ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ประโยค, -ประโยค- |
though | (conj) แต่ (ในกรณีที่นำไปใส่ไว้ท้ายประโยคนั้นๆจะเทียบเท่ากับมีคำว่า"แต่"อยู่หน้าประโยคนั้นๆ) |
|
| | | แถะ | คำเน้นท้ายคำที่ทำให้ประโยคดูเด่นขึ้น เช่น หิวแถะๆ แปลว่า หิวจังเลย *หมายเหตุ ภาษาโคราช |
| 毕竟 | [bì jìng, ㄅㄧˋ ㄐㄧㄥˋ, 毕 竟] เป็นคำที่ใช้เน้นความหมายของประโยคที่ว่า ไม่ว่าจะยังไงเหตุการณ์ก็จะไม่เปลี่ยนแปลง |
| ประโยค | (n) grade in Buddhist theology, See also: class, level, Example: ปีนี้มีพระภิกษุสามเณรสอบไล่ได้เปรียญ 9 ประโยคถึง 23 รูป, Count Unit: ประโยค, Thai Definition: ชั้นแห่งความรู้ภาษาบาลี | ประโยค | (n) sentence, See also: clause, Example: ถ้าเรียนหลักภาษาก็อาจวิเคราะห์ประโยคได้ว่าส่วนใดเป็นภาคประธาน ส่วนใดเป็นภาคแสดง, Count Unit: ประโยค, Thai Definition: คำพูดหรือข้อความที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ | อนุประโยค | (n) subordinate clause, Syn. ประโยคย่อย | มุขยประโยค | (n) main clause, See also: principle clause of a sentence, Count Unit: ประโยค, Thai Definition: ชื่อประโยคในตำราไวยากรณ์ ได้แก่ ประโยคที่มีประโยคอื่นแฝงอยู่ด้วย | ประโยคคำถาม | (n) interrogative sentence, See also: question, Example: ในภาษาอังกฤษประโยคคำถามต้องแสดงโดยการกลับลำดับคำ | คุณานุประโยค | (n) adjective clause, Thai Definition: อนุประโยคที่ทำหน้าที่ประกอบคำนามหรือคำสรรพนาม ทำหน้าที่เหมือนคำคุณศัพท์ | นามานุประโยค | (n) noun clause, Thai Definition: อนุประโยคที่ทำหน้าที่คล้ายกับนาม อาจเป็นประธาน กรรม หรือขยายก็ได้ | ประโยคปฏิเสธ | (n) negative sentence, Example: ประโยคบอกเล่าในภาษาไทยเปลี่ยนเป็นประโยคปฏิเสธได้โดยการเติมคำว่า ไม่ หน้าคำกริยา | เอกรรถประโยค | (n) simple sentence, Syn. เอกัตถประโยค, ประโยคความเดียว, Ant. อเนกรรถประโยค, Count Unit: ประโยค, Thai Definition: ประโยคที่มีเนื้อความเดียว มีบทกริยาสำคัญเพียงบทเดียว | การแต่งประโยค | (n) composition, See also: construction, Example: วันนี้อาจารย์สอนการแต่งประโยคภาษาอังกฤษต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว, Thai Definition: การเรียบเรียงประโยค | ประโยคบอกเล่า | (n) affirmative sentence, Example: เรื่องดังกล่าวผู้แต่งเริ่มเรื่องด้วยประโยคบอกเล่า, Thai Definition: รูปประโยคชนิดแสดงเนื้อหา | กริยาวิเศษณานุประโยค | (n) adverbial clause, Thai Definition: อนุประโยคที่ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ในประโยคความรวม |
| กริยาวิเศษณานุประโยค | (-วิเสสะนานุปฺระโหฺยก) น. อนุประโยคที่ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ในสังกรประโยค, ประโยควิเศษณ์ ก็ว่า. | ประโยค | (ปฺระโหฺยก) น. คำพูดหรือข้อความที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่ง ๆ เช่น ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม | ประโยค | ชั้นแห่งความรู้ภาษาบาลี เช่น เปรียญ ๓ ประโยค สอบได้ประโยค ๓ | ประโยค | ความเพียรเครื่องประกอบ, ความเพียร เช่น ประโยคสัมปทา หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความเพียร. | ประโยคประธาน | น. หลักไวยากรณ์, หลัก. | ประโยควิเศษณ์ | น. กริยาวิเศษณานุประโยค. | มุขยประโยค | น. ชื่อประโยคในตำราไวยากรณ์ได้แก่ ประโยคที่มีประโยคอื่นเป็นส่วนขยาย. | วิปโยค, วิประโยค | (วิบปะโยก, วิปฺระโยก) น. ความพลัดพราก, ความกระจัดกระจาย, ความจากกัน. | วิปโยค, วิประโยค | (วิบปะโยก, วิปฺระโยก) ว. เศร้าโศก เช่น วันวิปโยค แม่น้ำวิปโยค. | สังกรประโยค | (สังกะระปฺระโหฺยก, สังกอระปฺระโหฺยก) น. ประโยคใหญ่ที่มีประโยคเล็กตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยมีประโยคหลักที่มีใจความสำคัญเพียงประโยคเดียว ส่วนประโยคเล็กทำหน้าที่แต่งหรือประกอบประโยคหลัก. | อนุประโยค | น. ประโยคเล็กที่ทำหน้าที่แต่งมุขยประโยคให้ได้ความดีขึ้น แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ นามานุประโยค คุณานุประโยค และวิเศษณานุประโยค. | อเนกรรถประโยค | (อะเนกัดถะปฺระโหฺยก) น. ประโยคใหญ่ที่มีใจความสำคัญอย่างน้อย ๒ ใจความมารวมกัน และใจความนั้น ๆ จะต้องมีลักษณะเป็นประโยคโดยมีสันธานเป็นบทเชื่อมหรือละสันธานไว้ในฐานที่เข้าใจ. | เอกรรถประโยค | (เอกัดถะ-) น. ประโยคที่มีเนื้อความเดียว มีบทกริยาสำคัญเพียงบทเดียว. | เอกรรถประโยค | ดู เอก, เอก-. | กรรตุการก | (กัดตุ-, กันตุ-) น. ผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๒ ส่วนของประโยคที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น เด็กวิ่ง เด็ก เป็น กรรตุการก หรือเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ตำรวจ เป็น กรรตุการก. | กรรตุวาจก | (กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ). | กรรมการก | (กำมะ-) น. ผู้ถูกทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ผู้ร้าย เป็น กรรมการก, ถ้าต้องการให้ผู้ถูกทำเด่น ก็เรียงเป็นภาคประธานของประโยค เช่น ผู้ร้ายถูกตำรวจยิง. | กรรมวาจก | (กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก. | กระมัง ๑ | ว. คำแสดงความไม่แน่ใจ, คำแสดงความคาดคะเน, (ใช้ไว้ท้ายประโยค) เช่น เป็นเช่นนี้กระมัง, ในบทกลอนใช้ว่า กระหมั่ง ก็มี. | ก่อน | สัน. ใช้นำหน้าประโยคเพื่อบอกเวลา หมายความว่า ยังไม่ถึงเวลานั้น เช่น คุณต้องเอารถไปคืนก่อนเขาตื่น. | การก | (กา-รก) ก. กริยาที่ทำหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก. | การิตการก | (การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน. | การิตวาจก | (การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน. | ขยี้ ๒ | น. วิธีบรรเลงดนตรีโดยเพิ่มพยางค์ในประโยคเพลงให้มากขึ้นกว่าการบรรเลงปรกติ ทำได้ ๒ วิธี คือ เพิ่มโดยเติมพยางค์ก่อนจะถึงลูกตกท้ายประโยค หรือเพิ่มโดยการบรรเลงประโยคนั้นให้เร็วขึ้นเป็นหลายครั้งในเวลาเท่ากับการบรรเลงเดิม. | ข้องแวะ | ก. ติดต่อ, เอาใจใส่, เกี่ยวพัน, เกี่ยวข้อง, มักใช้ในประโยคที่มีความหมายเป็นเชิงถามหรือปฏิเสธ. | ซิ, ซิ่, ซี | คำประกอบท้ายประโยคเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำเป็นต้น เช่น ไปซิ มาซิ ไปซิ่ มาซิ่ ไปซี มาซี, สิ ก็ว่า. | ดาย | โดด, เดี่ยว, เลย, ถ่ายเดียว, (มักใช้ในที่สุดประโยค). | ตามที่จริง | สัน. คำขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร, ที่จริง หรือ อันที่จริง ก็ว่า. | ตาย ๒ | ว. คำประกอบท้ายประโยคหมายความว่า แย่, เต็มที, ยิ่งนัก, เช่น ร้อนจะตาย, คำเปล่งเสียงแสดงความตกใจหรือประหลาดใจเป็นต้น เช่น อุ๊ยตาย ตายแล้ว. | ถูก ๑ | เป็นกริยาช่วยแสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้ถูกทำ (มักใช้ในข้อความที่ทำให้ผู้ถูกทำเดือดร้อนหรือไม่พอใจ) เช่น ถูกเฆี่ยน ถูกลงโทษ. | ทันกิน | ก. คิดหรือทำการใด ๆ ทันท่วงที (โดยปรกติใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ทำการงานช้าไม่ทันกิน มัวงุ่มง่ามอยู่อย่างนี้ไม่ทันกิน. | ที่จริง | ว. จริง, แท้, แน่นอน. สัน. คำขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร, อันที่จริง หรือ ตามที่จริง ก็ว่า. | แท้ที่จริง | ว. คำขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร มีความหมายอย่างเดียวกับ ที่จริง อันที่จริง ตามที่จริง. | นำพา | ก. เอาใจใส่, เอื้อเฟื้อ, ช่วยธุระ, ใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ไม่นำพา. | นิตยภัต | น. อาหารหรือค่าอาหารที่ถวายภิกษุสามเณรเป็นนิตย์, เงินงบประมาณแผ่นดินที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลเป็นประจำทุกปี เพื่อเบิกจ่ายถวายอุดหนุนอุปถัมภ์แก่พระภิกษุผู้ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ พระสังฆาธิการ พระเลขานุการ พระเปรียญธรรม ๙ ประโยค เป็นต้น. | ประพจน์ | ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธซึ่งเป็นข้อความจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น จะมีความหมายกำกวมไม่ได้. (อ. proposition). | ประสีประสา | น. วิสัย, เรื่องราว, ความเป็นไป, ความหมาย, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ไม่รู้ประสีประสา. | เป็นอันขาด | ว. ใช้ในประโยคปฏิเสธ หมายความว่า แน่นอน, แน่แท้. | เปรียญ | (ปะเรียน) น. ผู้สอบความรู้พระปริยัติธรรมสายบาลีได้ตามหลักสูตรตั้งแต่ ๓ ประโยคขึ้นไป. | ผูก | ก. เอาเชือกเป็นต้นสอดคล้องกันให้เกิดเป็นเงื่อน เพื่อทำให้มั่นหรือติดต่อกันในตัวหรือกับสิ่งอื่น เช่น ผูกเชือก ผูกลวด ผูกโบ, ติดต่อหรือติดพันกันแน่นกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ผูกใจ ผูกโกรธ ผูกมิตร, ประกอบเข้า เช่น ผูกประโยค ผูกปริศนา ผูกลาย, ติดพันกันด้วยเรื่องสิทธิและหน้าที่ตามที่ตกลงกัน เช่น ผูกตลาด ผูกท่า | พยติเรก | ในไวยากรณ์ใช้เป็นชื่อประโยคใหญ่ที่แสดงเนื้อความแย้งกัน | พัดยศ | น. พัดพิเศษที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ภิกษุสามเณรที่สอบเปรียญธรรมได้ตั้งแต่ ๓ ประโยคขึ้นไป หรือแก่พระภิกษุที่มีความรู้ ความสามารถในการศึกษา การบริหาร หรือการเผยแผ่พระศาสนา เป็นต้น เป็นเครื่องหมายแสดงลำดับชั้นแห่งสมณศักดิ์ มีรูปและชื่อต่าง ๆ กัน คือ พัดหน้านาง พัดพุดตาน พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์. | พัดหน้านาง | น. พัดยศเปรียญหรือพระครูฐานานุกรมบางชั้นที่ต่ำกว่าพระครูวินัยธรและพระครูธรรมธร มีลักษณะกลมอย่างหน้านาง ด้านบนกลมมนโตกว่าด้านล่าง พื้นทำด้วยสักหลาด กำมะหยี่ อัตลัดสีต่าง ๆ ปักลวดลายต่างกันตามชั้นแห่งสมณศักดิ์, ถ้าเป็นพัดเปรียญ ๙ ประโยค พื้นทำด้วยตาดทอง. | ภาษามีวิภัตติปัจจัย | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. | มหา ๒ | น. สมณศักดิ์ที่ใช้นำหน้าชื่อภิกษุผู้ที่สอบไล่ได้ตั้งแต่เปรียญธรรม ๓ ประโยคขึ้นไป. | ยะ ๒ | ว. คำออกเสียงลงท้ายวลีหรือประโยค ถือว่าไม่สุภาพ เช่น ของกินนะยะ ของถวายพระนะยะ จะรีบไปไหนยะ. | ยัก ๒ | ว. คำประกอบกริยาในประโยคปฏิเสธแสดงความผิดคาด เช่น ไม่ยักจริง ว่าจะมาแล้วไม่ยักมา. | ยัง | คำช่วยกริยาในประโยคคำถามปฏิเสธหรือประโยคปฏิเสธ โดยละกริยานั้นไว้ให้เข้าใจเอาเอง เช่น ถามว่า จะไปหรือยัง ตอบว่า ยัง, ถ้าใช้นำหน้าคำกริยาเข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า กริยานั้นกำลังกระทำอยู่ เช่น เขายังกินอยู่ เขายังนอนอยู่, ถ้าใช้นำหน้าคำวิเศษณ์เข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า ยังอยู่ในภาวะนั้น เช่น ยังเด็กอยู่ ยังสาวอยู่ ยังเช้าอยู่, ใช้ประกอบคำกริยาเชิงปฏิเสธที่เริ่มหรือกำหนดไว้แล้ว แต่ยังไม่เสร็จสิ้นลงไป เช่น ป่านนี้ยังไม่มา ทั้ง ๆ ที่น่าจะมาแล้ว, ใช้เข้าคู่กับคำอื่นเพื่อเชื่อมประโยคหน้ากับประโยคหลังที่มีข้อความในลักษณะคล้ายคลึงกันให้เนื่องกัน เช่น นอกจากโง่แล้วยังหยิ่งอีกด้วย นอกจากสวยแล้วยังรวยอีกด้วย. | ยางอาย | น. ความกระดาก, ความละอายใจ, มักใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ไม่มียางอาย. | แยแส | ก. เอาเป็นธุระ, เกี่ยวข้อง, สนใจ, เอาใจใส่, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น เขาไม่แยแสว่าใครจะคิดอย่างไร. |
| | Parsing (Computer grammar)) | การแจกแจงรูปประโยค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Proposition (Logic) | ประโยคตรรกศาสตร์ [TU Subject Heading] | Sentence particles | คำช่วยประโยค [TU Subject Heading] | Sentences | ประโยค [TU Subject Heading] | Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] | Babcock Sentences, Modified | การทดสอบประโยคแบบแบบคอคดัดแปลง [การแพทย์] | quantifier | ตัวบ่งปริมาณ, ข้อความที่บอกปริมาณ เช่น ประโยค "สำหรับ x ทุกตัว ถ้า x เป็นจำนวนเต็มแล้ว x เป็นจำนวนจริง" ข้อความ "สำหรับ x ทุกตัว " เป็นตัวบ่งปริมาณ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | proposition [ statement ] | ประพจน์, ข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยอาจอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | open sentence | ประโยคเปิด, ประโยคที่มีตัวแปร 1 ตัว หรือมากกว่านั้น แต่ไม่สามารถบอกได้ว่า ประโยคนี้มีค่าความจริง เป็นจริงหรือเป็นเท็จ เช่น x>2 ไม่สามารถบอกได้ว่าประโยคนี้เป็นจริงหรือเท็จ ถ้าแทน x ด้วย 3 ประโยคนี้เป็นจริง ถ้าแทน x ด้วย 0 ประโยคนี้เป็นเท็จ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | equation | สมการ, ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมายเท่ากับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | inequality | การไม่เท่ากัน [ อสมการ ], ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมาย > , < , หรือ ≠ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | proportion | สัดส่วน, ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน เรียกว่า สัดส่วน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| I sentence you to life imprisonment... and I instruct that you shall serve... a minimum of 30 years. | ประโยคที่ผมคุณ ให้จำคุกตลอดชีวิต ... และผมสั่ง ที่คุณจะให้บริการ ... ขั้นต่ำ 30 ปี In the Name of the Father (1993) | Gerry Conlon, lifer, 30-year sentence. | Gerry Conlon, lifer, 30 ปีประโยค In the Name of the Father (1993) | "a sentence I would have no difficulty in passing in this case." | ประโยคที่ผมจะมีความยากลำบากไม่มี ในการผ่านในกรณีนี? In the Name of the Father (1993) | I hereby order you to serve two life sentences, back to back. | ข้าพเจ้าขอสั่งให้คุณสามารถให้บริการสองชีวิตประโยคหลัง The Shawshank Redemption (1994) | And by the way, add a life term to my sentence"? | และโดยวิธีการเพิ่มระยะชีวิตประโยคของฉัน "? The Shawshank Redemption (1994) | The judge sentenced them to three years in prison, but suspended the sentence. | ผู้พิพากษาตัดสินจำคุกพวกเขาถึงสามปีในคุก แต่ระงับประโยค The Godfather (1972) | Suspended the sentence! | ระงับประโยค! The Godfather (1972) | He was convinced that the tastiest faeces were those of women who had just heard the sentence of death | เขาเชื่อว่า the tastiest faeces ... ...คือเหล่านั้นของผู้ซึ่งผู้หญิงมี just heard ประโยคของความตาย Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | The sentences reflected its righteous wrath. | ประโยคนี้สะท้อนถึ- งความโกรธที่ชอบธรรม Idemo dalje (1982) | "To death" was the most frequent sentence. | "ถึงตาย" เป็นประโยคที่ใช้บ่อยที่สุด Idemo dalje (1982) | It's not something that I can explain with just a few sentences. | ข้าไม่สามารถบอกทั้งหมดให้เจ้าเข้าใจได้ ในไม่กี่ประโยค. Return of the Condor Heroes (1983) | It was the "please" that caught my memory. | นั่นเป็นประโยคที่ติดตรึงใจหม่อมฉัน The Princess Bride (1987) | Do you know there's another sentence construction aside from the question? | พระองค์รู้ไหมว่ามีคำพูดแบบอื่น ที่ไม่ใช่ประโยคคำถามด้วยนะ Seven Years in Tibet (1997) | That's not a sentence. It's a preposition and a continent. | นั่นไม่ใช่ประโยคนี่ แค่คำเชื่อม และก็ชื่อทวีป The Story of Us (1999) | I crossed out your period and made a sentence. | เปล่า ฉันขีดจุดจบออก แล้วก็ทำให้มันเป็นประโยค The Story of Us (1999) | Come on, we only had a couple of sentences to go. | ไม่เอาน่า เราได้แค่ ประโยคสองประโยคเอง The Story of Us (1999) | That last part was a joke. | ประโยคสุดท้ายนั่นผมพูดเล่น Unbreakable (2000) | I told you, the line where you say, "Before what?" | ผมเคยบอกคุณไปแล้ว ตรงประโยคที่ว่า ก่อนอะไรเหรอ Mulholland Dr. (2001) | Okay, now. I want you all to copy down this sentence. | เอาล่ะ ครูอยากให้พวกเธอเขียน ประโยคนี้ตามครูนะ Frailty (2001) | Besides, between the abysmal sentence structure... and generous use of obscenities I've got a pretty good idea of who's been sending it. | นอกจากนี้, พวกประโยคโครงสร้างที่ซับซ้อน... แล้วก็ยังพวกคำกว้างๆ ที่ไม่ละเอียดพวกนี้อีก ...ฉันว่าฉันพอจะรู้ว่าใครเป็นคนส่งของพวกนี้มา Hothead (2001) | I think we should do what you always say: Rise above our emotions with maturity. | ฉันว่าเราต้องทำตามประโยคที่คุณพูดบ่อยๆ ว่า "หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ด้วยความเป็นผู้ใหญ่" Hope Springs (2003) | I was touched by this last sentence | ชั้นติดใจกับประโยคสุดท้าย Oldboy (2003) | The mail from Mikako had only two sentences, and the rest was just noise. | ข้อความจากมิกาโกะ มีเพียงสองประโยคเท่านั้น และส่วนที่เหลือนั้นมันขาดหายไป Hoshi no koe (2002) | And I'm like taken aback by this. | ผมถึงกับผงะเมื่อได้ยินประโยคนี้ The Corporation (2003) | Seven years later the U.S. Patent office issued a one sentence decree you can patent anything in the world that's alive except a full birth human being. | 7 ปีต่อมา สำนักงานสิทธิบัตรสหรัฐฯ ออกกฤษฎีกาประโยคเดียวว่า คุณสามารถจดสิทธิบัตรอะไรก็ได้ในโลกที่มีชีวิต The Corporation (2003) | I've heard this speech before. | ชั้นเคยได้ยินประโยคแบบนี้มาก่อน AVP: Alien vs. Predator (2004) | - That's what it looks like. - "You may choose to enter." | นั้นดูเหมือนกับประโยคว่า คุณอาจจะเลือกที่จะเข้ามา AVP: Alien vs. Predator (2004) | "Your sentence has been extended for two more lifetimes. " | "ประโยคของคุณได้รับการขยายเวลาสองยุคสมัยมากขึ้น". Cubeº: Cube Zero (2004) | This sentence indicates that our country... | ประโยคนี้แสดงให้เห็นว่า ประเทศของเรา... Windstruck (2004) | Use this expression and make a sentence | ใช้คำอธิบายนี้แล้วก็ แต่งประโยค Paris ei yeonin (2004) | Look who's dissapointing. | ใช่แล้ว... เป็นพวกเธอใช่มั้ยที่เขียนประโยคเหล่านั้น The Worst First Kiss! (2005) | I have, uh, chosen a text I know Justin and Tessa would approve. | ผมเอ่อ เลือกเอาประโยคที่ จัสตินกับเทสสาคงเห็นด้วย The Constant Gardener (2005) | It gets me every time. | ประโยคนี้มันเตือนผมตลอด. V for Vendetta (2005) | Try putting that in a sentence. | คุณหมายถึง... เสียใจในประโยคที่ว่า Casino Royale (2006) | Have you ever heard those words before, Sophie? | คุณเคยได้ยินประโยคนี้มาก่อนไหม โซฟี? The Da Vinci Code (2006) | - I got three words for you: | - ใช่สิ - ชั้นมีประโยคนึงสำหรับนาย Monster House (2006) | Your column today was fantastic. | คอลัมน์คุณวันนี้แจ๋วมาก ฉันชอบประโยคว่า... The Holiday (2006) | He told me that his friends wrote Casablanca but that he added the "kid" to "Here's looking at you, kid." | แต่เขาเป็นคนเพิ่มคำว่า"สาวน้อย" ในประโยค"ดูเธอสิ สาวน้อย" ถูก! The Holiday (2006) | Hello! | ประโยคนั้นถึงดังไง The Holiday (2006) | I never thought I would say this, Andrea, but I really... | ฉันไม่เคยนึกว่าจะพูดประโยคนี้ แอนเดรีย แต่จริงๆแล้ว... The Devil Wears Prada (2006) | Probably saying the same thing. | คงพูดประโยคเดียวกัน Cashback (2006) | Don't give me the same phrase over and over again, Remu. | อย่าพูดประโยคเดิมซ้ำๆๆได้ไหม เร็ม Death Note: The Last Name (2006) | That whole "I don't want to go back to school" thing, you just... | ไอ้ประโยค "ผมไม่อยากไปเรียนหนังสือ" นะ แกแค่... Everybody Loves a Clown (2006) | You shouldn't have had to say that to me. I should've been saying that to you. | มันไม่ใช่ลูกที่จะต้องเป็นคนพูดประโยคนั้น แต่มันต้องเป็นพ่อต่างหากที่จะต้องพูดอย่างนั้นกับลูก In My Time of Dying (2006) | Can quote obscure lines from Ghostbusters? | จำประโยคเด็ดจากเรื่องขบวนการปราบผีได้? เรย์! Pilot (2005) | Nothing. That was just my senior quote. | ไม่มีอะไร แค่ประโยคสำเร็จการศึกษาของฉัน Pilot (2005) | I can't talk in long sentences. | ฉันพูดประโยคยาว ๆ ไม่ได้ Sweet Spy (2005) | That shit's straight from Deep Space Nine. | ประโยคนั้นมาจากตอน ดีพ สเปซ ไนน์ That Night, a Forest Grew (2007) | It's one of his most famous quotes. | ประโยคนี้เป็นประโยคที่ดังมากที่สุดของเขา That Night, a Forest Grew (2007) | His computer tabulates punctuation, misspellings and sentence structure to identify a set of key words, which he'll use to create a profile of our killer. | เขาใช้คอมวิเคราะห์ การแบ่งวรรคตอน คำที่เขียนผิด และ โครงสร้างประโยค เพื่อระบุกลุ่มคำสำคัญ ซึ่งเขาใช้ That Night, a Forest Grew (2007) |
| การแต่งประโยค | [kān taeng prayōk] (n, exp) EN: composition | กริยาวิเศษณานุประโยค | [kriyāwisētsanuprayok] (n, exp) EN: adverbial clause | ประโยค | [prayōk] (n) EN: sentence ; clause FR: phrase [ f ] | ประโยค | [prayōk] (n) EN: grade in Budhist theology | ประโยค | [prayōk] (n) EN: grade ; level ; class FR: grade [ m ] |
| relative clause | (n, phrase) อนุประโยคที่ใช้ขยาย | YOLO | [โย โล่] (jargon, slang) ย่อมาจากประโยคที่ว่า You only live once ซึ่งหมาายถึง เรามีชีวิตอยู่แค่ครั้งเดียว หรือ เกิดมาแค่หนเดียว, จะทำอะไรก็ทำไปเถอะเพราะเกิดมาแค่ครั้งเดียว ต้องใช้ชีวิตให้คุ้มค่า |
| adverbial clause | (n) กริยาวิเศษณานุประโยค | apodosis | (n) อนุประโยคแสดงผลในประโยคเงื่อนไข | beyond | (prep) นอกจาก (มักใช้ในประโยคปฏิเสธหรือคำถาม), Syn. apart from, Ant. including | bias | (vt) ทำให้มีความลำเอียง, See also: ทำให้มีอคติ, ทำให้มีลักษณะโน้มเอียง มักจะใช้ในรูปประโยคถูกกระทำ, Syn. antipathy | clause | (n) อนุพากย์, See also: ประโยคย่อยที่เป็นส่วนหนึ่งของประโยคใหญ่ | comma | (n) เครื่องหมายคอมม่า, See also: เครื่องหมายที่ใช้เพื่อแยกส่วนของประโยค | comma | (n) เครื่องหมายจุลภาค ใช้คั่นประโยคหรือคำ, See also: เครื่องหมายลูกน้ำ | construct | (vt) ผูกเรื่อง, See also: ผูกประโยค, สร้างประโยค | construe | (vi) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) | construe | (vt) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) | cut out | (phrv) ตัดประโยคหรือคำพูดออก, Syn. miss out | dash | (n) เครื่องหมายขีดคั่นระหว่างพยางค์ คำ วลี หรือประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: เครื่องหมายขีด, เครื่องหมาย - หน้าหรือหลังพยางค์, เครื่องหมายวรรคตอน, Syn. stroke, line | dependent clause | (n) อนุประโยค, See also: ประโยคย่อย, Syn. subordinate clause | gotcha | (int) คำอุทานแสดงเข้าใจหรือตอบรับ (พูดรวบจากประโยค I've got you.) | infinitive clause | (n) อนุประโยคที่ประกอบด้วย infinitive | interrogative sentence | (n) ประโยคคำถาม | main clause | (n) ประโยคหลัก, See also: มุขยประโยค | moral | (n) เรื่องสอนใจ, See also: คำสอน, คติธรรม, ประโยคสอนใจ | nominative | (adj) ซึ่งเป็นประธานของประโยค | nominative | (n) รูปคำนาม/สรรพนาม/คุณศัพท์เมื่อเป็นประธานของประโยค | OK | (int) ใช้วางหลังประโยคบอกเล่าเพื่อถามว่าเห็นด้วยหรือตกลงหรือไม่ | other than | (prep) นอกจาก (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ), See also: ยกเว้น, Syn. except | palindrome | (n) คำ วลี ประโยค ข้อความที่อ่านได้เหมือนกันทั้งจากหน้า/หลัง, Syn. wordplay, witticism | parse | (vi) วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยค, Syn. analyze | parse | (vt) วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยค, Syn. analyze | question tag | (n) วลีท้ายประโยคบอกเล่าแสดงการถาม, Syn. tag question | semantic | (adj) เกี่ยวกับความหมาย (ทางภาษาศาสตร์), See also: ซึ่งว่าด้วยความหมายของคำและประโยค, Syn. llinguistic, literal, connotative, semiotic | sentence | (n) ประโยค | simple sentence | (n) ประโยคความเดียว, See also: เอกรรถประโยค | subject | (n) ประธานของประโยค | subordinate clause | (n) อนุประโยคซึ่งไม่สามารถอยู่โดยลำพังได้, Syn. dependent clause | syntactic | (adj) เกี่ยวกับการสร้างประโยค, Syn. of syntax, grammatical | syntactical | (adj) เกี่ยวกับการสร้างประโยค | syntax | (n) วากยสัมพันธ์, See also: ความสัมพันธ์ระหว่างถ้อยคำในประโยค, โครงสร้างความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์, Syn. grammar, linguistics | tag | (n) สำนวนหรือประโยค | there | (pron) มี (ใช้เป็น indefinite pronoun อยู่ต้นประโยค) | until | (conj) ก่อนที่จะ (ใช้กับประโยคปฏิเสธ), See also: ก่อนจะถึง ใช้กับประโยคปฏิเสธ, Syn. till | until | (prep) ก่อนที่จะ (ใช้กับประโยคปฏิเสธ), See also: ก่อนจะถึง ใช้กับประโยคปฏิเสธ, Syn. till | verb | (n) คำกริยา, See also: กริยา, ภาคแสดงของประโยค | word order | (n) ลำดับคำในประโยค อนุประโยค หรือวลี, See also: การเรียงลำดับของคำในประโยค อนุประโยค หรือวลี |
| amphibology | (แอมฟิบอล' โลจี) n. การที่มีความหมายสองนัย, ความหมายที่คลุมเคลือ, ประโยคที่มีความหมายสองนัยฐ การพูดจาเหลวไหล. -amphibolical, amphibolous adj. | amphigory | (แอม' ฟิกอรี) n. โคลงกลอนหรือกลุ่มประโยคที่ไร้ความหาย -amphigoric adj. (nonsensical parody, amphigouri | anadiplosis | (แอนนะไดโพล' ซิส) n. การซ้ำคำของอนุประโยคหรือประโยค | anaphora | (อะแนฟ' เฟอระ) n. การเขียนซ้ำคำในตอนแรกเริ่มของโคลงหรืออนุประโยคหรือประโยค | apodosis | (อะพอด'ดะซิส) n., (pl. -ses) อนุประโยคสรุปผลที่ตามมาในประโยคเงื่อนไข | apposition | (แอพพะซิท'เชิน) n. การวางเข้าด้วยกัน, การวางเคียงข้างกัน, นามสรรพนามหรืออนุประโยคที่ขยายความหมายของนามสรรพนาม, อนุประโยคอื่น, Syn. juxtaposition | citation | (ไซเท'เชิน) n. การอ้างอิง, ประโยคหรือสิ่งที่อ้างถึง, หมายเรียก, หมายศาล, รางวัลหรือคำชมเชย, จดหมายชมเชย, คำสดุดี, See also: citatory adj. ดูcitation, Syn. summons | clause | (คลอส) n. มาตรา, อนุประโยค, ประโยคเล็ก, ข้อย่อย | comma | (คอม'มะ) n. เครื่องหมาย (, ) ที่ใช้ขั้นประโยค, การหยุดพักชั่วคราว -Conf. coma | construction | (คันสทรัค'เชิน) n. การก่อสร้าง, สิ่งปลูกสร้าง, การผูกประโยคหรือคำ, คำหรือวลีที่ผูกขึ้น, Syn. formation, Ant. destruciton | construe | (คันสทรู') { construed, construing, construes } v., n. (การ) อธิบาย, ชี้แจง, ตีความอนุมาน, แปล, วิเคราะห์, ผูกประโยค. | copulative | (คอพ'พิวเลทิฟว) adj. เกี่ยวกับการร่วมกัน, เกี่ยวกับการสังวาส, ซึ่งเชื่อมกัน, เกี่ยวกับคำหรือประโยคที่เชื่อมกัน | couplet | (คัพ'พลิท) n. โครง (กลอน, ฉันท์, กาพย์) , บทละครสองบรรทัด, คำคู่, ประโยคคู่ | ellipsis | (อิลิพ'ซิส) n., (pl. ellipses) การตัดคำทิ้งจากประโยค, วิธีการเว้นคำหรือถ้อยคำไว้เข้าใจเอง, เครื่องหมายเว้นคำ " ", "....." | infinitive clause | อนุประโยคที่ประกอบด้วย infinitive ., Syn. infinitive phrase | involution | (อินวะลิว'เชิน) n. การพัวพัน, การยุ่งเกี่ยว, การร่วมด้วย, สภาพที่พัวพัน, สิ่งที่พัวพัน, สิ่งที่ซับซ้อนหรือยุ่งเหยิง, การเสื่อมถอย, การเสื่อมโทรม, รูปประโยคที่ซับซ้อน, Syn. involvement | kernel sentence | ประโยคง่าย ๆ | nominative | (นอม'มะเนทิฟว) adj. เกี่ยวกับการเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, ระบุชื่อ. n. ประธานของประโยค, กรรตุการก | optative | (ออพเท'ทิฟว) adj. ประสงค์, ปรารถนา. n. รูปประโยคประสงค์, | period | (เพีย'เรียด) n. ระยะเวลา, สมัย, ยุค, ประจำเดือน (ระดู) , ยุคปัจจุบัน, รอบ, ระยะเวลาหนึ่งวงจรสมบูรณ์, ชั่วโมงเรียน, ยุคปัจจุบัน, เครื่องหมาย".?" (มหัพภาค) , ประโยคสมบูรณ์, การหยุดที่ปลายประโยค, ตอนของดนตรี, วิธีการของนักพูด. adj. เกี่ยวกับระยะเวลาแห่งประวัติศาสตร์ | periodic | (เพียร'ออด'ดิค) adj. เป็นช่วง ๆ , เป็นครั้งเป็นคราว, เป็นเวลา, เกี่ยวกับประโยคทิ้งท้าย., See also: periodically adv., Syn. intermittent | question | (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, See also: questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. beyond all question ไม่ต้องสงสัย -Phr. out of the question เป็นไปไม่ได้ | sentence | (เซน'เทินซฺ) n. ประโยค, การตัดสิน, การตัดสินลงโทษ, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์, คำคม, สุภาษิต. vt. ตัดสิน, พิพากษา., See also: sentencer n., Syn. judgment, opinion, verdict | shall | (แชล, ชึล) auxv. กริยาช่วยที่มักใช้กับบุรุษที่1เพื่อแสดงถึงอนาคต และใช้กับบุรุษที่ 2 เฉพาะในประโยคคำถาม, จะ, พึงจะ, จักต้อง, จะต้อง, น่าจะ, ควรจะ, อยากจะ | simple sentence | n. ประโยคที่มีอนุประโยคเดียว | stave | (สเทฟว) { staved/stove, staving, staves } n. แผ่นไม้แคบบางที่ใช้ทำถัง ขั้นบันไดหรืออื่น ๆ , ขั้นบันได, ไม้ตะบอง, ไม้เท้า, ชั้น, บทกวีบทหนึ่ง, บทหรือประโยคของบทกวี, (ดนตรี) เส้นขวางบันไดเสียง5เส้น. vt. ทำแตก, เจาะทะลุ, ทำบู้บี้, ตีถังเหล้าแตก. vi. ถูกตีแตก, ถูกเจาะทะลุ, เดินด้วยจังหวะรวดเร็ว | subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, | syntax | (ซิน'แทคซฺ) n. การสร้างประโยค, รูปแบบหรือโครงสร้างของลำดับคำในประโยคและวลี |
| clause | (n) อนุประโยค, อนุมาตรา, มาตรา, ข้อย่อย, ประโยค | construe | (n) การตีความ, การวิเคราะห์ประโยค, การอนุมาน, การอธิบาย | couplet | (n) คำคู่, ประโยคคู่ | ellipsis | (n) การละคำในประโยค | nominative | (n) ประธานของประโยค | sentence | (n) คำตัดสิน, ประโยค, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์ |
| relative clause | คุณานุประโยค | square | (slang) มื้ออาหาร ตัวอย่างประโยค I have three squares everyday. | visionary | [วิเชินน่ารี่] (n) คนที่มีหัวคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถจินตนการอย่างมีเหตุผลได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นหรือสามารถเป็นไปได้ในอนาคต มีความหมายเชิงบวก ตัวอย่างประโยคเช่น This company needs a visionary who can make it profitable. |
| 所縁 | [ゆかり, yukari] (n) ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวข้องระหว่าง... มักใช้กับคน ประโยคตัวอย่าง お前は、縁も所縁もないだぞ、ただ赤の他人なんだよ。 おまえは、えんもゆかりもないだぞ、ただあかのたにんなんだよ。 แกไม่ได้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องอะไรด้วยนะ เป็นแค่ลูกของคนอื่นนะ | 脅威 | [きょうい, kyoui] (n) อันตราย, ภัยคุกคาม (มักเจอในประโยคเกี่ยวกับ Security) | 脅威 | [きょうい, kyoui] (n) อันตราย, ภัยคุกคาม (มักเจอในประโยคเกี่ยวกับ Security) | 文意 | [ぶんい, bun'i] ใจความสำคัญ (ของประโยคหรือบทความ) | 文意 | [ぶんい, bun'i] ใจความสำคัญ (ของประโยคหรือบทความ) | なんちゃって | [なんちゃって, nanchatte] (phrase) อธิบาย: เป็นคำใช้ล้อเลียน หรือเวลาต้องการพูดล้อเล่น ติดตลก แปลได้หลายอย่าง เช่น ไม่ใช่ซะกะหน่อย ซะอย่างงั้น กลายเป็นงั้นไป ฯลฯ ตัวอย่างการใช้ ใช้ต่อท้ายประโยคหรือบทพูด เพื่อจะบอกว่าสิ่งที่พูดมาทั้งหมดโม้ หรือโกหก | gyo | [漁, ryou] (phrase) ใส่ในท้ายประโยค เพื่อบอกว่า ตัวเองเกี่ยวข้องกับปลา | 疑問 | [ぎもん, gimon] (n) (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, S. . questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. (beyond (all) question ไม่ต้องสงสัย) -Phr. (out of the question เป็นไปไม่ได้) | こっそり | [ぎもん, kossori] (adv) แอบทำ ขยายคำกริยาในประโยคว่าแอบทำ โดยที่ไม่ต้องการให้ใครรู้ | 番号 | [ばんごう, bangou] (n) หมายเลข (หมายเลขโทรศัพท์, หมายเลขเขียนต่อท้ายคำหรือประโยค) |
| Er kommt wohl heute. | เขาคงจะมาวันนี้, wohl ใช้เสริมในประโยคที่มีความเป็นไปได้, คาดว่า | Es ist doch gut. | มันก็ดีออกนี่ หรือ แต่มันดีนะ(ดีจริง ไม่ประชด), doch ใช้เสริมเพื่อขัดกับประโยคหรือบทสนทนาก่อนหน้านั้น อาจแปลว่า แต่ | Ißt du nicht? Doch, doch. | ไม่กินเหรอ? กิน กิน! สังเกตการใช้คำว่า Doch ซึ่งใช้ตอบประโยคคำถามที่มีความหมายเชิงปฏิเสธ โดย Doch บ่งชี้คำตอบรับที่มีความหมายตรงกันข้าม | daß | (konj) ที่ว่า (ใช้เป็นคำเชื่อมระหว่างวลี หรืออนุประโยค คล้าย that ในภาษาอังกฤษ) เช่น Ich rechne damit, daß er mich heute anruft. ฉันคาดว่า เขาจะโทรมาหาฉันวันนี้ | denen | (rel, pron) สรรพนามสำหรับนามพหูพจน์รูป Dativ ที่ใช้ในวลีที่เชื่อมกับประโยคหลัก เช่น Wir kümmern uns um die Personen, von denen ihr Geschäft abhängt. เราดูแลผู้คนที่มีความสำคัญต่อธุรกิจของเขาเอง | denn | ใช้เป็นคำเน้น ไม่มีความหมายที่แน่นอน ใช้เสริมในประโยคเพื่อให้ฟังดูนุ่มขึ้น อาจแปลเป็นไทยภาษาพูดว่า 'ล่ะ' เช่น Was machst du denn da? เธอทำอะไรอยู่หรือเนี่ย (ถ้าไม่มี denn ฟังดูห้วนคล้ายว่า เธอทำอะไรอยู่) | deren | (relpron) ของเธอ (เป็นสรรพนามสำหรับนามเอกพจห์เพศหญิงรูป Genetiv ที่ใช้แสดงความเป็นเจ้าของในวลีที่เชื่อมกับประโยคหลัก) เ เช่น Das ist Frau Schwarzkopf, deren Namen auf dem Schwarzbrett steht. นี่คือคุณชวาสคอร์ฟที่ชื่อของเธออยู่บนบอร์ด | in | (präp) |+ สถานที่| ใน, ที่ (ขึ้นกับรูปประโยค ถ้าบ่งการเดินทางเคลื่อนไหว แปลว่า ไปที่ ไปใน ซึ่ง in + Akk. แต่ถ้าบ่งการเป็นอยู่ in + Dat.) เช่น (1) Ich war in den Alpen letzte Woche. ผมอยู่ที่เทือกเขาแอลป์เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว (2) Ich fahre in die Alpen diese Woche. ผมจะไปยังเทือกเขาแอลป์อาทิตย์นี้ | indem | (konj) |กริยาอยู่ท้ายอนุประโยค| โดย, ด้วย เช่น Man lernt, indem man etwas ausprobiert. คนเราเรียนรู้ด้วยการลองด้วยตนเอง | ins | (präp) |+ คำนามหรือสถานที่เพศกลางรูป A สำหรับประโยคที่บ่งการเคลื่อนไหว (wohin)| ใน เช่น Gehen wir ins Kino? เราไปโรงหนังกันไหม, See also: in | mal | หน่อย (ใช้เติมลงไปในประโยค เพื่อทำให้ฟังดูนุ่มขึ้น)เช่น Mach mal bitte. กรุณาช่วยทำหน่อย | nachdem | หลังจาก (+ ประโยค) | überhaupt | เป็นคำเสริมใช้เน้นในประโยคคำถามที่ผู้ถามไม่แน่ใจว่าจริง เช่น Kannst du überhaupt kochen? เธอทำอาหารได้จริงหรือ | überhaupt | เป็นคำเสริมใช้เน้นในประโยคคำถามเกี่ยวกับหัวข้อสนทนาไหม่ เช่น Was machst du überhaupt momentan? เธอทำอะไรอยู่ตอนนี้, See also: eigentlich, denn | als | ขณะที่ (ใช้เชื่อมประโยคที่บ่งสองเหตุการณ์ในเวลาเดียวกัน)เช่น Er ist angekommen, als ich beim Kochen war. | schweigen | (vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein | sich äußern | (vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen | Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค)เช่น Sie sind groß. | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. | Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? | Ihnen | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. | Ihnen | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. | Ja | เป็นคำที่เติมลงในประโยคบ่งความประหลาดใจ เช่น Du bist ja ganz groß geworden. Ich habe dich lange nicht gesehen. เธอสูงใหญ่จริงเชียว ฉันไม่ได้เจอเธอมานานแล้วสินี่ | Der Ofen brennt! | เป็นประโยคใช้ร้องบอกว่า ของที่อยู่ในเตาอบกำลังไหม้, See also: Related: brennen | haben | |ich habe, du hast, er/sie/es hat, wir/sie/Sie haben, ihr/Ihr habt| เป็นกริยาช่วยในประโยคที่บ่งเหตุการณ์ในอดีตแบบ Perfekt โดยท้ายประโยคตามด้วยกริยารูปที่เรียกว่า Partizip 2 เช่น Ich habe gestern viel gearbeitet. เมื่อวานผมทำงานมาก | sein | |ich bin, du bist, er/sie/es ist, wir/sie/Sie sind, ihr/Ihr seid| เป็นกริยาช่วยในประโยคที่บ่งเหตุการณ์ในอดีตแบบ Perfekt โดยท้ายประโยคตามด้วยกริยารูปที่เรียกว่า Partizip 2 ที่ส่วนมากเป็นกริยาที่บ่งการเคลื่อนไหว เช่น Letztes Jahr bin ich zum ersten Mal nach Japan geflogen. ปีที่แล้วฉันบินไปญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก, See also: Related: haben | können | |kann, konnte, gekonnt| สามารถ (เป็นกริยาช่วย ท้ายประโยคตามด้วยกิริยารูปปกติที่ไม่ผัน) เช่น Kannst du mir einen Rat geben? เธอสามารถให้คำแนะนำฉันได้ไหม | wann | เมื่อไหร่ (ขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Wann bist du fertig? เมื่อไหร่เธอถึงเสร็จล่ะ | was | อะไร (ขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Was bedeutet das? มันหมายความว่าอะไร | wie | อย่างไร (ขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Wie kommt man zu ihm? พวกเราไปที่บ้านของเขา(ไปหา)ได้อย่างไร | nicht | (adv) ไม่ (ใช้บ่งการปฏิเสธของประโยค) เช่น Thailand ist nicht in Europa. ประเทศไทยไม่ได้อยู่ในทวีปยุโรป | werden | (vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, wurde + Partizip 2 ท้ายประโยค| ถูก(กระทำ) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่ประธานถูกกระทำ เช่น Werden Sie schon bedient? คุณถูก(ได้รับ)บริการแล้วหรือยังครับ | werden | (vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, + infinitiv ท้ายประโยค| จะ (เป็นกริยาช่วยในไวยากรณ์อนาคตบ่งว่าจะทำอะไร) เช่น Nächste Woche werde ich in den Alpen skifahren. สัปดาห์หน้าฉันจะไปเล่นสกีที่เทือกเขาแอลป์ | lassen | |läßt, ließ, hat gelassen, ตามด้วยกิริยาที่ไม่ผันรูปท้ายประโยค| เป็นกริยาช่วยใช้บ่งว่า กรรมของประโยคถูกกระทำ ซึ่งเป็นอีกรูปหนึ่งของ Passivbildung เช่น Man ließ drei Häuser bauen. = Es wurden drei Häuser gebaut. | weil | (konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| เพราะว่า เช่น Andrea bleibt daheim, weil sie ihrer Mutter im Haushalt helfen will. อันเดรียอยู่บ้านเพราะเธออยากช่วยแม่ทำงานบ้าน, See also: Related: denn, da | da | (konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| เพราะว่า เช่น Sie braucht eine kleinere Wohnung, da sie allein ist., See also: A. darum, deswegen, Syn. weil | nachdem | (konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| หลังจาก เช่น Nachdem ich mit dir telefoniert habe, arbeite ich weiter. หลังจากที่ฉันโทรศัพท์กับเธอ ฉันทำงานต่อ | gell | (slang) |ใช้มากทางใต้ของเยอรมนี| จริงไหม, ใช่ไหม (เป็นวลีที่ใช้ต่อท้ายประโยค) เช่น Maria wohnt in dieser Gegend, gell? มาเรียพักอยู่ย่านนี้ จริงไหม, See also: nicht wahr, Syn. oder? | Präposition | (n) |die, pl. Präpositionen| คำบุพบท, คำที่ส่วนใหญ่อยู่หน้าคำนามหรือสรรพนามเพื่อบ่งสถานที่หรือเวลา ในภาษาเยอรมันคำบุพบทอาจตามด้วย Dativ หรือ Akkusativ ซึ่งถูกกำหนดโดยคำถามที่ขึ้นต้นด้วย wo หรือ wohin ถ้าประโยคนั้นตอบคำถาม wo บุพบทตามด้วย Dativ และถ้าประโยคนั้นตอบคำถาม wohin ที่บ่งการเคลื่อนไหวบุพบทตามด้วย Akkusativ นอกเหนือจากนี้คำบุพบทยังสามารถตามด้วย Genetiv ก็ได้ Präpositionen mit Dativ เช่น aus, von, nach, zu, bei, mit, seit, gegenüber ส่วน Präpositionen mit Akkusativ เช่น bis, gegen, ohne, um, durch, per | Wort | (n) |das, pl. Worte| คำพูด, ประโยคหรือข้อความที่พูดออกมามีความเกี่ยวเนื่องกัน เช่น Es tut mir leid, aber Ihre Worte überzeugen mich nicht. ฉันเสียใจนะคะ ฉันไม่เชื่อที่คุณพูดมา |
| avoir | (vt) |j'ai, tu as, il a, nous avons, vous avez, ils ont| 1. มี เช่น J'ai soif. ผมมีอาการกระหายน้ำ หรือ ผมหิวน้ำ 2. avoir ยังเป็นกิริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต (Passé composé) เช่น Hier j'ai eu trés soif dans la classe de français. เมื่อวานนี้ดิฉันหิวน้ำมากเลยค่ะในชั่วโมงภาษาฝรั่งเศส | aller | (vi) |je vais, tu vas, il va, nous allons, vous avez, ils vont| (1) ไป เช่น aller à pied ไปด้วยเท้า, aller à l'étranger ไปต่างประเทศ (2) ใช้เป็นกิริยาช่วยในประโยคที่บ่งอนาคตอันใกล้รูป futur proche โดย aller + infinitif เช่น Je ne vais pas sortir ce soir. เย็นนี้ฉันจะไม่ออกจากบ้าน (3) ในประโยคทักทาย แปลว่า สบายดีหรือเป็นเช่นใด เช่น Comment vas-tu? = (Comment) ca va? เธอสบายดีไหม หรือ เธอเป็นอย่างไรบ้าง | être | (vi) |je suis, tu es, il est, nous sommes, vous êtes, ils sont| (1) เป็น, อยู่, คือ เช่น Vous êtes Monsieur Voltaire? คุณคือคุณโวลแตร์ใช่ไหมครับ/คะ, Je suis à Bangkok. ผมอยู่ที่กรุงเทพ (2) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต passé composé สำหรับกริยาที่บ่งการเคลื่อนไหว เช่น Je suis venu(e) à sept heures ce matin. ผม(ดิฉัน)มาถึงตอนเจ็ดโมงเมื่อเช้านี้ | où | ที่ไหน (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Il habite où? = Où est-ce qu'il habites? เขาอยู่ที่ไหน, Tu vas où en vacances? เธอไปเที่ยวพักร้อนที่ไหน | comment | อย่างไร (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Elle danse comment? = Comment est-ce qu'elle danse? หล่อนเต้นรำอย่างไร | Pourquoi | ทำไม (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Pourquoi tu déménages? = Pourquoi est-ce que tu déménages? ทำไมเธอถึงย้ายบ้าน | quand | เมื่อไหร่ (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Tu sors quand? = Quand est-ce que tu sors? เธอออกไปเมื่อไหร่ | que | อะไร (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Qu'est-ce que tu prends? เธอเอาอะไร, Qu'est-ce qu'on fait? เราทำอะไรอยู่ | quel, quelle, quelles | |m/pl. quels, f. quelle, f/pl. quelles| ประเภทไหน, ชิ้นไหน (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Il aime quel film? = Quel film est-ce qu'il aime? หนังประเภทไหนที่เขาชอบ | à quelle heure | กี่โมง, เวลาเท่าไหร่ (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Ce film commence à quelle heure? = A quelle heure est-ce que ce film commence? ภาพยนต์เรื่องนี้เริ่มฉายกี่โมง | combien | เท่าไหร่ (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น ça coûte combien? = Combien est-ce que ça coûte? นี่ราคาเท่าไหร่ | ça marche | เป็นประโยคแปลว่า (งานหรือการดำเนินการหนึ่งๆ)บรรลุผลแล้ว งานเกิด หรือทำได้แล้ว | Je vous en prie. | (phrase) ไม่เป็นไร (ใช้ในกรณีที่มีคนขอบคุณเรา มีความหมายเท่ากับ You're welcome.ในภาษาอังกฤษ เป็นภาษาสุภาพ ถ้าพูดกับคนคุ้นเคยกันใช้ประโยคที่ว่า Je t'en prie!), Syn. De rien!, Il n'y a pas de quoi. |
| be supposed to | น่าจะ, ควรจะ, เป็นการแสดงความคาดหวังของผู้พูดต่อประธานในประโยคว่าน่าจะทำกริยาที่ระบุไว้ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |