ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ปรด, -ปรด- |
โปรด | (v) love, See also: like, be fond of, Syn. ชื่นชอบ, พอใจ, ถูกใจ, พึงใจ, Ant. เกลียด, ชัง, ไม่ชอบ, Example: สมเด็จพระเทพฯ ทรงโปรดดนตรีไทยมากโดยเฉพาะระนาด, Thai Definition: ถูกใจหรือพอใจมาก, Notes: (เขมร) | โปรด | (adj) favorite, Syn. ชอบ, ชื่นชอบ, Ant. เกลียด, Example: เพลงนี้เป็นเพลงโปรดของฉัน, Thai Definition: ที่ถูกใจหรือพอใจมาก | โปรด | (v) help, See also: assist, aid, relieve, Syn. ช่วย, คุ้มครอง, บรรเทา, เมตตา, กรุณา, สงเคราะห์, Example: แม่เกลียดคนที่เอาแต่นั่งรอให้พระมาโปรด | โปรด | (aux) please, Syn. ได้โปรด, กรุณา, Example: รถทุกคันโปรดหลีกทางให้รถพยาบาลด้วย, Thai Definition: คำช่วยหน้ากริยาเพื่อขอให้แสดงความเมตตากรุณาโดยปลดเปลื้องความเดือดร้อน | โปรดปราน | (v) fond of, See also: show kindness on, like, favour, Syn. โปรด, ชอบ, ชื่นชอบ, Ant. เกลียด, Example: การแข่งม้าเป็นกีฬาที่เขาโปรดปรานที่สุด, Thai Definition: เอ็นดู รักใคร่ หรือชอบเป็นพิเศษ | โปรดสัตว์ | (v) show clemency to animal, See also: save mankind from sin, Example: พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาเพื่อโปรดสัตว์, Thai Definition: สงเคราะห์สัตว์, Notes: (ปาก) | โปรดเกล้า | (v) be kind enough to, Syn. โปรดเกล้าโปรดกระหม่อ, กรุณา, Example: สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเลี้ยงแก่บรรดานักเรียนนายร้อยที่สำเร็จการศึกษา, Notes: (ราชา) | โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม | (v) royal to please, Syn. โปรดเกล้า, กรุณา, Example: พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเป็นนายกรัฐมนตรีตามการกราบบังคมทูลของประธานรัฐสภา, Notes: (ราชา) |
| คนโปรด | น. ผู้เป็นที่รักใคร่เอ็นดูมากเป็นพิเศษ เช่น เขาเป็นลูกศิษย์คนโปรด. | ปรด | (ปฺรด) ก. วิ่ง, วิ่งแล่น, เช่น เร่งรถปรดปรึง (คำพากย์). | โปรด | (โปฺรด) ก. ถูกใจหรือพอใจมาก เช่น โปรดสิ่งสวยงาม, แสดงความเมตตากรุณาโดยปลดเปลื้องความเดือดร้อนเป็นต้น เช่น โปรดข้าพเจ้าสักครั้ง, ใช้ประกอบหน้ากริยา แสดงความขอร้องอย่างสุภาพ เช่น โปรดนั่งนิ่ง ๆ. | โปรด | (โปฺรด) ว. ที่ถูกใจหรือพอใจมาก เช่น คนโปรด ของโปรด. | โปรดปราน | (-ปฺราน) ก. เอ็นดู, รักใคร่. | โปรดสัตว์ | ก. สงเคราะห์สัตว์, (ปาก) เรียกลักษณะที่พระออกรับบิณฑบาต ว่า พระไปโปรดสัตว์. | โปรดสัตว์ได้บาป | ก. ทำดีแต่กลับได้ชั่ว, มักพูดเข้าคู่กับ ทำคุณบูชาโทษ ว่า ทำคุณบูชาโทษ โปรดสัตว์ได้บาป. | พระมาลัยมาโปรด | น. ผู้ที่มาช่วยเหลือในยามที่กำลังตกทุกข์ได้ยากได้ทันท่วงที. | กฎหมายตราสามดวง | น. ประมวลกฎหมายโบราณของไทยซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระและปรับปรุงแก้ไขตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อทำเสร็จแล้วได้ประทับดวงตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว ไว้เป็นสำคัญ จึงเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง. | กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. | กระเบิก | ก. เบิก เช่น ปรดิพหุลดุลยปรดิมุข หุลดุลยอุกกลุก ก็เกริกกระเบิกหาวหบ (อนิรุทธ์). | ขึ้นหม้อ | ว. โดยปริยายหมายความว่า มีผลประโยชน์รวดเร็วมากผิดปรกติ, โดดเด่น, เป็นที่โปรดปราน, โชคดี. | เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | น. สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบำเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด. | โครงการตามพระราชประสงค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ให้เกิดขึ้น โดยทรงศึกษาทดลองปฏิบัติด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เมื่อทรงศึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญและทดลองจนได้ผลสรุปที่ดี และทรงมั่นพระราชหฤทัยว่าเป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลหรือผู้สนใจรับไปดำเนินงานต่อ แบ่งเป็นโครงการทดลองในเขตพระราชฐาน และโครงการทดลองนอกเขตพระราชฐาน. | จางวาง | เจ้าเมืองที่พ้นตำแหน่งแล้ว ซึ่งได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาของเจ้าเมือง เรียกว่า จางวางเมือง. | ชักพระ | น. ชื่อประเพณีอย่างหนึ่งทางภาคใต้ ถือว่าเป็นประเพณีสำคัญ นิยมมีในวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ซึ่งถือว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์กลับจากโปรดพระพุทธมารดา คล้ายวันตักบาตรเทโวของภาคกลาง, การชักพระมี ๒ อย่าง คือ ชักพระทางบกกับทางน้ำ, ถ้าชักพระทางบก ก็อัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานไว้บนบุษบกซึ่งตั้งอยู่บนยานพาหนะแล้วช่วยกันชักลากไป, ถ้าชักพระทางน้ำ ก็อัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานบนบุษบกในเรือ แล้วใช้เชือกผูกเรือพระช่วยกันลากไปยังสถานที่ที่กำหนด แล้วจึงถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์ มักจะมีการโยนข้าวต้มรูปสามเหลี่ยมห่อด้วยใบกะพ้อเป็นต้นใส่กัน บางทีก็มีแข่งเรือและอื่น ๆ ด้วย. | ช้างเผือก ๒ | น. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง มีที่มาจากตราดาราช้างเผือกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตราพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลช้างเผือก. | ซากศพ | น. ศพ เช่น แม้นพระองค์ไม่ทรงเลี้ยงมัทรีไว้ จะนิ่งมัธยัสถ์ตัดเยื่อใยไม่โปรดบ้าง ก็จะเห็นแต่กเลวระร่างซากศพของมัทรี (ม. ร่ายยาว มัทรี), เจ้าพี่เอ๋ยอุตส่าห์พาซากศพ มาให้พบผัวรักเมื่อเป็นผี (ตับนางลอย), บางทีเขียนเป็น ทรากศพ ก็มี เช่น พระบาทเจ้าจะได้ทอดทัศนา ซึ่งทรากศพสาธารณนอนตาย (ม. คำหลวง มัทรี), ร่างของคนที่ตายมานานแล้วแต่มีเค้าพอให้สันนิษฐานได้ว่าเป็นผู้ชายหรือผู้หญิงเป็นต้น. | เฒ่าแก่ | น. สตรีสูงอายุที่พระเจ้าแผ่นดินโปรดให้ตั้งไว้ในตำแหน่งข้าราชการ มีหน้าที่ดูแลสตรีฝ่ายในในพระราชสำนัก | เตียน ๒ | ก. ติ, ทัก, เช่น โปรดแปลงเอาอย่าเตียน ข้อยข้าเขียนตามฉบับ (จินดามณี). | โตเล่นหาง | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง สัมผัสสระคำที่ ๕ กับคำที่ ๖ ในแต่ละวรรค เช่น ขอเดชะพระ องค์จงโปรดเศียร ให้สมเพียรโย ธาข้าบาทสนอง (ศิริวิบุลกิติ์), ในศิริวิบุลกิติ์ เรียก สิงห์โตเล่นหาง | ถึงแก่พิราลัย | ก. ตาย (ใช้แก่เจ้าประเทศราช สมเด็จเจ้าพระยา หรือผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเป็นการเฉพาะ), ใช้ว่า พิราลัย ก็มี. | ท้าว ๑ | ตำแหน่งหญิงอาวุโส ซึ่งเป็นเจ้าจอม เจ้าจอมมารดาในรัชกาลก่อนหรือหญิงราชนิกุล ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินโปรดเกล้าฯ ตั้งไว้ในตำแหน่งสำหรับดูแลราชกิจฝ่ายในพระราชวัง เช่น ท้าวทรงกันดาล ท้าวสมศักดิ์, (ปาก) คุณท้าว นางท้าว | ทำคุณบูชาโทษ | ก. ทำความดีต่อผู้อื่น แต่กลับเป็นโทษแก่ผู้ทำ, ทำดีแต่กลับเป็นร้าย, มักใช้พูดเข้าคู่กับ โปรดสัตว์ได้บาป. | ทำเนียบนาม | น. นามต่าง ๆ ที่พระมหากษัตริย์โปรดให้ขนานเป็นทำเนียบไว้ เช่น นามพระราชวัง นามพระที่นั่ง นามประตู นามป้อม ตลอดจนถึงนามที่ทางราชการเรียก, การลำดับนามช้างม้าสำคัญของหลวง เช่น ทำเนียบนามช้างสำคัญ ทำเนียบนามม้าสำคัญ. | ทิวงคต | (ทิวงคด) ก. ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้แก่สมเด็จพระยุพราช หรือเจ้าฟ้าซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเฉลิมพระยศเป็นพิเศษ). | เทศาภิบาล | การปกครองหัวเมืองที่จัดเป็นมณฑล โดยโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทำหน้าที่ปกครองในแต่ละมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล เว้นแต่มณฑลชายแดนบางมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑล ภายหลังเรียกว่า สมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือสมุหเทศาภิบาล. | ธงบรมราชวงศ์น้อย | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับตอนต้นของธงบรมราชวงศ์ใหญ่แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีแดงแปลงเป็นรูปธงยาวเรียว โดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของธงตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงบรมราชวงศ์ใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ. | ธงมหาราชน้อย | น. ธงสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงมหาราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงมหาราชใหญ่ หมายความว่า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ. | ธงเยาวราชน้อย | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระยุพราช แบ่งความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงเยาวราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงเยาวราชใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ. | ธงราชินีน้อย | น. ธงสำหรับองค์สมเด็จพระราชินี มีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงมหาราชน้อย เว้นแต่ชายต่อเป็นสีแดง ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงราชินีใหญ่ หมายความว่า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ. | นางท้าว | น. ตำแหน่งหญิงอาวุโส ซึ่งเป็นเจ้าจอม เจ้าจอมมารดาในรัชกาลก่อน หรือหญิงราชนิกุล ซึ่งพระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ตั้งไว้ในตำแหน่งสำหรับดูแลราชกิจฝ่ายในพระราชวัง | นางสนองพระโอษฐ์ | น. คุณพนักงานหญิงที่แต่งงานแล้ว มีหน้าที่รับพระราชเสาวนีย์ไปปฏิบัติหรือเชิญพระราชเสาวนีย์ไปติดต่อข้อราชการตามพระราชประสงค์ของพระราชินี เป็นตำแหน่งที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง. | บานิโยทก, บานีโยทก | น. นํ้าที่ควรดื่ม เช่น อันกอปรด้วยมางษมัศยาหาร สุราบานบานิโยทก ให้อิ่มอกราษฎร์ถ้วนหน้า (ม. คำหลวง วนประเวศน์). | ปรวด ๒ | (ปะหฺรวด) ก. โปรด. | ประสาท ๓ | น. ยินดีให้, โปรดให้, เช่น ประสาทปริญญา ประสาทพร. | ไปยาล | น. เครื่องหมายละคำ รูปดังนี้ ฯ เรียกว่า ไปยาลน้อย สำหรับละคำที่ประกอบคำหน้า เช่น กรุงเทพฯ โปรดเกล้าฯ, รูปดังนี้ ฯลฯ หรือ ฯเปฯ เรียกว่า ไปยาลใหญ่ สำหรับละข้อความข้างท้าย เช่น ในป่ามีช้าง เสือ ลิง ค่าง ฯลฯ อ่านว่า “ละ”, หรือละข้อความในระหว่าง เช่น เพลงสรรเสริญพระบารมีว่า ข้าวรพุทธเจ้า ฯลฯ ดุจถวายชัย ชโย อ่านว่า “ละถึง”, เปยยาล ก็เรียก. | ฝนหลวง | น. ฝนที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำขึ้นเพื่อบรรเทาความแห้งแล้ง. | พระราชพิธี | น. พิธีที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดไว้ตามราชประเพณี เช่น พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีสงกรานต์ พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี. | พระอภิบาล | น. ผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้มีหน้าที่ดูแลพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้าลูกหลวง. | พัดยศ | น. พัดพิเศษที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ภิกษุสามเณรที่สอบเปรียญธรรมได้ตั้งแต่ ๓ ประโยคขึ้นไป หรือแก่พระภิกษุที่มีความรู้ ความสามารถในการศึกษา การบริหาร หรือการเผยแผ่พระศาสนา เป็นต้น เป็นเครื่องหมายแสดงลำดับชั้นแห่งสมณศักดิ์ มีรูปและชื่อต่าง ๆ กัน คือ พัดหน้านาง พัดพุดตาน พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์. | พัลลภ | (พันลบ) น. คนสนิท, คนโปรด. | พานพระขันหมาก, พานพระขันหมากเสวย | น. พานใส่หมากพลูเครื่องเสวย เป็นเครื่องราชูปโภค ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์ ลักษณะเป็นพานซ้อนกัน ๒ ชั้น รูปทรงคล้ายพานแว่นฟ้า ทำด้วยทองคำ จำหลักลวดลายลงยาสี จะเรียกว่า พานพระศรี พานพระขันหมาก หรือพานพระขันหมากเสวย ซึ่งสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เรียก, ในพานประกอบด้วย ตลับพู่ใส่ขี้ผึ้ง ๑ มังสี ๒ สำหรับใส่หมากเจียน ๑ หมากทั้งลูก ๑ ซองพลู ๒ สำหรับใส่พลูจีบ ๑ ตลับใส่กระวาน ๑ ตลับใส่ยาฝอย ๑ และพระแสงกรรบิด ๑. | พานพระศรี | น. พานใส่หมากพลูเครื่องเสวยของพระมหากษัตริย์, พานใส่หมากพลูเครื่องเสวยซึ่งเป็นเครื่องราชูปโภค ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์ หรือเป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศเจ้านายฝ่ายหน้าฝ่ายในชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า มีลักษณะแตกต่างกันไปตามชั้นยศ สำหรับเจ้านายนั้นจะเรียกว่า พานหมากเสวย ก็มี ซึ่งสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เรียก. | พานหมากเสวย | น. พานใส่หมากพลูเครื่องเสวยของเจ้านาย, พานใส่หมากพลูเครื่องเสวยซึ่งเป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศของเจ้านายฝ่ายหน้าฝ่ายในชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า มีลักษณะแตกต่างกันไปตามชั้นยศ จะเรียกว่า พานพระศรี ก็มี ซึ่งสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เรียก. | พิราลัย | ก. ตาย (เดิมใช้แก่เจ้าประเทศราช สมเด็จเจ้าพระยา ภายหลังใช้แก่ผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเป็นการเฉพาะราย), ใช้ว่า ถึงแก่พิราลัย. | ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. | ภูษาโยง | น. แถบผ้าที่โยงจากปากโกศหรือหีบศพของหลวงสำหรับคลี่ทอดไปยังพระสงฆ์เมื่อทอดผ้าสดับปกรณ์, ใช้ว่า พระภูษาโยง แก่พระมหากษัตริย์จนถึงพระองค์เจ้า และใช้ว่า ภูษาโยง แก่หม่อมเจ้า รวมทั้งผู้ได้รับพระราชทานเกียรติยศตามเกณฑ์ที่ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานเป็นกรณีพิเศษ ส่วนสามัญชนทั่วไปใช้ว่า ผ้าโยง. | มกุฎ | (มะกุด) ว. สูงสุด, ขั้นสูง, เช่น อันกอปรด้วยลักณณษการอดุลย์ สุนทรเทพมกุฎ (ม. คำหลวง ทศพร), เจ้าก็เกิดในมกุฎเกศกรุงสีวีราษฎร์ (ม. ร่ายยาว กุมาร) (ป., ส. มกุฏ). | มหาไถ่ | น. ผู้โปรดให้พ้นบาป หมายถึง พระเยซู. |
|
| | เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด [ศัพท์พระราชพิธี] | spreadsheet | สเปรดชีต แผ่นตารางทำการ, Example: เนื้อที่ขนาดใหญ่ในโปรแกรมสำหรับบรรจุตารางข้อมูลและสูตรคำนวณ แนวตั้งหรือสดมภ์ของตารางนี้มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษ เริ่มจาก A, B, C เรื่อยไป และแนวนอนก็มหมายเลขกำกับตั้งแต่ 1, 2, 3 เรื่อยไป ช่องข้อมูล ข้อความ หรือสูตรคำนวณเมื่อบรรจุข้อมูลและสูตรแล้ว โปรแกรมสเปรดชีตจะคำนวณค่าที่เกี่ยวข้องให้โดยอัตโนมัติ และถ้าหากเราเปลี่ยนค่าข้อมูลในช่องใดช่องหนึ่งไป ค่าในช่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องก็จะเปลี่ยนไปโดนอัตโนมัติเช่นกัน ผลก็คือสเปรดชีตมีประโยชน์มากในการคำนวณด้านต่างๆ นอกจากนั้นเรายังอาจใช้โปรแกรมสเปรดชีตจัดทำกราฟต่างๆ หรือใช้บันทึกข้อมูลต่างๆได้ด้วย [คอมพิวเตอร์] | Dummy variables | ตัวแปรดัมี [TU Subject Heading] | PRODESIGN II (Computer program) | โปรดีไซน์ 2 (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] | Spread spectrum communications | การสื่อสารด้วยระบบสเปรดสเปคตรัม [TU Subject Heading] | Buakaew | ตราบัวแก้ว ตราบัวแก้วซึ่งเป็นรูปเทพยดานั่งในดอกบัว ถือดอกบัวข้างขวา ถือวชิระข้างซ้ายนั้น เป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งใช้มาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตราบัวแก้วเป็นตราซึ่งเจ้าพระยาพระคลังใช้ประทับในเอกสารของกรมท่า และที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ เช่น สนธิสัญญาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2418 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกราชการด้านการคลังออกจากกรมท่า ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำตำแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์กรมท่า และต่อมาเมื่อได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดระบบราชการใหม่โดยแบ่งเป็น 12 กระทรวง ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำเสนาบดีว่าการต่างประเทศ และกลายมาเป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศ [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | R.S.V.P. | โปรดตอบให้ผู้เชิญทราบด้วยว่าผู้ได้รับเชิญจะไป ร่วมงานหรือไม่ เป็นคำย่อมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ว่า Répondez s'il vous plaît ซึ่งระบุในบัตรเชิญเข้าร่วมงานต่าง ๆ แปลว่า โปรดตอบให้ผู้เชิญทราบด้วยว่าผู้ได้รับเชิญจะไปร่วมงานหรือไม่ [การทูต] | radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] |
| ได้โปรด | [dāi prōt] (v) EN: please | คนโปรด | [khon prōt] (n, exp) EN: confidant ; favorite ; pet | แล้วแต่จะโปรด | [laēotāe ja prōt] (xp) EN: as it may please the court ; as it may please your Majesty FR: comme il siéra à votre honneur (litt.) | เล่มโปรด | [lem prōt] (n, exp) EN: preferred book FR: livre préféré [ m ] ; livre favori [ m ] ; livre de chevet [ m ] | โปรด | [prōt] (v) EN: like ; favour ; be fond of ; be keen on FR: plaire ; affectionner ; agréer (litt.) | โปรด | [prōt] (x) EN: please ; would you mind ... ? FR: pardon ; s'il vous plaît ; S.V.P. (abrév.) ; veuillez ... | โปรด | [prōt] (adj) EN: favourite FR: favori ; préféré | โปรดงดสูบบุหรี่ | [prōt ngot sūp burī] (xp) EN: thank you for not smoking FR: merci de ne pas fumer | โปรดปราน | [prōtprān] (v) EN: fond of ; show kindness on ; like ; have a liking for ; prefer ; favour FR: préférer | โปรดปราน | [prōtprān] (adj) FR: favori ; préféré | โปรดสัตว์ | [prōt sat] (v, exp) EN: show clemency to animal ; save mankind from sin FR: être indulgent envers les animaux | โปรดอย่าจับ | [prōt yā jap] (x) FR: prière de ne pas toucher | สเปรดชีต | [saprētchīt] (n) EN: spreadsheet FR: tableur [ m ] | วิชาโปรด | [wichā prōt] (n, exp) FR: matière préférée [ f ] ; sujet favori [ m ] ; domaine de prédilection [ m ] |
| fave food | (n) ของโปรด, อาหารที่ชอบทาน เช่น My new fave food is fruit smoothies. I really love fruit smoothies. I make one out of skim milk and vanilla powder slim fast and add about 1/2 cup of fruit., Syn. favourite food |
| apple of someone's eye | (idm) คนพิเศษของบางคน, See also: คนโปรดของบางคน | be one's bag | (idm) เป็นสิ่งโปรด, See also: เป็นสิ่งที่ชื่นชอบ และสามารถทำได้ | fall from grace | (idm) ไม่เป็นที่โปรดปรานอีกต่อไป, Syn. lapse from | darling | (n) บุคคลอันเป็นที่รัก, See also: คนซึ่งเป็นที่รัก, คนน่ารัก, สุดที่รัก, ยอดรัก, คนรัก, คนโปรด, ขวัญใจ, Syn. beloved, dear, sweetheart, love | favorite | (n) คนโปรด, See also: หัวโปรด, หัวแก้วหัวแหวน, Syn. darling, favored one | favorite | (n) คนโปรด, See also: หัวโปรด, หัวแก้วหัวแหวน, Syn. darling, favored one | favorite | (adj) ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, See also: ซึ่งเป็นที่นิยม, ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบ, ถูกใจ, Syn. adored, beloved, preferred, Ant. unwanted, unpopular | favorite | (adj) ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, See also: ซึ่งเป็นที่นิยม, ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบ, ถูกใจ, Syn. adored, beloved, preferred, Ant. unwanted, unpopular | fond (of) | (adj) ชอบ, See also: รัก, โปรดปราน, หลงรัก, Syn. keen on, enamoured of | ingratiate with | (phrv) ประจบประแจง, See also: ทำให้ตนเองเป็นที่ชื่นชอบของ, ทำให้โปรดปราน | love | (vt) ชอบ, See also: โปรด, พอใจ, รัก, Syn. like, Ant. detest, hate | minion | (n) คนโปรด, See also: สุดที่รัก | penchant | (n) ความชอบอย่างมาก, See also: ความโปรดปราน, Syn. love, affection, devotion, Ant. hate, dislike, aversion | pet | (n) คนโปรด, See also: คนที่โปรดปราน, Syn. darling, favourite, dear | pet | (adj) ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, See also: ซึ่งเป็นที่รักใคร่เป็นพิเศษ, ซึ่งพอใจยิ่ง, Syn. beloved, dear, preferred | please | (adv) ได้โปรด (ใช้แสดงการขอร้อง), See also: กรุณา, โปรด | please | (int) ได้โปรด (ใช้แสดงการขอร้อง), See also: กรุณา, โปรด | q.v | (abbr) ดู (คำย่อของ quod vide), See also: โปรดดู | white-headed | (adj) ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, See also: ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบ |
| beg | (เบก) vt. ขอทาน, ขอ, อ้อนวอน, ขอความกรุณา -Phr. (beg off ขอได้โปรดยกเว้น), Syn. entreat | beware | (บิแวร์') { bewared, bewaring, bewares } vi., vt. ระวัง, โปรดระวัง, ระวังตัว, Syn. shun, mind | cosset | (คอส'ซิท) { cossetted, cossetting, cossets } n. คนโปรด, ลูกแกะที่เลี้ยงด้วยมือตนเอง, สัตว์เลี้ยง. vt. ตามใจ, พะนอ, โอ๋ | deus vult | (เด'อูส'วูลท') Latin พระเจ้าทรงโปรด | disfavor | (ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรด, Syn. disgrace | disfavour | (ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรด, Syn. disgrace | fair-haired | (แฟร'แฮร์ดฺ) adj. ซึ่งมีผมสีทอง, คนโปรดของนาย, Syn. favourite | favorable | (เฟ'เวอะระเบิล) adj. เห็นด้วย, ซึ่งเป็นที่นิยมชมชอบ, เป็นที่โปรดปราน, ซึ่งอำนวยประโยชน์., See also: favorableness, favourableness n. favorably, favourably adv., Syn. benefit | favored | (เฟ'เวอด) adj. ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษ, ซึ่งได้รับการสนับสนุน | favorite | (เฟ'เวอริท) n. คนโปรด, ของโปรด, ผู้แข่งขันที่มีหวังชนะมากที่สุด. adj. ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, ซึ่งได้รับการสนับสนุน | favourable | (เฟ'เวอะระเบิล) adj. เห็นด้วย, ซึ่งเป็นที่นิยมชมชอบ, เป็นที่โปรดปราน, ซึ่งอำนวยประโยชน์., See also: favorableness, favourableness n. favorably, favourably adv., Syn. benefit | favoured | (เฟ'เวอด) adj. ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษ, ซึ่งได้รับการสนับสนุน | favourite | (เฟ'เวอริท) n. คนโปรด, ของโปรด, ผู้แข่งขันที่มีหวังชนะมากที่สุด. adj. ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, ซึ่งได้รับการสนับสนุน | ingratiate | (อินเกร'ชิเอท) vt. ทำให้ (ตัวเอง) เป็นที่โปรดปราน, ทำให้ถูกใจ, เอาใจ, ประจบ., See also: ingratiation n., Syn. captivate | meat | (มีท) n. เนื้อสัตว์ที่ใช้เป็นอาหาร, อาหาร, ส่วนที่กินได้, ส่วนสำคัญ, จุดสำคัญ, ของโปรด, สิ่งที่ชอบทำ, อาหารมื้อสำคัญ. | messiah | (มีไซ'อะ) n. ผู้มาโปรดโลก, ผู้มาโปรดชนชาวยิว, พระเยซูคริสต์. -Messianic adj. -Messionically adv., Syn. Jesus Christ | p.t.o. | abbr. please turn over โปรดพลิก (หน้าหนังสือ) | percentile | (เพอเซน'ไทลฺ) n. ค่าของตัวแปรที่แบ่งการแจกแจงของตัวแปรออกเป็น100, กลุ่มที่มีความถี่ (frequencies) เท่ากัน. adj. เกี่ยวกับค่าตัวแปรดังกล่าว | pray | (เพร) vt. สวดมนต์, อธิษฐาน, ขอร้อง, วิงวอน, ภาวนา, ขอได้โปรด., See also: prayingly adv. | q. | v. abbr. quod vide (ดู, โปรดดู) | r.s. | v.p., rsvp abbr. repondez s'il vous plait (โปรดตอบ) | r.s.v.p. | v.p., rsvp abbr. repondez s'il vous plait (โปรดตอบ) | rsvp | v.p., rsvp abbr. repondez s'il vous plait (โปรดตอบ) | suction | (ซัค'เชิน) n. การดูด, การดึงดูด, แรงดูด, แรงดึงดูด, การทำให้เกิดแรงดึงดูด, การดื่มเหล้า, การเป็นที่โปรดปรานจากเบื้องบน | white-headed | (ไวทฺ'เฮด'ดิด) adj. มีผมสีขาว, มีผมหงอก, เป็นที่โปรดปราน, Syn. whitehaired |
| darling | (adj) น่ารัก, เป็นที่รัก, เป็นที่โปรดปราน | darling | (n) ที่รัก, ยอดรัก, ทูนหัว, สุดที่รัก, ขวัญใจ, คนรัก, คนโปรด | disfavour | (vt) ไม่พอใจ, ไม่โปรด, กริ้ว, ไม่ชอบ, ไม่ถูกใจ, ไม่เห็นด้วย | favor | (n) ความชอบ, ความโปรดปราน, ความกรุณา, การสนับสนุน, การเข้าข้าง | favour | (n) ความชอบ, ความโปรดปราน, ความกรุณา, การสนับสนุน, การเข้าข้าง | favour | (vt) ชอบ, ให้, โปรดปราน, พอใจ, นิยม, เข้าข้าง, สนับสนุน | favourable | (adj) เหมาะ, โชคอำนวย, ซึ่งอำนวยประโยชน์, เป็นที่ชื่นชอบ, เป็นที่โปรดปราน | favourite | (adj) ที่ชอบมาก, ที่โปรดปราน, ที่ชื่นชอบ | favourite | (n) สิ่งที่ชอบมาก, คนโปรด, ของโปรด, ตัวโปรด, ตัวเก็ง | please | (vt) ทำให้พอใจ, โปรด, ทำให้ชอบ, ทำให้ถูกใจ | pray | (vt) สวดมนตร์, อ้อนวอน, โปรด, ภาวนา, ขอร้อง, อธิษฐาน |
| apple of one's eye | บุคคลที่เป็นที่โปรดปราน, Syn. A favoured person | endorsement | (n) officially approved ได้รับการอนุญาต ในที่นี้หมายถึง ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี | fuck off | (phrase, vulgar) ออกไป, ไปไกลๆ (หยาบคาย, โปรดระวังการใช้งาน), Syn. clear off | Please | [ได้-โปรด] (n, vi, vt) ได้โปรด | Please | [ได้-โปรด] (n, vi, vt) ได้โปรด | Please kindly be advised for the approval. | จึงเรียนมาเพื่อโปรดอนุมัติ | ลากิจ | (n) โปรดแต่งกายสุภาพสวมใส่เครื่องแบบที่สะอาด สวมรองเท้าหุ้มส้นภายในสถานที่ทำงาน |
| 通り | [とおり, toori] (n) ตาม เช่น その通りをして下さい (โปรดปฏิบัติตามนั้น) |
| 下さい | [ください, kudasai] (adj, org) กรุณา ได้โปรด | 本命 | [ほんめい, honmei] (n) (เฟ'เวอริท) n. คนโปรด, ของโปรด, ผู้แข่งขันที่มีหวังชนะมากที่สุด. adj. ซึ่งเป็นที่โปรดปราน, ซึ่งได้รับการสนับสนุน | 問題解決 | [もんだいかいけつ, mondaikaiketsu] ปัญหาคลี่คลาย (โปรดตรวจสอบกับผู้ชำนาญการอีกครั้ง) |
| Halt das Maul! | (phrase, slang) หุบปาก (หยาบมาก เนื่องจาก Maul นั้นปกติแปลว่าปากของสัตว์ โปรดระวังเวลาใช้) | bitte | กรุณา, ได้โปรด เช่น Bitte nehmen Sie Platz! กรุณานั่งได้ หรือ เชิญนั่ง | Würze | (n) |die, pl. Würzen| เครื่องปรุงที่ใช้แต่งเติมรสชาดของอาหาร Maggi ist seine Lieblingswürze. แมกกี้เป็นเครื่องปรุงรสที่เขาโปรดปราน, See also: das Gewürz | sich umziehen | (vt) |zog sich um, hat sich umgezogen| เปลี่ยนเสื้อผ้า เช่น Tum, gib mir 5 Minuten bitte! Ich muß mich für die Party umziehen. ตุ้มครับ ขอเวลาผมห้านาทีนะ ได้โปรด ผมต้องเปลี่ยนชุดสำหรับงานเลี้ยงก่อน | tragen | (vt) |trägt, trug, hat getragen| สวมใส่เสื้อผ้า เช่น Gestern hat er eine auffällige rote Jacke getragen. เมื่อวานเขาใส่เสื้อแจ็กเก็ตสีแดงแปรดเตะตามากเลย, See also: anziehen, Syn. anhaben | Aufschrift | (n) |die, pl. Aufschriften| ฉลากที่ติดตามขวดหรือห่อของ เช่น Die Aufschrift auf dem Karton lautet: Vorsicht Glas! ฉลากที่ข้างกล่องบอกว่า โปรดระวังแก้ว | Käse | (n) |der, nur Sg.| เนยแข็ง (ผลิตผลที่เป็นของแข็งจากนม มีหลายรสขึ้นกับสายพันธ์ของแบคทีเรียที่ใส่ลงไปหมัก) เช่น Gauda ist mein Lieblingskäse. เกาด้าเป็นเนยแข็งที่ฉันโปรดปราน | ins kalte wasser schmeissen | (phrase) โปรดดู ins kalte wasser werfen, Syn. ins kalte wasser werfen |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |