย่างละเอียด รูปทรงสูง ผู้หญิงนิยมใช้ในเวลาแข่งเรือ มีดอกไม้จีนเสียบ เป็นของเก่าในสมัยต้นรัชกาลที่ ๕ ขึ้นไป ว่า หมวกกะหลาป๋า | ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ | น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔). | โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. | เงินตรา | น. เงินที่รัฐกำหนดขึ้นไว้เพื่อใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ได้แก่ เหรียญกระษาปณ์และธนบัตร, (โบ) เงินที่ทำเป็นก้อนลักษณะคล้ายตัวด้วงงอ มีตราจักรและตราประจำรัชกาล มีขนาด น้ำหนัก และราคาต่างกัน ใช้เป็นเงินตราในการแลกเปลี่ยน, เงินพดด้วง ก็เรียก. | เงินแป | น. เงินเหรียญมีลักษณะแบนกลมที่ออกมาใช้เป็นเงินตราในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทำด้วยเงิน มีราคาเป็นตำลึง บาท สลึง เฟื้อง ไพ (ประชุม ร. ๔), เรียกเหรียญซึ่งทำด้วยทองแดงหรือดีบุก. | เงินพดด้วง | น. เงินที่ทำเป็นก้อนลักษณะคล้ายตัวด้วงงอ มีตราจักรและตราประจำรัชกาล มีขนาด น้ำหนัก และราคาต่างกัน ใช้เป็นเงินตราในการแลกเปลี่ยน, เงินตรา ก็เรียก. | จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | จอมมารดา | น. ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๕ ซึ่งมีพระโอรสพระธิดา. | จางวาง | น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นสูงกว่าเจ้ากรมที่มิใช่กรมเสนาบดี ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา กำกับดูแลกรมนั้น ๆ, ตำแหน่งในสังกัดของเจ้านายที่ทรงกรม ทำหน้าที่กำกับดูแลกรมเจ้านาย, ตำแหน่งข้าราชการชั้นสูงในกรมมหาดเล็ก ตั้งขึ้นในรัชกาลที่ ๔ มีหน้าที่บังคับบัญชาหัวหมื่นมหาดเล็ก | จิงโจ้ ๔ | น. เรียกทหารผู้หญิงในวังครั้งรัชกาลที่ ๔ ว่า ทหารจิงโจ้. | จินดามณี | ชื่อตำราแบบเรียนหนังสือไทยโบราณ เช่น จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จินดามณีฉบับไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิทแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์. | จินตนิยม | น. ขบวนการในประวัติศาสตร์ของปรัชญาและศิลปะที่เน้นการเป็นตัวของตัวเอง เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์และระเบียบการที่ยึดถือกันมา นักปรัชญาและศิลปินของขบวนการนี้ถือว่าอารมณ์ ความรู้สึกสำคัญกว่าเหตุผล | จุลจอมเกล้า | (จุนละ-) น. ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง สร้างขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. | จุลวงศ์ | (จุนละ-) น. ชื่อหนังสือพงศาวดารลังกา แต่งเป็นภาษาบาลีต่อจากมหาวงศ์ ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าสิริเมฆวรรณจนถึงลังกาถูกอังกฤษยึดครอง. | เจ้าจอม | ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๑-๕ ซึ่งไม่มีพระราชโอรสพระราชธิดา. | เจ้าจอมมารดา | ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๑-๔ ซึ่งมีพระราชโอรสพระราชธิดา | ช้างเผือก ๒ | น. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง มีที่มาจากตราดาราช้างเผือกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตราพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลช้างเผือก. | ซีป่าย | น. ชื่อกองทหารแบบอังกฤษกองหนึ่งในรัชกาลที่ ๔ เอาแบบมาจากทหารซีปอยของกองทัพอังกฤษในอินเดีย. | ญาณวิทยา | (ยานะวิดทะยา, ยานนะวิดทะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยบ่อเกิด ลักษณะ หน้าที่ ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู้. | ดิเรกคุณาภรณ์ | น. ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-มหาภูมิพลอดุลยเดช มี ๗ ชั้น. | ตรรกศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี. | ทวีธาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อรัชกาลที่ ๕ ทรงครองราชสมบัติยืนนานมาเป็น ๒ เท่าของรัชกาลที่ ๔, เรียกเหรียญที่จัดทำขึ้นเป็นที่ระลึกในพระราชพิธีนี้ ว่า เหรียญทวีธาภิเษก. |
| present reign | รัชกาลปัจจุบัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pretender to the throne | รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political philosophy; philosophy, political | ปรัชญาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political philosophy | ปรัชญาการเมือง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | philosophy, political; political philosophy | ปรัชญาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | philosophy, political | ปรัชญาการเมือง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | philosophy, process | ปรัชญากระบวนการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | philosophy, social | ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | poll tax | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [ ดู capitation tax ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | poll tax | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | process philosophy | ปรัชญากระบวนการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | regnal years | ปีในรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | social philosophy | ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | airbrush | แอร์บรัช [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | A.R. (Anno Regni) | ปีในรัชกาล, เป็นปีที่ ... ในรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | A.R. (Anno Regni) | ปีในรัชกาล, เป็นปีที่ ... ในรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | metaphysical painting | จิตรกรรมแนวอภิปรัชญา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Metaphysical poet | กวีแนวอภิปรัชญา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | metaphysics | อภิปรัชญา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | capitation tax | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [ ดู poll tax ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | capitation tax | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | interregnum | ช่วงว่างระหว่างรัชกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tax, poll; tax, capitation | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tax, poll; tax, capitation | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tax, capitation; tax, poll | ๑. ภาษีรายหัว๒. เงินรัชชูปการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tax, capitation; tax, poll | ภาษีรายหัว, เงินรัชชูปการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | throne, heir to the | รัชทายาท [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | throne, pretender to the | รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Heir Apparent | รัชทายาท [ ดู heir to the throne ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Heir Apparent | รัชทายาท (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | heir to the throne | รัชทายาท [ ดู Heir Apparent ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Heir to the Throne | รัชทายาท, ผู้สืบสันตติวงศ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Women philosophers | นักปรัชญาสตรี [TU Subject Heading] | Alienation (Philosophy) | ความผิดแปลกสภาวะ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Arthurian romances | นิยายรักในรัชสมัยกษัตริย์อาร์เธอร์ [TU Subject Heading] | Authenticity (Philosophy) | ลักษณะของแท้ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Buddhism and philosophy | พุทธศาสนากับปรัชญา [TU Subject Heading] | Buddhist philosophy | พุทธปรัชญา [TU Subject Heading] | Charity | การให้ทาน (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Children and philosophy | เด็กกับปรัชญา [TU Subject Heading] | Comparison (Philosophy) | การเปรียบเทียบ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Constructivism (Philosophy) | ทฤษฎีแนวคิด (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Criticism (Philosophy) | วิจารณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Ideals (Philosophy) | อุดมคติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Identity (Philosophical concept) | เอกลักษณ์ (แง่ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Image (Philosophy) | ภาพลักษณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Individuation (Philosophy) | ปัจเจกบุคคล (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Instinct (Philosophy) | สัญชาตญาณ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Islam and philosophy | ศาสนาอิสลามกับปรัชญา [TU Subject Heading] | Law (Philosophy) | กฎหมาย (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Metaphysics | อภิปรัชญา [TU Subject Heading] | Metaphysics in literature | อภิปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Peace (Philosophy) | สันติภาพ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Philosophers | นักปรัชญา [TU Subject Heading] | Philosophers, Ancient | นักปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading] | Philosophers, Medieval | นักปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading] | Philosophers, Modern | นักปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy | ปรัชญา [TU Subject Heading] | Philosophy and religion | ปรัชญากับศาสนา [TU Subject Heading] | Philosophy and science | ปรัชญากับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Philosophy in literature | ปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Philosophy of mind | ปรัชญาของจิต [TU Subject Heading] | Philosophy of nature | ปรัชญาธรรมชาติ [TU Subject Heading] | Philosophy, Ancient | ปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading] | Philosophy, Asia | ปรัชญาเอเชีย [TU Subject Heading] | Philosophy, Chinese | ปรัชญาจีน [TU Subject Heading] | Philosophy, Comparative | ปรัชญาเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] | Philosophy, English | ปรัชญาอังกฤษ [TU Subject Heading] | Philosophy, French | ปรัชญาฝรั่งเศส [TU Subject Heading] | Philosophy, Greek (Modern) | ปรัชญากรีกสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy, Hindu | ปรัชญาฮินดู [TU Subject Heading] | Philosophy, Indic | ปรัชญาอินเดีย [TU Subject Heading] | Philosophy, Islamic | ปรัชญาอิสลาม [TU Subject Heading] | Philosophy, Medieval | ปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading] | Philosophy, Modern | ปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy, Taoist | ปรัชญาเต๋า [TU Subject Heading] | Philosphy, Confucian | ปรัชญาขงจื้อ [TU Subject Heading] | Philosphy, Thai | ปรัชญาไทย [TU Subject Heading] | Power (Philosophy) | อำนาจ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Practice (Philosophy) | การปฏิบัติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Process philosophy | ปรัชญากระบวนการ [TU Subject Heading] | Self (Philosophy) | อัตตา (ปรัชญา) [TU Subject Heading] |
| อภิปรัชญา | [aphipratyā = aphipratchayā] (n) EN: metaphysics FR: métaphysique [ f ] | แบบรัชกาล | [baēp ratchakān] (n, exp) EN: bureaucratic | คำถามทางปรัชญา | [khamthām thāng pratyā] (n, exp) EN: philosophical questions FR: question philosophique [ f ] | เขื่อนรัชชประภา | [Kheūoen Ratchapraphā] (n, prop) EN: Ratchaprapa Dam | ความคิดปรัชญา | [khwāmkhit pratyā = pratchayā] (n, exp) EN: philosophical thinking FR: pensée philosophique [ f ] | ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์(มหาราช) | [nai ratchasamai Somdēt Phra Nārāi (Mahārāt)] (xp) EN: during the reign of King Narai ; during King Narai's reign | นักปรัชญา | [nakpratyā = nakpratchayā] (n) EN: philosopher FR: philosophe [ m ] | เงินรัชชูปการ | [ngoen ratchūpakān] (n, exp) EN: capitation tax ; head tax ; poll tax | นิติปรัชญา | [nitipratyā = nitipratchayā] (n, exp) EN: philosophy of law | พุทธปรัชญาเถรวาท | [Phutthapratjā thērawāt] (n, exp) EN: Theravada Buddhist Philosophy | ปรัชญา | [pratyā = pratchayā] (n) EN: philosophy ; gnosis ; prajna FR: philosophie [ f ] ; gnose [ f ] | ปรัชญาอเมริกัน | [pratyā Amērikan] (n, exp) EN: American Philosophy FR: philosophie américaine [ f ] | ปรัชญาแห่งชีวิต | [pratyā haeng chīwit] (n, exp) EN: philosophy of life FR: philosophie de l'existence [ f ] | ปรัชญาอินเดีย | [pratyā Indīa] (n, exp) EN: Indian Philosophy FR: philosophie indienne [ f ] | ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ | [pratyā Indīa samai bōrān] (n, exp) EN: Ancient Indian Philosophy | ปรัชญาจีน | [pratyā Jīn] (n, exp) EN: Chinese Philosophy FR: philosophie chinoise [ f ] | ปรัชญาการเมือง | [pratyā kānmeūang] (n, exp) EN: political philosophy FR: philosophie politique [ f ] | ปรัชญากรีก | [pratyā Krīk] (n, exp) EN: Greek Philosphy FR: philosophie grecque [ f ] | ปรัชญาเมธี | [pratyāmēthī = pratchayāmēthī] (n) EN: philosopher FR: philosophe [ m ] | ปรัชญาภาษา | [pratyā phāsā] (n, exp) EN: philosophy of language FR: philosophie du langage [ f ] | ปรัชญาสตรี | [pratyā sattrī] (n, exp) EN: philosophy of women | ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง | [pratyā sētthakit phøphīeng = pratchayā sētthakit phøphīeng] (n, exp) EN: sufficiency economy philosophy | ปรัชญาญี่ปุ่น | [pratyā Yīpun] (n, exp) EN: Japanese Philosophy FR: philosophie japonaise [ f ] | ปรัชญาตะวันตก | [prawat pratyā Tawan-tok] (n, exp) EN: history of Western Philosophy FR: histoire de la philosophie occidentale [ f ] | รัช | [rat] (n) EN: kingdom ; throne ; kingship FR: royaume [ m ] ; royauté [ f ] | รัชดาภิเษก | [Rātchadāphisēk] (n, prop) EN: Ratchadaphisek FR: Ratchadaphisek | รัชกาล | [ratchakān] (n) EN: reign FR: règne [ m ] | รัชกาลที่ห้า | [Ratchakān thī hā] (n, prop) EN: Rama V (King) FR: Rama V (roi) [ m ] | รัชกาลที่หก | [Ratchakān thī hok] (n, prop) EN: Rama VI (King) FR: Rama VI (roi) [ m ] | รัชกาลที่เจ็ด | [Ratchakān thī jet] (n, prop) EN: Rama VII (King) FR: Rama VII (roi) [ m ] | รัชกาลที่เก้า | [Ratchakān thī kao] (n, prop) EN: Rama IX (King) FR: Rama IX (roi) [ m ] | รัชกาลที่หนึ่ง | [Ratchakān thī neung] (n, prop) EN: Rama I (King) FR: Rama I (roi) [ m ] | รัชกาลที่แปด | [Ratchakān thī paēt] (n, prop) EN: Rama VIII (King) FR: Rama VIII (roi) [ m ] | รัชกาลที่สาม | [Ratchakān thī sām] (n, prop) EN: Rama III (King) FR: Rama III (roi) [ m ] | รัชกาลที่สี่ | [Ratchakān thī sī] (n, prop) EN: Rama IV (King) FR: Rama IV (roi) [ m ] | รัชกาลที่สอง | [Ratchakān thī søng] (n, prop) EN: Rama II (King) FR: Rama II (roi) [ m ] | รัชสมัย | [ratchasamai] (n) EN: reign FR: règne [ m ] | รัชทายาท | [ratchathāyāt] (n) EN: heir to the throne ; royal heir | รัชชูปการ | [ratchūpakān] (n) EN: capitation |
| homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
| doctrine | (n) ทฤษฎี, See also: หลักการ, ปรัชญา, คำสอนทางศาสนา, Syn. philosophy, religious doctrine | ens | (n) การมีตัวตน (ทางปรัชญาป, See also: เอกลักษณ์, Syn. existence | entity | (n) เอกลักษณ์ (ทางปรัชญา), Syn. existence | epistemology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีของธรรมชาติและความรู้, See also: ปรัชญาวิทยาแขนงหนึ่ง | esthetics | (n) สุนทรียศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสวยความงาม, Syn. aestheticism, aesthetics | etiology | (n) การศึกษาทางปรัชญาที่เกี่ยวกับสาเหตุและต้นกำเนิด, Syn. aetiology | intellectualism | (n) ความเชื่อที่ว่าความรู้มาจากการคิดอย่างมีเหตุผล (ทางปรัชญา) | liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ | metaphysical | (adj) เกี่ยวกับอภิปรัชญา, Syn. mystical, spiritual, transcendental | metaphysically | (adv) ทางอภิปรัชญา | metaphysics | (n) อภิปรัชญา, Syn. epistemology, ontology, cosmology | philosopher | (n) นักปราชญ์, See also: นักปรัชญา, ปราชญ์, Syn. guru, sage, thinker | philosophical | (adj) เกี่ยวกับปรัชญา, See also: ซึ่งยึดหลักปรัชญา, Syn. esoteric | philosophically | (adv) โดยยึดหลักปรัชญา | philosophy | (n) หลักปรัชญา, See also: หลักความจริงของชีวิต, Syn. axiom, truth | philosophy | (n) วิชาปรัชญา | Plato | (n) นักปรัชญาชาวกรีก (ช่วง 427 -347 ปีก่อนคริสตกาล) | Platonic | (adj) เกี่ยวกับเพลโต, See also: เกี่ยวกับปรัชญาของเพลโต | Prince of Wales | (n) มงกุฎราชกุมารของประเทศอังกฤษ, See also: เจ้าชายองค์โตที่เป็นรัชทายาทของประเทศอังกฤษ | reign | (n) รัชกาล, See also: รัชสมัย, แผ่นดิน, การครองราชย์, Syn. era, dynasty, governnance | stoic | (n) ผู้นับถือปรัชญาของ Stoic | stoicism | (n) การนับถือปรัชญาของ Stoic | theosophy | (n) ความคิดด้านปรัชญาหรือศาสนาที่ยึดหลักเทววิทยา, See also: เทวหลักการ, Syn. spiritualism | thinker | (n) นักคิด, See also: นักปรัชญา, Syn. sage, intellectual, savant, philosopher | yang | (n) หลักปรัชญาจีน (หยาง) | yoga | (n) ปรัชญาศาสนาฮินดูที่สอนให้ควบคุมจิตใจและร่างกาย |
| absolute idealism | ปรัชญาที่เกี่ยวกับ absolute idea -absolute idealist n. | academism | (อะแคค' ดิมิสซึม) n. academicism. สำนักปรัชญาที่ก่อตั้งโดย | academy | (อะแคด' ดิมี) โรงเรียน, สำนัก, สภา, สถาบันการศึกษา, กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ, สำนักปัญญาปรัชญาของ Plato, วิทยสถาน, Syn. school | aristotelianism | (อะริสโทเทล'เยินนิสซึม) n. ปรัชญาคำสอนของอริสโตเติล | axiology | (แอคซิออล'โลจี) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับคุณค่าต่าง ๆ ศีลธรรมจรรยา ความสวยงามและศาสนา. -axiological adj. -axiologist n. (branch of philosophy) | brush | (บรัช) { brushed, brushing, brushes } n. แปรง, พู่กัน, หนวดเครารุงรัง, หางหยาบใหญ่ ของสัตว์ (เช่นสุนัขจิ้งจอก) , การเผชิญหน้ากับ, พุ่มไม้หนา, ส่วนที่เป็นพู่ -v. ปัด, ทา, กวาดด้วยแปรง, สัมผัสเบา -Phr. (brush aside ไม่สนใจ, กวาดล้าง) -Phr. (brush away ปัดออก, แปรงออก) -S.broo | byelorussia | (ไบเอลโลรัช'เชีย) n. แคว้นหนึ่งของรัสเซียทางด้านตะวันตก. -S.Belorussia | crush | (ครัช) { crushed, crushing, crushes } n. ทำให้แตก, ขยี้, บี้, คั้น, บด, เหยียบ, กำจัด, ทำลาย, ทำให้โศกเศร้า. n. การขยี้ (บี้คั้น, บด, กำจัด, ทำลาย, ทำให้โศกเศร้า) ฝูงชนที่แน่นขนัด, ความหลงใหลอย่างมาก, สิ่งที่หลงไหลอย่างมาก, น้ำผลไม้คั้น, Syn. smash | crushing | (ครัช'ชิง) adj. ซึ่งทำให้แตก, ซึ่งบดขยี้, ซึ่งทำให้สยบ, เด็ดขาด, ซึ่งชี้ขาด | inrush | (อิน'รัช) n. การไหลเข้า, การไหลบ่า, การไหลพุ่งเข้าไป., See also: inrushing n., adj. | juniorate | (จูน'ยะเรท) n. หลักสูตรปรัชญา2ปี | metaphysics | (เมททะฟิซ'ซิคซฺ) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับความจริงในธรรมชาติ, ปรัชญา (โดยเฉพาะในสาขาต่าง ๆ ที่เข้าใจได้ยาก) | mode | (โมด) n. วิธีการ, แบบ, ลักษณะการกระทำ (เกี่ยวกับปรัชญาKant) , ความเป็นจริงหรือการเป็นอยู่หรือความเป็นไปได้, แบบนิยม, แฟชั่น, สมัยนิยม | moment | (โม'เมินทฺ) n. ขณะนั้น, ชั่วครู่, ขณะ, ความสำคัญ, ความสำคัญของขณะนั้น, โอกาส, ผลที่ตามมา, ลักษณะของสิ่งของ (ปรัชญา), Syn. minute, weight, Ant. triviality | momentum | (โมเมน'ทัม) n. แรงแห่งการเคลื่อนที่, แรงกระตุ้น, แรงผลักดัน, ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือระบบที่เท่ากับผลคูณของมวลของวัตถุกับความเร็วของมัน;P; (ปรัชญา) ลักษณะของสิ่งของ pl. momenta, momentums, Syn. movement, motion, impulse, Ant. inerti | nailbrush | (เนล'บรัช) n. แปรงขัดเล็บ | paintbrush | (เพน'ทบรัช) n. แปรงทาสี | pascal | ปาสกาลเป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่นิยมใช้กันมากพอสมควร มักใช้ในการสอนวิชามโนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ผู้คิดภาษานี้ชื่อ Niklaus Wirth แต่ตั้งชื่อภาษาตามชื่อของนักคณิตปรัชญาคนสำคัญคนหนึ่งคือ Blaise Pascalดู high level language ประกอบ | ph d | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) | ph. d. | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) | philosopher | (ฟิลิส'ซะเฟอะ) n. นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ปราชญ์, ผู้รู้หลักธรรม, ผู้ที่ปลงตก, ผู้เล่นแปรธาตุ, ผู้มีใจเยือกเย็น ไม่สะทกสะท้านต่อภยันตราย, ผู้เล่นแปรธาตุ ุ, See also: philosophership n. | philosophic | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น | philosophical | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น | philosophy | (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา, ระบบปรัชญา, หลักปรัชญา, ระบบหลักการ, สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์, วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) , ธรรมะ, วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จริยศาสตร์, ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ | plato | (เพล'โท) n. นักปรัชญาชาวกรีก (เมื่อ427-347ปีก่อนคริสตกาล) | property | (พรอพ'เพอที) n. ทรัพย์สิน, ทรัพย์สมบัติ, สมบัติ, ที่ดิน, สิทธิครอบครอง, กรรมสิทธิ์, (ปรัชญา) , ลักษณะที่ไม่สำคัญ, (ละคร) เครื่องประ-ดับหรืออุปกรณ์, Syn. possessions, holding, attibute, trait, feature | rousseau | (รูโซ') n. Jean Jacques (ค.ศ.1712-78) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส | rush | (รัช) vi., n. (การ) วิ่ง, วิ่งเข้าไป, วิ่งแร่, พุ่ง, พรวดพราด, ถลัน, เร่ง, รีบเร่ง, ผลัก, ไส, ปรากฎขึ้นฉับพลัน vt. กระทำอย่างเร่งรีบ, เร่งรีบ, กรูกันไป, ยื้อแย่ง, แย่งซื้อ adj. เร่งรีบฉุกละหุก, พรวดพราด, กุลีกุจอ, See also: rushingly adv. | socrates | (ซอค'ระทีซ) n. (399-469 ปีมาก่อนคริสตกาล) นักปรัชญาชาวกรีก, See also: Socratic adj. | sophist | (ซอฟ'ฟิสทฺ) n. (ประวัติศาสตร์กรีก) ชนชั้นอาจารย์ปรัชญาและศิลปะการพูด | stoic | (สโท'อิค) adj. เกี่ยวกับหลักการขจัดตัณหาราคะ, ปลงตก, stoic, =stoical (ดู) . n. สมาชิกหรือผู้ยึดถือหลักปรัชญาของสำนักหลักปรัชญาดังกล่าว, , See also: stoic n. ผู้ปฎิบัติตามหลักปรัชญาดังกล่าว | subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, | subsist | (ซับซิสทฺ') vi. มีอยู่, ยังชีพ, ยังอยู่, อยู่รอด, ประทังชีพ, ดำรงชีพ, (ปรัชญา) ดำรงอยู่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด., Syn. exist, love, be, occur, endure | subsistent | (ซัยซิส'เทินทฺ) adj. มีอยู่, ยังชีพ, อยู่รอด, ดำรงชีพ, ประทังชีพ, ฝังติด, ประจำตัว n. (ปรัชญา) สิ่งที่มีอยู่หรือเป็นของจริง | thrush | (ธรัช) n. นกเล็กร้องเพราะจำพวกหนึ่งในตระกูล Turdidae, นักร้องหญิงอาชีพ, โรคเชื้อราที่ปากหรือลำคอ | tooth brush | (ทูธ'บรัช) n. แปรงสีฟัน | universal | (ยูนิเวอ'เซิล) adj. สากล, เกี่ยวกับจักรวาล, ทั้งหมด, ทั่วไป, มีผลทั่วไป, ทุกหนทุกแห่ง, ทั้งมวล, n. (ปรัชญา) ข้อเสนอสำหรับทุกชนชั้น, มโนธรรมทั่วไป, ลักษณะเฉพาะทั่วไป, ข้อต่ออเนกประสงค์ (หรือuniversal joint) ., See also: universalness n. | yin and yang | (ยิน แอนด์ แยง) n. (หลักปรัชญาและศาสนาในจีน) หลักการตรงกันข้ามสองอย่าง/ลบปรือบวก/มืดหรือสว่างเป็นต้น | yoga | (โย'กะ) n. (ปรัชญาอินเดีย) โยคะ -Yogic adj. -Yogism n. |
| capitation | (n) รัชชูปการ | HEIR heir apparent | (n) ทายาทที่แท้จริง, รัชทายาท | heir | (n) รัชทายาท, ทายาท, ผู้สืบทอด, ผู้รับมรดก, ผู้รับช่วง | inheritor | (n) ทายาท, ผู้สืบทอด, รัชทายาท | kingship | (n) ความเป็นพระเจ้าแผ่นดิน, ความเป็นกษัตริย์, รัชสมัย | metaphysical | (adj) เกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ | metaphysics | (n) ปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ | philosopher | (n) นักปราชญ์, นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ผู้เล่นแร่แปรธาตุ | philosophic | (adj) เกี่ยวกับปรัชญา, ที่ยึดหลักปรัชญา, ซึ่งปลงตก, ไม่ดิ้นรน | philosophize | (vi) คิดอย่างปรัชญาเมธี, ปลงตก, ยึดหลักปรัชญา, ศึกษาธรรมะ | philosophy | (n) ปรัชญา, จริยศาสตร์, ธรรมะ | POLL poll tax | (n) ภาษีรายหัว, ภาษีรัชชูปการ | reign | (n) รัชกาล, รัชสมัย, ความยิ่งใหญ่, อำนาจการปกครอง |
| acatalepsy | (n) แนวคิดทางปรัชญาที่ว่าความรู้ของมนุษย์ไม่เคยมีความแน่นอน | Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) | father's day | [ฟาเธอร์ส เดย์] (n) วันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลมหาราช รัชกาลที่ 9 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี ถือเป็นวันพ่อแห่งชาติด้วย, See also: A. Mother's Day, HM the Queen Sirikit's Birthday, Syn. HM the King Bhumipol's Birthday | LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน |
| 哲学 | [てつがく, tetsugaku] ปรัชญา |
| 平成 | [へいせい, heisei] TH: รัชสมัยเฮเซ เริ่มตั้งแต่ปีคศ.1989 |
| Philosophie | (n) |die, pl. Philosophien| ปรัชญา เช่น Unsere Philosophie lautet: Kunden sind König. ปรัชญาของเราคือ ลูกค้าเป็นพระเจ้า (แปลตรงๆ คือ ลูกค้าคือพระมหากษัตริย์) | Pragmatismus | (n) |der, nur Sg.| ปฏิบัตินิยม, หลักการหรือปรัชญาที่ว่าผลของการปฏิบัติเป็นแกนหรือความหมายของความรู้ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |