ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การจัด, -การจัด- |
| 政権交代 | [せいけんこうたい] การเปลี่ยนพรรคการเมืองที่มาเป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล(ดังนั้นหากเป็นแค่การเปลี่ยนพรรคร่วมรัฐบาล โดยที่พรรคที่เป็นผู้นำยังคงเป็นพรรคเดิม ก็ยังไม่สามารถใช้คำนี้ได้) |
|
| การจัดสวน | (n) garden arrangement, See also: gardening, Example: งานอดิเรกของฉันคือการจัดสวน | การจัดส่ง | (n) distribution, See also: delivery, Example: การจัดส่งสินค้าสมัยปัจจุบันมีความสะดวกรวดเร็วมาก | การจัดระบบ | (n) systematization, Example: กรุงเทพมหานครปรับปรุงการจัดระบบบริการข้อมูลข่าวสารให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น, Thai Definition: การจัดให้เป็นหมวดหมู่หรือแบ่งประเภทให้เป็นระเบียบ | การจัดแต่ง | (n) decoration, See also: adornment, ornament, embellishment, Example: การจัดแต่งสวนเป็นงานที่ฉันรัก | การจัดประเภท | (n) categorization, See also: classification, Example: การจัดประเภทของคำสามารถดูได้จากหน้าที่ของคำ | การจัดเตรียม | (n) preparation, See also: arrangement, readiness, Example: ก่อนออกเดินป่าต้องมีการจัดเตรียมข้าวของสัมภาระอย่างละเอียดรอบคอบ | การจัดจำหน่าย | (n) sale, Syn. การขาย, การจำหน่าย, Example: การจัดจำหน่ายสินค้าราคาถูกมีขึ้นที่ลานหน้าหมู่บ้าน | กรมการจัดหางาน | (n) Department of Employment, Example: กรมการจัดหางานจัดบู๊ทรับสมัครงาน ณ ท้องสนามหลวง, Count Unit: กรม | การจัดระเบียบทางสังคม | (n) social organization, Example: การจัดระเบียบทางสังคมก่อให้เกิดความสงบสุขในสังคม | สำนักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก | (n) Office of the Commission for the Management of Road Traffic, See also: OCMLT, Syn. สจร., Example: สำนักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบกได้ริเริ่มจัดทำโครงการทางแยกปลอดภัยขึ้น เพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ |
| การจัดรูปที่ดิน | น. การดำเนินงานพัฒนาที่ดินที่ใช้เพื่อเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงที่ดินทุกแปลงเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทำการรวบรวมที่ดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกัน เพื่อวางผังจัดรูปที่ดินเสียใหม่และสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและพัฒนาที่ดินนั้น. | การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ | น. การดำเนินการพัฒนาที่ดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปที่ดินใหม่ ปรับปรุงหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่วมรับภาระและกระจายผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับรัฐ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านต่าง ๆ. | การจัดสรรที่ดิน | น. การจำหน่ายที่ดินที่ได้แบ่งเป็นแปลงย่อยรวมกันตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งจากที่ดินแปลงเดียวหรือแบ่งจากที่ดินหลายแปลงที่มีพื้นที่ติดต่อกัน โดยได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์เป็นค่าตอบแทน และให้หมายความรวมถึงการดำเนินการดังกล่าวที่ได้มีการแบ่งที่ดินเป็นแปลงย่อยไว้ไม่ถึงสิบแปลงและต่อมาได้แบ่งที่ดินแปลงเดิมเพิ่มเติมภายในสามปี เมื่อรวมกันแล้วมีจำนวนตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไปด้วย. | กฎหมายปกครอง | น. กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่วางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบในทางปกครองของรัฐ และการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ รวมทั้งวางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน. | กองทัพน้อย | น. หน่วยทหารที่ประกอบด้วยทหารหลายกองพล มีจำนวนไม่แน่นอน เป็นการจัดตั้งขึ้นเฉพาะกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง มีแม่ทัพน้อยเป็นผู้บังคับบัญชา. | การคลัง | น. การจัดการเงิน, การคลังแผ่นดิน หรือ การคลังสาธารณะ คือ การจัดการเงินของประเทศ, การคลังเอกชน คือ การจัดการเงินของบุคคล เช่น บริษัท | การฌาปนกิจสงเคราะห์ | น. กิจการที่บุคคลหลายคนตกลงเข้าร่วมกันเพื่อทำการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันในการจัดการศพ หรือจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ตกลงเข้าร่วมกันนั้นซึ่งถึงแก่ความตาย และมิได้ประสงค์จะหากำไรหรือรายได้เพื่อแบ่งปันกัน. | การทะเบียนราษฎร | น. งานทะเบียนต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร. | การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | น. การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐนำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนมาจัดให้แก่เกษตรกรผู้ยากจน โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม. | การเมือง | น. งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน เช่น วิชาการเมือง ได้แก่วิชาว่าด้วยรัฐ การจัดส่วนแห่งรัฐ และการดำเนินการแห่งรัฐ. | แกนนำ | ผู้ที่เป็นหลักในการเจรจาเพื่อดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พรรคที่ได้คะแนนเสียงข้างมากเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล. | ข้อกำหนดพินัยกรรม | น. ข้อความที่ระบุไว้ในพินัยกรรมในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นทรัพย์มรดก หรือในการต่าง ๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อผู้ทำพินัยกรรมตายแล้ว เช่น สิทธิในการรับมรดก การจัดการทรัพย์มรดก การโอนทรัพย์มรดก. | คณะกรมการจังหวัด | น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. | คหกรรมศาสตร์ | (คะหะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม. | งานสารบรรณ | น. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย. | จตุสดมภ์ | น. การจัดระเบียบราชการฝ่ายพลเรือนส่วนกลาง ประกอบด้วยกรมใหญ่ ๔ กรม คือ กรมเมือง กรมวัง กรมคลัง กรมนามีจตุสดมภ์เสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชาแต่ละกรม. | จวน ๑ | น. ที่อยู่ของเจ้าเมือง, บ้านที่ทางราชการจัดให้เป็นที่อยู่ของผู้ว่าราชการจังหวัด เรียกว่า จวนผู้ว่าราชการจังหวัด. | โต๊ะโขก | น. แบบการจัดโต๊ะตั้งเครื่องบูชาอย่างจีนแบบหนึ่ง. | ทฤษฎีใหม่ | น. หลักวิชาการจัดการเกษตรที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็ง มี ๓ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นต้น คือ ครอบครัวเกษตรกรรายย่อยบริหารจัดการพื้นที่ทำกินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน คือ พื้นที่ขุดสระ พื้นที่ปลูกข้าว พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน และพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อให้เกิดการผลิตที่พออยู่พอกิน ขั้นกลาง คือ รวมเป็นกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมเพิ่มผลผลิตและจำหน่ายอย่างมีพลังต่อรอง และขั้นก้าวหน้า คือ สร้างเครือข่ายนอกชุมชนเพื่อหาแหล่งทุนมาร่วมลงทุนและพัฒนา ทุกขั้นตอนเน้นความมัธยัสถ์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. | ธุรการ | น. การจัดกิจการงานโดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานวิชาการ. | ธุรกิจหลักทรัพย์ | น. การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่าคณะกรรมการ ก.ล.ต. | นางร้องไห้ | น. หญิงผู้ดี มีฐานะเป็นเจ้าจอม เจ้าจอมมารดาในพระมหากษัตริย์ที่สวรรคต ได้รับการจัดมาร้องไห้หน้าพระบรมโกศซึ่งทรงพระบรมศพเป็นการอาลัย. | นิตยภัต | น. อาหารหรือค่าอาหารที่ถวายภิกษุสามเณรเป็นนิตย์, เงินงบประมาณแผ่นดินที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลเป็นประจำทุกปี เพื่อเบิกจ่ายถวายอุดหนุนอุปถัมภ์แก่พระภิกษุผู้ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ พระสังฆาธิการ พระเลขานุการ พระเปรียญธรรม ๙ ประโยค เป็นต้น. | บริคณห์สนธิ | น. เอกสารก่อตั้งบริษัทจำกัดซึ่งผู้เริ่มก่อการบริษัท เข้าชื่อกันจัดทำขึ้นตามข้อกำหนดของกฎหมายในการจัดตั้งบริษัทจำกัด เรียกว่า หนังสือบริคณห์สนธิ. | บริษัทหลักทรัพย์ | น. บริษัทหรือสถาบันการเงิน ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการ ก.ล.ต. | ประมวลการสอน | น. หนังสือหรือเอกสารที่แสดงเนื้อหาของหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอน. | ผู้โฆษณา | น. บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการจัดให้สิ่งพิมพ์นั้นแพร่หลายด้วยประการใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นการขายหรือให้เปล่า. | พลาธิการ | น. หน่วยงานของทหารและตำรวจ มีหน้าที่ควบคุมการจัดที่พัก จัดเครื่องใช้ จัดอาหาร ฯลฯ | พิธาน | น. วิธาน, การจัดแจง, การทำ. | แม่งาน | น. หัวหน้าผู้รับผิดชอบในงานบางอย่าง เช่น เขาเป็นแม่งานในการจัดเลี้ยงแขกที่มาในงาน. | ยกกระบัตร | เจ้าหน้าที่ในการจัดหาเครื่องใช้ของทหาร | ราชกิจจานุเบกษา | น. สิ่งพิมพ์ของทางราชการที่จัดให้มีขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อเป็นที่ประกาศข้อมูลข่าวสารของทางราชการที่ประสงค์จะให้ประชาชนได้ทราบ เช่น กฎหมาย ประกาศคนล้มละลาย การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบริษัท. | รูปธรรม | สิ่งที่สามารถแสดงออกมาให้ปรากฏเป็นจริงเป็นจังมิใช่เป็นเพียงทฤษฎีเท่านั้น, สิ่งที่สามารถปฏิบัติได้, เช่น ต้องทำโครงการพัฒนาชนบทให้เป็นรูปธรรมด้วยการจัดให้มีนํ้ากินนํ้าใช้เป็นต้น. | แรงงานและสวัสดิการสังคม | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารแรงงาน การจัดหางาน การประชาสงเคราะห์ การพัฒนาฝีมือแรงงาน การสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม. | ละครพูด | น. ละครแบบหนึ่ง รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครพูดบทของตนในการดำเนินเรื่อง อาจพูดเป็นถ้อยคำธรรมดา คำกลอน คำฉันท์ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น ละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ ละครพูดคำกลอนเรื่องพระร่วง ละครพูดคำฉันท์เรื่องมัทนะพาธา. | ละครร้อง | น. ละครแบบหนึ่ง ได้รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องเพลงเองในการดำเนินเรื่องและมีลูกคู่ช่วยร้องเป็นตอน ๆ มีบทเจรจาแทรก มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น ละครร้องเรื่องพระร่วง เรื่องสาวเครือฟ้า. | ละครสังคีต | น. ละครแบบหนึ่ง ได้รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องและพูดบทของตน การร้องเพลงและการพูดมีความสำคัญเท่ากัน ถ้าตัดส่วนใดออกเนื้อเรื่องจะขาดไป ดนตรีประกอบไพเราะ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น เรื่องวิวาหพระสมุท มิกาโด วั่งตี. | วิกัติ | การประดิษฐ์ทำ, การจัดทำให้เป็นต่าง ๆ กัน. | วิธาน | น. การจัดแจง, การทำ | วิภัตติ | (วิพัด) น. การแบ่ง, การจัดเป็นพวก, การจำแนก | ศุลกากร | ชื่อกรมที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาและส่งออกไปนอกราชอาณาจักร และพัฒนาส่งเสริมด้านการค้าระหว่างประเทศและการส่งออก. | สารบรรณ | (สาระ-) น. หนังสือที่เป็นหลักฐาน, เรียกงานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร ว่า งานสารบรรณ. | หนังสือราชการ | น. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการ หนังสือที่หน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการหรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐาน และเอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ. | อุดหนุน | ก. ช่วยเหลือสนับสนุน เช่น บริษัทเอกชนอุดหนุนการจัดงานวันเด็ก, ช่วยเหลือให้อยู่ได้ เช่น ร้านนี้มีลูกค้ามาอุดหนุนเป็นประจำ. | อุปกรณ์ | สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปรกตินิยมเฉพาะถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าของทรัพย์ที่เป็นประธาน เป็นของใช้ประจำอยู่กับทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นอาจิณเพื่อประโยชน์แก่การจัดดูแล ใช้สอย หรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน และเจ้าของทรัพย์ได้นำมาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธานโดยการนำมาติดต่อหรือปรับเข้าไว้ หรือทำโดยประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้ประกอบกับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น เช่น ยางอะไหล่. |
| processed result | ผลการประมวลผล, ผลการจัดกระบวนข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | processing | การประมวลผล, การจัดกระบวน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | polity | ๑. องค์การทางการเมือง๒. การจัดระเบียบองค์การทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | payments, appropriation of | การจัดสรรการชำระหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | procurement | การจัดหา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | procuremental of woman | การจัดหาหญิงไปเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของผู้อื่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | preference ordering | การจัดลำดับตามความนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | provision | ๑. บทบัญญัติ, ข้อกำหนด๒. การจัดหาให้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | population redistribution policy | นโยบายการจัดกระจายประชากรขึ้นใหม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | phase displacement | การจัดเฟส [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | party organization | ๑. การจัดระเบียบพรรค๒. องค์การพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public health management | การจัดการสาธารณสุข [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | procuration | ๑. การเป็นผู้จัดการงานแทน (ก. แพ่ง)๒. การจัดหาหญิงไปเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของผู้อื่น (ก. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | loss adjustment | การจัดการค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | redistribution of population | การจัดกระจายประชากรขึ้นใหม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | routing | การจัดเส้นทาง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reinstatement | ๑. การฟื้นสัญญา๒. การจัดทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | reinstatement clause | ข้อกำหนดการจัดทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | reinstatement memorandum | ข้อกำหนดการจัดทดแทน มีความหมายเหมือนกับ reinstatement clause ความหมายที่ ๑ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | reinstatement premium | เบี้ยประกันภัยเพื่อการจัดทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | ranking of creditors | การจัดลำดับสิทธิของเจ้าหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | resource management | การจัดการทรัพยากร [ ใช้ในโอเอส ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | reorganization | การจัดระเบียบใหม่, การจัดองค์การใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reposition | การจัดคืนที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | retention | ๑. การจัดเข้าที่๒. การกักคั่ง๓. การยึดตรึง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | scientific management | การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | settlement of an estate | ข้อตกลงเกี่ยวกับการจัดการมรดก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | standardisation; standardization | การจัดเข้ามาตรฐาน, การเทียบมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stratification, class | ๑. การจัดช่วงชั้นในสังคม๒. การจัดกลุ่ม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | social organization | ๑. การจัดระเบียบสังคม๒. องค์การสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | systematization; systematisation | การจัดระบบ, การจัดเข้าระบบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | supply bond | กรมธรรม์ค้ำประกันการจัดหา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | string manipulation | การจัดดำเนินการสายอักขระ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | stratification | การจัดชั้นภูมิ, การจัดช่วงชั้น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | set-up; setup | การจัดเตรียม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | sanitisation; sanitization | การจัดถูกหลักสุขาภิบาล, การจัดให้ถูกอนามัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sanitization; sanitisation | การจัดถูกหลักสุขาภิบาล, การจัดให้ถูกอนามัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | systematisation; systematization | การจัดระบบ, การจัดเข้าระบบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sifting committee | คณะกรรมาธิการจัดลำดับร่างกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | science, management | วิทยาการจัดการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | set-up; setup | การจัดเตรียม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | social stratification | การจัดช่วงชั้นทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | social stratification | การจัดช่วงชั้นทางสังคม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | standardization; standardisation | การจัดเข้ามาตรฐาน, การเทียบมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | organization, social | ๑. การจัดระเบียบสังคม๒. องค์การสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | orientation of collector | การจัดทิศทางตัวเก็บรังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | organization | ๑. องค์การ๒. การจัดองค์การ๓. การจัดระเบียบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | organization | ๑. องค์การ๒. การจัดองค์การ๓. การจัดระบบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | organization theory | ทฤษฎีการจัดองค์การ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | organization, administrative | การจัดระเบียบทางการปกครอง, การจัดระเบียบราชการบริหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Shelving for periodical | การจัดชั้นวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Knowledge management | การจัดการองค์ความรู้, <p>การจัดการองค์ความรู้</p> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information resources manegement | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Acquisition | การจัดหา, Example: <p>การจัดหา (Acquisition) ในที่นี้หมายถึงการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ ศูนย์บริการความรู้ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรสารสนเทศ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิก การขอหรือได้รับบริจาค การแลกเปลี่ยน และการจัดทำขึ้นเอง <p>1. การจัดซื้อ เป็นวิธีที่ห้องสมุดใช้ในการจัดหามากที่สุด วิธีการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศทั่วไปที่ห้องสมุดนิยมใช้ ได้แก่ การสั่งซื้อแบบรายย่อย การสั่งซื้อแบบรวม การสั่งซื้อแบบประจำ การสั่งซื้อแบบเสนอให้เลือก และการสั่งซื้อแบบให้ตัวแทนเลือกให้ <p>2. การขอและรับบริจาค เป็นอีกวิธีหนึ่งของการจัดหาที่ประหยัดงบประมาณของห้องสมุด วิธีการขอหรือรับบริจาคทรัพยากรสารสนเทศนั้น ห้องสมุดอาจทำเป็นครั้งคราวหรือขอสมัครเป็นสมาชิกเพื่อรับทรัพยากรสารสนเทศนั้นเป็นประจำ แหล่งที่บริจาค ได้แก่ หน่วยงานของรัฐบาล ห้องสมุด องค์กรระหว่างประเทศ องค์กรการกุศล องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร มูลนิธิ หน่วยงานที่จัดกิจกรรมวิชาการ เช่น การประชุม สัมมนา เป็นต้น <p>3. การแลกเปลี่ยน วัตถุประสงค์ของการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกันระหว่างห้องสมุด คือ การจัดหาทรัพยากรที่ไม่มีจำหน่ายโดยทั่วไป เช่น วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ สิ่งพิมพ์ของห้องสมุดหรือหน่วยงานที่สังกัด รายงานการประชุมหรือสัมมนา รายงานประจำปี เป็นต้น ซึ่งทรัพยากรสารสนเทศที่จะแลกเปลี่ยนดังกล่าวห้องสมุดมีซ้ำ จำนวนมากเกินความจำเป็น หรือไม่ตรงกับความต้องการของห้องสมุด <p>4. การบอกรับ เป็นวิธีจัดหาวิธีหนึ่ง นิยมใช้กับทรัพยากรสารสนเทศที่มีการปรับปรุงสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้แก่ วารสาร และฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ / ออนไลน์ เช่น บทความวารสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม เอกสารอื่น ๆ เป็นต้น การบอกรับกระทำโดยการเป็นสมาชิกของสำนักพิมพ์ / ผู้ผลิต หรือ ตัวแทนจำหน่าย / บริษัทผู้ให้บริการ <p>5. การผลิตหรือจัดทำขึ้นเอง ห้องสมุดจำเป็นต้องมีการผลิตทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ ทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดผลิตหรือจัดทำขึ้น เช่น กฤตภาค รูปภาพ ดัชนี บรรณานุกรม จุลสาร วารสารและสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของห้องสมุด รวมทั้งการแปลงสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ / ออนไลน์ เพื่อประหยัดเนื้อที่จัดเก็บ หรือเพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด โดยเฉพาะสิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ เช่น หนังสือหายาก ต้นฉบับตัวเขียน เป็นต้น ห้องสมุดจะให้บริการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ในรูปแบบของแผ่นซีดีรอม แผ่นดีวิดี หรือฐานข้อมูลออนไลน์ <p>ด้วยวิธีการจัดหาทั้งหมดดังกล่าว ก่อให้เกิดความสำคัญในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ คือ <p>1. ทำให้ห้องสมุดได้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีคุณค่า <p>2. ทำให้ได้ทรัพยากรสารสนเทศที่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ <p>3. ทำให้ห้องสมุดประหยัดงบประมาณในการจัดหา และประหยัดเวลาในการทำงาน <p>4. ทำให้ห้องสมุดสามารถดำเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cataloging in Publication | การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Electronic document delivery service | บริการจัดส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Filing system | การจัดเก็บเอกสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Knowledge management KM | การจัดการองค์ความรู้, การบริหารองค์ความรู้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Arrangement | การจัดลำดับเนื้อเรื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographic service | บริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Chronological arrangement | การจัดเนื้อเรื่องตามลำดับวันเดือนปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Close shelf system | การจัดชั้นหนังสือระบบชั้นปิด, ระบบชั้นปิด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Decimal classification | การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ, Example: <p>ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ หรือ ระบบการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการที่มีการคัดเลือก ควบคุม โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงและกระบวนการใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องจากแหล่งภายในและภายนอก ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ โดยเป็นทั้งระบบที่จัดทำด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีสถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทหน้าที่ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในช่องทางที่เป็นทางการ และเป็นตัวกลางที่สำคัญเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ <p>พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ มี 2 ช่วงคือ ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 และ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 <p>1. ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 เป็นการพัฒนาระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์ของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทห้องสมุด การจัดหมวดหมู่ซึ่งพัฒนามาเป็นระบบหมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้ และ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งการจัดทำดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก มีการพัฒนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก ซึ่งเป็นการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อ เช่น กระดาษลงฟิล์ม เทคโนโลยีในการค้นคืนระบบแรก เป็นเทคนิคการทำเครื่องมือค้นประเภทบัตรเจาะบันทึกหัวเรื่อง การทำดรรชนี เช่น ควิก และริเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ทำบัตรรายการ <p>2. ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่สำคัญ เช่น การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่ คือ โอซีแอลซี (OCLC : Online Computer Library Center) และอาร์แอลไอเอ็น (RLIN : Research Libraries Information Network) บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เช่น กลุ่มไดอะลอก ออบิต และอินเทร์เน็ตกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information resources management | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collection management (Libraries) | การจัดการทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Hard disk management | การจัดการฮาร์ดดิสก์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | File organization (Computer science) | การจัดแฟ้มข้อมูล (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Acquisition (Libraries) | การจัดหาทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Acquisition of serial publication | การจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Shelving for book | การจัดชั้นหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Shelving for periodical | การจัดชั้นวารสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Information storage and retrieval systems | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Software configuration management | การจัดการโครงการแบบซอฟต์แวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Software configuration management | การจัดการโครงแบบซอฟต์แวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic procurement | การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Spot Purchase | การจัดซื้อน้ำมันจากตลาดจร [ปิโตรเลี่ยม] | Term Purchase | การจัดซื้อน้ำมันดิบแบบสัญญามีระยะเวลา, Example: การซื้อในกรณีที่ผู้ซื้อมีความต้องการน้ำมันดิบบางชนิดจากแหล่งบางแหล่งเป็นพิเศษเพื่อใช้กลั่นให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติตามต้องการ หรืออีกกรณีหนึ่งผู้ซื้อหรือโรงกลั่นต้องการลดความเสี่ยงและความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากภาวะที่ไม่มีน้ำมันดิบเข้ากลั่นทันเวลา โดยปกติสัญญาจะมีอายุเวลา 1 ปี แต่หากสถานการณ์น้ำมันดิบไม่แน่นอน ราคาเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเร็วมาก สัญญาซื้อขายอาจจะลดระยะเวลาลงเหลือเพียง 3-6 เดือน [ปิโตรเลี่ยม] | Agricultural management | การจัดการทางการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] | Front end fee | ค่าธรรมเนียมในการจัดหาเงินกู้ [เศรษฐศาสตร์] | Demand management | การจัดการอุปสงค์ [เศรษฐศาสตร์] | Distribution | การจัดจำหน่าย [เศรษฐศาสตร์] | Distribution cost | ค่าใช้จ่ายการจัดจำหน่าย [เศรษฐศาสตร์] | Distribution network | เครือข่ายการจัดจำหน่าย [เศรษฐศาสตร์] | Bilateral payments arrangement | การจัดการชำระเงินแบบทวิภาคี [เศรษฐศาสตร์] | Buy-back arrangement | การจัดซื้อคืน [เศรษฐศาสตร์] | Budgeting | การจัดทำงบประมาณ [เศรษฐศาสตร์] | Catering | บริการจัดทำอาหาร [เศรษฐศาสตร์] | Procurement | การจัดหา [เศรษฐศาสตร์] |
| I was able to assist my old friend by taking up his notes. | ฉันก็ได้ช่วยเหลือ เพื่อนเก่า ด้วยการจัดแจงนิดหน่อย Wuthering Heights (1992) | There's classified government information I've been trying to access but someone has been blocking me. | เกิดอะไร ? มีการจัดแยกข้อมูลของรัฐบาล ผมพยายามจะเข้าไปดู... Deep Throat (1993) | We were having this dinner party once and he sprinkled Tetra Meal D over his food. | ครั้งหนึ่ง เรามีการจัดปารตี้อาหารเย็น แล้ว... . อืม... Squeeze (1993) | Well, there's this passage I got memorized. Sort of fits this occasion. | ดีมีทางเดินที่ผมจำนี้ การจัดเรียงของที่เหมาะกับโอกาสนี้ Pulp Fiction (1994) | I had it in storage for three years. | ผมในการจัดเก็บข้อมูลเป็นเวลาสามปี Pulp Fiction (1994) | What's your thoughts on- on- on how to handle this? | อะไรคือความคิดของคุณจอจอ เกี่ยวกับวิธีการจัดการนี้ Pulp Fiction (1994) | - That's some handle you got there, honey. | - นั่นคือการจัดการบางอย่างที่คุณได้มีน้ำผึ้ง Pulp Fiction (1994) | 'Cause it ain't there, 'cause storing dead niggers ain't my fuckin' business, that's why! | เพราะมันไม่ได้มี 'ทำให้การจัดเก็บพวกนิโกรที่ตายแล้วไม่ได้ธุรกิจของไอ้ที่ว่าทำไม! Pulp Fiction (1994) | The colossal prick even managed to sound magnanimous. | ทิ่มใหญ่ยังมีการจัดการเสียงใจกว้าง The Shawshank Redemption (1994) | No, it's a setup. | ไม่ มันเป็นการจัดฉากแน่ๆ In the Mouth of Madness (1994) | What I am suggesting, Mr. Williams is that our problems seem highly coincidental with my qualification of your mountain as a hill. | ผมพูดถึงอะไรเหรอ คุณวิลเลี่ยมส์ ปัญหาของผมคงบังเอิญเกี่ยวข้อง กับการจัดภูเขาคุณให้เป็นเนินใช่มั้ย The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | This poor child has no mother, so I shall take responsibility for all the arrangements. | ดังนั้นฉันควรจะเป็น ฝ่ายรับผิดชอบเรื่องการจัดงาน-- Rebecca (1940) | She's certainly learned that trick of arranging flowers from Rebecca. | หล่อนต้องเรียนรู้เคล็ดลับ การจัดดอกไม้มาจากรีเบคคาเเน่ๆ Rebecca (1940) | If you had to sort out all that junk, like that thing with the movies. | ถ้าคุณมีการจัดเรียงออกขยะทั้งหมดว่าเหมือนสิ่งมีภาพยนตร์ที่ 12 Angry Men (1957) | The gentleman has a right to see exhibits in evidence. | สุภาพบุรุษมีสิทธิที่จะเห็นการจัดแสดงนิทรรศการในหลักฐาน 12 Angry Men (1957) | You're the only one wants to see exhibits. | คุณเป็นเพียงคนเดียวที่อยากจะเห็นการจัดแสดงนิทรรศการ 12 Angry Men (1957) | In easy to handle denominational nuggets. | ในง่ายต่อการจัดการนักเก็ตนิกาย ไม่มีเครื่องหมาย Help! (1965) | We are going onto the wily Pathan and the use of anti-gas carpet. | เป็นเขี้ยวลากดินปาทานตามมา ด้วย การใช้และการจัดการของพรม ป้องกันก๊าซ How I Won the War (1967) | I've seen your sort fumigated. | ฉันเคยเห็นการจัดเรียงของคุณ รมยา ถ้า วอป สามารถรมยา How I Won the War (1967) | And then I shall go to bed... there. | แล้วฉันจะไปนอนที่นั่น นั่นคือการจัดเรียงของคนที่ฉัน How I Won the War (1967) | At the best, it's rank inefficiency. | เมื่อทุกหยดของการนับน้ำ ที่ดีที่สุดก็คือการขาด ประสิทธิภาพการจัดอันดับ Me! How I Won the War (1967) | - Got his Cert A, passed his commission, | ไม่ควรเขา ฉันมาผ่านการจัดอันดับ How I Won the War (1967) | Sonny was hot for my deal, wasn't he? | ซันนี่เป็นร้อนสำหรับการจัดการของฉันไม่ได้เขา? The Godfather (1972) | I knew a man capable of quite diverse refinements of the sort | ฉันรู้เหมาะแก่ diverse refinements ทีเดียว ของการจัดเรียง Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Now, ladies and gentlemen, it is the distinct pleasure of the management... to present to you the evening's star attraction. | ตอนนี้สุภาพบุรุษและสตรีกับมีความปิติยินดีกับการจัดการ ให้มีการแสดงที่พิเศษ The Blues Brothers (1980) | We trust you found the settlement satisfactory. | เราไว้ใจว่าคุณจะหาพบ การจัดการได้รับความพอใจหรือไม่ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | I wonder why the Pentagon would send a full bird Colonel to handle this? | ผมสงสัยว่าทำไมเพนตากอนจะ ส่งพันเอกนกเต็มในการจัดการนี้ First Blood (1982) | You don't seem to want to accept the fact that you're dealing with an expert in guerilla warfare. | คุณจะไม่ยอมรับความจริงที่ว่า คุณ การจัดการกับความเชี่ยวชาญในการรบแบบกองโจร First Blood (1982) | -Maybe Bowman got... | บางที โบแมน การจัดการที่จะ ได้รับกลับมา 2010: The Year We Make Contact (1984) | And in six months, he has managed to grasp the rudiments of the language. | และในหกเดือนเขามีการจัดการ ที่จะเข้าใจพื้นฐานของภาษา Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | I noticed, as did my uncle, who remarked on it... that Clayton's become attached to you, in a somewhat puppy-ish sort of way. | ฉันสังเกตเห็นเช่นเดียวกับลุง ของฉันที่ข้อสังเกตเกี่ยวกับมัน ... ที่กลายเป็นเคลย์ตันที่แนบมากับคุณใน การจัดเรียงค่อนข้างลูกสุนัข-ish ของทาง Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Uh, we've managed to secure three seats, but there might be a slight inconvenience as you will be riding on a cargo full of live poultry. | เอ่อเราได้มีการจัดการเพื่อรักษาความปลอดภัยสามที่นั่ง แต่อาจจะมีความไม่สะดวกเล็กน้อย ในขณะที่คุณจะได้รับการขี่บนเรือบรรทุกสินค้าเต็มรูปแบบของสัตว์ปีกสด Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | Merely, that you were all meeting to discuss our little financial arrangements. | คิดหรือว่าพวกคุณมาเจอกัน เพื่อจะหารือเกี่ยวกับเรื่องการจัดการเงิน Clue (1985) | I don't approve of murder, but it seems to me you've done the world a public service by ridding it of an appalling blackmailer and his disgusting informers. | ผมไม่เห็นด้วยกับการฆาตกรรม แต่มันดูเหมือนว่าคุณได้ทำ เหมือนเป็นบริการ โดยการจัดการคนแบล็กเมล์ แล้วผู้สมรู้ร่วมคิดของเขา Clue (1985) | Goes to the Cornell School of Hotel Management. | ไปเรียนที่ คอร์เนลล์ สาขาโรงแรม และการจัดการ Dirty Dancing (1987) | What kind of a deal? | สิ่งที่ชนิดของการจัดการ? Bloodsport (1988) | If you expect me to be his punching bag, you can forget about our deal. | แต่ถ้าคุณคาดหวังว่าฉันจะเป็นกระสอบทรายของเขาคุณสามารถลืมเกี่ยวกับการจัดการของเรา Bloodsport (1988) | Every five years, the best fighters in its ranks would face each other in full contact with one winner emerging as the superior warrior the champion. | ทุกห้าปีนักสู้ที่ดีที่สุดในการจัดอันดับของ ... ... จะต้องเผชิญซึ่งกันและกันในการติดต่อแบบเต็ม ... ... กับหนึ่งผู้ชนะเกิดขึ้นเป็นนักรบที่ดีกว่า ... Bloodsport (1988) | I n any case, at the next executive council meeting, your poor management of this last incident will be called into question. | ในกรณีอื่นๆ, ที่ประชุมคณะบริหารคราวหน้า ความไม่มีฝีมือในการจัดการของคุณจาก เหตุการณ์ล่าสุดที่ผ่านมา จะถูกหยิบยกขึ้นมาตั้งคำถาม Akira (1988) | Ask the Colonel for clearance to fire! | ถามท่านผู้พันสำหรับ การจัดการกับไฟนั่น Akira (1988) | Look at the artistry of these carvings, and the scrollwork. | ดูที่ศิลปะ... สิ สิ่งของที่แกะสลักอย่างนี้, และการจัดวาง. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | Today there is a shipment of shoes. | วันนี้มีการจัดส่งของรองเท้า The Russia House (1990) | We have a deal. I expect you to honour that deal. | เรามีการจัดการ ฉันหวังว่าคุณจะให้เกียรติข้อตกลงที่ The Russia House (1990) | Count Spretzle, I think you'll be pleased at our handling of your presentation. | เคานต์สเปร็ตเซิล ผมหวังว่าท่านคงพอใจกับการจัดงานแสดงของเรา Mannequin: On the Move (1991) | We had to make tomorrow's shipment. | เราต้องทำในวันพรุ่งนี้เว็บไซต์นั้นมีการจัดส่งของ Princess Mononoke (1997) | When you were defense minister to the previous Dalai Lama... then you wanted to reorganize the army. | ตอนที่ท่านเป็นรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม ภายใต้องค์ทะไลลามะองค์ก่อน ท่านอยากเปลี่ยนแปลง การจัดการกองทัพ Seven Years in Tibet (1997) | There are some hurts that you never completely get over. | ยังคงมีบางอย่างที่เจ็บปวด ที่ไม่เคยได้รับการจัดการ The Story of Us (1999) | Look how the light from that window fills the room. | ดูซิ ดูการจัดแสงซิ จากหน้าต่างมาสู่ห้อง The Story of Us (1999) | After your expression the "Absolute educational management" | หลังจากการแสดงออกของคุณ "ความสมบูรณ์แบบทางการจัดด้านการศึกษา" GTO (1999) | Excessive educational management kills the good will of teachers | การจัดการศึกษาที่มากเกินไป จะฆ่าครูที่ดี GTO (1999) |
| บริการจัดส่ง | [børikān jat song] (n, exp) EN: delivery service FR: service de livraison [ m ] | การบัญชีเพื่อการจัดการ | [kān banchī pheūa] (n, exp) EN: managerial accounting | การจัด | [kān jat] (n) EN: arrangement ; configuration ; adjustment FR: disposition [ f ] ; organisation [ f ] ; configuration [ f ] ; ajustement [ m ] | การจัดหางาน | [kān jathā ngān] (n, exp) EN: employment | การจัดหาเงินทุน | [kān jathā ngoenthun] (n, exp) EN: acquisition of capital ; raising of capital | การจัดหาเงินทุนโดยออกหุ้นเพิ่ม | [kān jathā ngoenthun dōi øk hun phoēm] (n, exp) EN: equity financing | การจัดอิเล็กตรอน | [kān jat ilektrøn] (n, exp) EN: electron configuration | การจัดจำหน่าย | [kān jat jamnāi] (n, exp) EN: distribution | การจัดจำหน่ายสินค้า | [kān jat jamnāi sinkhā] (n, exp) EN: distribution of goods | การจัดการ | [kān jatkān] (n) EN: management ; administration ; arrangement ; handling FR: management [ m ] ; administration [ f ] | การจัดการบุคลากร | [kān jatkān bukkhalākøn] (n, exp) EN: personal management | การจัดการหน่วยความจำ | [kān jatkān nūay khwāmjam] (n, exp) EN: memory management | การจัดการทางการเงิน | [kān jatkān thāng kān ngoen] (n, exp) EN: financial management | การจัดเก็บภาษี | [kān jat kep phāsī] (n, exp) EN: taxation | การจัดเก็บภาษีอากร | [kān jat kep phāsī-ākøn] (n, exp) EN: public revenue ; revenue receipts ; tax receipts | การจัดลำดับ | [kān jat lamdap] (n, exp) EN: ranking | การจัดองค์กร | [kān jat ongkøn] (n, exp) EN: organizing | การจัดองค์กรใหม่ | [kān jat ongkøn mai] (n, exp) EN: reorganization | การจัดพิมพ์ | [kān jatphim] (n) FR: publication [ f ] | การจัดประเภท | [kān jat praphēt] (n, exp) EN: classification | การจัดเรียง | [kān jatrīeng] (n, exp) EN: arrangement | การจัดสรร | [kān jatsan] (n) EN: allocation FR: allocation [ f[ | การจัดสรรเงิน (ทรัพย์สิน) | [kān jatsan ngoen (sapsin)] (n, exp) EN: asset allocation | การจัดสรรเงินทุน | [kān jatsan ngoenthun] (n, exp) EN: allocation of funds | การจัดสรรงบประมาณ | [kān jatsan ngoppramān] (n, exp) EN: budget allocation | การจัดสรรทรัพยากร | [kān jatsan sapphayākøn] (n, exp) EN: resources allocation | การจัดซื้อ | [kān jat seū] (n, exp) EN: purchasing | การจัดส่งสินค้า | [kān jatsong sinkhā] (n, exp) EN: shipping ; forwarding ; delivery | การจัดทำ | [kān jattham] (n) EN: compilation | การจัดที่นั่ง | [kān jat thīnang] (n, exp) EN: seat configuration FR: disposition des sièges [ f ] ; configuration des sièges [ f ] | การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม | [kān raprøng rabop kān jatkān singwaētlom] (n, exp) EN: Environmental Management System FR: système de management environnemental [ m ] | คณะกรรมการจัดการ | [khanakammakān jatkān] (n, exp) EN: management | คณะกรรมการการจัดการ | [khanakammakān kān jatkān] (n, exp) EN: management | คณะวิทยาการจัดการ | [khana witthayākān jatkān] (n, exp) EN: faculty of management sciences | คณะวิทยาการการจัดการ | [khana witthayākān kān jatkān] (n, exp) EN: faculty of management sciences | เกี่ยวกับการจัดการ | [kīokap kān jatkān] (adj) EN: administrative FR: administratif | กิจกรรมการจัดหาเงิน | [kitjakam kān jathā ngoen] (n, exp) EN: financing activities | ระบบการจัดการเรียนการสอน | [rabop kān jat kān rīen kān søn] (n, exp) EN: learning management system (LMS) | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ | [rabop kān jat mūatmū nangseū] (n, exp) EN: library classification FR: système de classification des livres [ m ] ; système de classification des documents [ m ] | เส้นทางการจัดส่ง | [senthāng kān jatsong] (n, exp) EN: delivery route | เสรีภาพในการจัดพิมพ์ | [sērīphāp nai kān jatphim] (n, exp) EN: freedom of the press FR: liberté de la presse [ f ] | ทักษะในการจัดการ | [thaksa nai kān jatkān] (n, exp) EN: managerial skills | เทคนิคการจัดการ | [thēknik kān jatkān] (n, exp) EN: management techniques FR: techniques de management [ fpl ] | เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ | [thēknik kān jatkān samaimai] (n, exp) EN: modern management techniques ; modern management FR: techniques de management modernes | วิทยาการจัดการ | [witthayākān jatkān] (n, exp) EN: management sciences | วิทยาการการจัดการ | [witthayākān kān jatkān] (n, exp) EN: management sciences |
| franchise | (n) ธุรกิจที่ผู้ค้ารายย่อยดำเนินธุรกิจในนามของอีกบริษัทหนึ่ง โดยได้รับอนุญาตจากบริษัทนั้นๆ โดยมากก็จะขายสินค้าหรือบริการรวมทั้งมีลักษณะการดำเนินธุรกิจ, และรูปลักษณะการจัดร้านที่แนะนำหรือควบคุมโดยบริษัทผู้ให้สิทธิอนุญาต ตัวอย่างเช่น 7-11, ชายสี่หมี่เกี๊ยว | nonranking | (adj,, n) ไม่ได้รับการจัดอันดับ | DEM | (n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น | preproduction | ขั้นตอนก่อนลงมือผลิตชิ้นงานจริง เช่น การหาข้อมูล การประชุม การไปดูสถานที่ (ถ้าต้องใช้สถานที่ในการจัดงานหรือผลิตงาน) การทำตัวอย่างชิ้นงาน (เช่น การสร้างโมเดลของสถาปนิกก่อนที่จะลงมือก่อสร้างจริง) | floristry | (n) ศิลปะการจัดดอกไม้ เช่น If you go straight into a job in floristry, you will be trained on the job by an experienced florist. | appointment | (n) 1. โองการ 2. การแต่งตั้ง, การกำหนด(วัน) 3. การนัดหมาย, การนัดพบ 4. การจัดเครื่องประดับ, เครื่องแต่ง(ห้อง), เครื่องแต่งตัว | gaslighting | (n) การจัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, การปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง | sportswashing | (n) วิธีการใช้การจัดงานมหกรรมกีฬา เช่น โอลิมปิก ฟุตบอลโลก หรือสร้างกิจกรรมเกี่ยวกับกีฬา เช่น ซื้อทีมฟุตบอล เป็นเครื่องมือในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี เพื่อกลบเกลื่อนเรื่องที่ไม่ดี หรือ ข่าวฉาวในเรื่องอื่นๆ |
| administration | (n) การจัดแบ่งทรัพย์สินที่ดิน (ของผู้ตายหรือของบริษัท) | administration | (n) การบริหาร, See also: การจัดการ, Syn. management | adornment | (n) การประดับประดา, See also: การจัดแต่ง, การตกแต่ง, Syn. ornamentation, embellishment | alignment | (n) การจัดให้ถูกตำแหน่ง | alignment | (n) การวางแนว, See also: การจัดเรียง, การจัดให้เป็นแถวตรง, Syn. arrangement, adjustment | allocation | (n) การแบ่งส่วน, See also: การจัดสรรปันส่วน, Syn. allotment, distribution | allotment | (n) การจัดแบ่ง, Syn. distribution, allocation | apportionment | (n) การจัดสรร, See also: การแบ่งสันปันส่วน, Syn. allotment, partition | appropriation | (n) การจัดสรรไว้, Syn. allocation, allotment | arrangement | (n) การจัดการ | arrangement | (n) การจัดเตรียม, See also: การตระเตรียม, Syn. preparation, plan | array | (n) การจัดเรียงตามลำดับ, Syn. arrangement, order | assortment | (n) การจัดประเภท, Syn. classification | classification | (n) การจัดแบ่งประเภท, Syn. grouping, sorting | codification | (n) การจัดระเบียบหมวดหมู่กฎหมายหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ, See also: การเรียบเรียง, การประมวล, Syn. arrangement, classification | composition | (n) การจัดวางองค์ประกอบ, Syn. arrangement, configuration | conduct | (n) การจัดการ, Syn. mange | conductibility | (n) การจัดการ, See also: การควบคุม, Syn. management, guidance | database management system | (n) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์) | deal | (n) การแจกจ่าย, See also: การจัดสรร, การแบ่งปัน, Syn. apportionment, distribution | direction | (n) การควบคุม, See also: การจัดการ, Syn. management, control | disposition | (n) การจัดการ, See also: การควบคุม | division | (n) การแบ่ง, See also: การแบ่งสันปันส่วน, การจัดสรร, Syn. separation, breakup, dividing, Ant. union, fusion | documentation | (n) การเตรียมเอกสาร, See also: กระบวนการจัดเอกสาร | editor | (n) โปรแกรมการจัดการข้อมูล (ของคอมพิวเตอร์) | emplacement | (n) การจัดวางสิ่งต่างๆ, Syn. location, position, site | ergonomics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการจัดวางรูปแบบของที่ทำงานและอุปกรณ์สำนักงานให้เหมาะสม สะดวก ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ, Syn. biotechnology, human engineering | establishment | (n) การสถาปนา, See also: การก่อตั้ง, การจัดตั้ง, การสร้าง, Syn. founding, institution | estivation | (n) การจัดเรียงของกลีบดอกของดอกไม้ตูม, Syn. aestivation | execution | (n) ิการดำเนินการ, See also: การจัดการ, การปฏิบัติการ, Syn. administration | featherbedding | (n) การจัดให้มีคนมากเกินความจำเป็น | footwork | (n) ความสามารถในการจัดการกับสถานการณ์ที่ยุ่งยาก | format | (n) การจัดข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: การจัดรูปแบบข้อมูล | gardening | (n) การจัดสวน, See also: การทำสวน, การเพาะปลูก, Syn. cultivation, growing | hierarchy | (n) การจัดระบบตามลำดับขั้น, See also: การจัดระบบตามลำดับชั้น | queer someone's pitch | (idm) ทำให้แผนการหรือการจัดการเสียหาย, See also: ทำให้รวน | indiction | (n) ช่วงการจัดเก็บภาษีทุก 15 ปีของอาณาจักโรมัน | levy | (n) การจัดเก็บภาษี, Syn. imposing, collecting | lighting | (n) การจัดแสง, See also: การจัดไฟ, การส่องไฟ, Syn. illumination | maladministration | (n) การจัดการที่ไม่ดีหรือไม่ซื่อสัตย์, See also: การปรับตัวไม่ดี, การจัดการไม่มีประสิทธิภาพ, Syn. mismanagement, misrule | manageability | (n) การจัดการได้, See also: การควบคุมได้ | management | (n) การจัดการ, See also: การบริหาร, การควบคุม, การปกครอง, Syn. administration, supervision | management | (n) ความสามารถในการจัดการ | managerial | (adj) เกี่ยวกับการจัดการ, See also: เกี่ยวกับงานของผู้จัดการ, ซึ่งมีลักษณะของการจัดการ, Syn. administrative, executive | managerialism | (n) การจัดการ, See also: งานของผู้จัดการ, ลักษณะของการจัดการ | managerially | (adv) ทางการจัดการ | managership | (n) การจัดการ | managing | (adj) เกี่ยวกับการจัดการ, See also: เกี่ยวกับงานของผู้จัดการ, ซึ่งมีลักษณะของการจัดการ, Syn. managerial | maneuver | (n) การซ้อมรบ, See also: การจัดทัพ, Syn. sham battle, war game | maneuverability | (n) การวางแผนการ, See also: การจัดกลยุทธ์ |
| adjustment | (อะจัสทฺ' เมินทฺ) n. การปรับตัว, การจัด, การปรองดอง, การแก้ไข, ตัวปรับ | administrative | (แอดมิน' นิสเทรทิฟว) adj. ซึ่งเกี่ยวกับการจัดการหรือบริหาร (managerial) | adobe pagemaker | โปรแกรมอโดบี เพจเมกเกอร์ <คำแปล>PageMakerเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง เดิมใช้ชื่อ Aldus PageMaker | adobe photoshop | โปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) | allocation | (แอลโลเค' เชิน) n. การจัดสรร, การแบ่งสรร, การบรรจุ, ภาวะที่ถูกจัดสรรหรือแบ่งสรร, ส่วนแบ่ง, การลงบัญชี, Syn. allotment | allotment | (อะลอท' เมินทฺ) n. การจัดแบ่ง, การจัดสรร, ส่วนที่จัดแบ่ง, ส่วนแบ่งที่ได้รับ, ที่ดินที่ให้คนสวนเช่า (share, portion, deal) | appropriation | (อะโพรพริเอ'เชิน) n. การจัดสรรไว้, การตั้งเงินไว้เป็นพิเศษ, Syn. funds, allocation, allotment | arrangement | (อะเรนจฺ'เมินทฺ) n. การจัด, การจัดการ, ภาวะที่ถูกจัด, ลักษณะการจัด, การตระเตรียม, เพลงที่ได้มีการปรับปรุงใหม่, Syn. plan, preparation, Ant. disarrangement | arrayal | (อะเร'เอิล) n. การจัดเรียง, การสวมใส่เสื้อผ้า, สิ่งที่จัดเรียง, Syn. arrangement | ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล | atomic energy | พลังงานปรมาณูที่เกิดจากการจัดตัวใหม่ของนิวเคลียสของอะตอม. | attribute | (อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น | battle order | n. การจัดขบวนรบ | cascade | (แคส'เคด) { cascaded, cascading, cascades } n. น้ำตกเล็กที่ตกจากหน้าผาที่สูงชัน, น้ำตกเป็นหลั่น ๆ , การต่อไฟฟ้าเป็นหลั่น ๆ , การเชื่อมโยง, ใบพะเนียด vt., vi. ตกลงมาเหมือนน้ำตก, ต่อเนื่องกันเป็นขั้นบันได, Syn. cataract แบบต่อเรียงการจัดเรียงวินโดว์บนจอภาพนั้น สามารถทำได้ 2 แบบ คือให้เป็นแบบต่อเรียง ซึ่งจะทำให้สามารถมองเห็นชื่อของแต่ละวินโดว์ที่เรียงต่อกัน หรือแบบแผ่เรียง tile ซึ่งจะทำให้มองเห็นทุกวินโดว์บนจอพร้อม ๆ กันในขนาดเล็ก ๆ ก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่คำสั่งของผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ ว่าจะสั่งให้เป็นแบบ cascade หรือ tileดู tile เปรียบเทียบ | collection | (คะเลค'เชิน) n. การสะสม, การรวบรวม, เงินสะสม, สิ่งที่เก็บรวบรวมไว้, การจัดเก็บ, การเรียกเก็บ, เงินที่เรี่ยไรมา | columniation | (คะลัมนิเอ'เชิน) n. การจัดเป็นแนวตรง, | combination | (คอมบะเน'เชิน) n. การรวมกัน, จำนวนสิ่งของที่รวมกัน, พันธมิตร, รหัสตัวเลขหรืออักษรของกุญแจที่ไขด้วยการหมุนตัวเลข หรือหมุนอักษรดังกล่าว, การจัดเป็นกลุ่ม -Phr. (in combination with ร่วมกับ), Syn. combining, joining, blend | composition | (คอมพะซิซ'เชิน) n. การประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ทั้งหมด, ผลิตผล, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบ, ภาพประกอบ, ของผสม, การประพันธ์, การแต่งเพลง, การเกิดเป็นสารประกอบ, การตกลงกัน, การประนีประนอม, ข้อตกลง, การจัดเรียงตัวพิมพ์, คุณสมบัติ, อุปนิสัย | computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย | contexture | n. การจัดหรือรวมส่วน, ส่วนประกอบ, โครงสร้าง, เนื้อผ้า, การทอเข้าด้วยกัน, ความตอนต้นหรือตอนต่อจาก | data base | ฐานข้อมูลหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนเป็นคำเดียวกันว่า database | data field | เขตข้อมูลหมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละเรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" (record) | data structure | โครงสร้างข้อมูลหมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ศัพท์ต่าง ๆ ในเรื่องของโครง สร้างของข้อมูลที่คุ้นหู มีอยู่หลายคำ เช่น เขตข้อมูล (field) , แถวลำดับ (array) , ระเบียน (record) , ต้นไม้ (tree) , รายการโยง (linked list) เป็นต้น | database | หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี | dbase | (ดีเบส) เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ได้รับความนิยมมากสมัยหนึ่งในด้านการจัดการฐานข้อมูล (database management) ได้รับการพัฒนาติดต่อกันมาหลายรุ่น (version) | desktop publishing | การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน | dirge | (เดิร์จฺ) n. เพลงสวดในพิธีฝังศพ, สำนักงานการจัดพิธีฝังศพ, การฝังศพและอื่น ๆ , เพลงไว้อาลัยที่เศร้าหรือน่ากลัว | dispensation | n. การแจกจ่าย, ระบบ, การจัดการ, การยกเว้น, การงด, Syn. dispersion, arrangement | disposal | (ดิสโพ'เซิล) n. การจัดวาง, การจัดการ, การจัดวางกำลัง, การกำจัด, Syn. grouping, arrangement | disposition | (ดิสโพซิซ'เชิน) n. ความโน้มน้าว, อารมณ์, การจัดการ, การมอบให้ | document file | แฟ้มเอกสารหมายถึง แฟ้มข้อมูลประเภทหนึ่ง ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ เป็นแฟ้มที่ต้องมีการจัดรูปหน้าไว้เรียบร้อย มักใช้นามสกุล (file type) ว่า .docดู non document file เปรียบเทียบ | documentation | n. การใช้เอกสารพยานประกอบ, การจัดให้มีเอกสารพยานประกอบ | dos | (ดอส) ย่อมาจาก disk operating system (ระบบปฏิบัติการแบบใช้จาน) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับกับการจัดการควบคุมแผ่นบันทึก (disk) หรือที่เรียกว่าระบบปฏิบัติการ (OS) ดอสที่ใช้เฉพาะกับไมโครคอมพิวเตอร์ (ดอสที่ใช้กับเมนเฟรมก็มี เป็นของบริษัทไอบีเอ็ม) | dtp | (ดีทีพี) ย่อมาจาก desktop publishing ซึ่งแปลว่า การจัดพิมพ์ (หรือการจัดเตรียมต้นแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์) ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน | dynamic allocation | การจัดสรรแบบพลวัตหมายถึง การสั่งให้คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลลงในหน่วยความจำของเครื่อง ในขณะเดียวกับที่กำลังปฏิบัติงานของโปรแกรมอื่นอยู่ | echelon | (เอช'ชะลอน) n. การจัดกำลังทหารเครื่องบินหรือยานพาหนะอื่นเป็นขั้นบันได, ระดับตำแหน่ง, ระดับขั้นในระบบองค์กร vt., vi. จัดเป็นขั้นบันได, จัดเป็นระดับ, Syn. rank | emplacement | n. ที่ตั้งปืนใหญ่, แท่นปืน, การวางแถว, การวางเข้าที่, การจัดวาง, Syn. position | engineering | (เอนจินเนีย'ริง) n. วิศวกรรม, การช่าง, การจัดการ, การวางแผนและควบคุมอย่างชำนิชำนาญ, Syn. maneuvering | equipment | (อีควิพ'เมินทฺ) n. อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องประกอบ, การจัดให้มี, การจัดหามาให้, การติดตั้งเครื่องมือ | extended memory specifica | ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XMS (อ่านว่า เอกซ์เอ็มเอส) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys | facing pages | แสดงพร้อมกัน 2 หน้าหมายถึง การสั่งให้จอภาพแสดงสองหน้าพร้อมกัน โดย ปกติ จะแสดงหน้าที่เป็นเลขคี่ทางขวา หน้าที่เป็นเลขคู่ทาง ซ้าย เช่น จะแสดงหน้า 2 ทางซ้าย หน้า 3ทางขวาพร้อม ๆ กัน หน้า 4 ทางซ้าย หน้า 5 ทางขวาพร้อม ๆ กัน เป็นต้น (จะสั่งให้แสดงหน้า 1 ทางซ้ายและหน้า 2 ทางขวาพร้อมกัน ไม่ได้) โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) หรือโปรแกรมการจัดพิมพ์ (desktop publishing) จะมีคำสั่ง facing pages นี้ไว้ให้เลือก เพราะจะทำให้ดูการจัดหน้า ซ้ายและหน้าขวาพร้อม ๆ กันได้ | fat | แฟ็ตย่อมาจาก file allocation table (แปลว่า ตารางการจัดสรรแฟ้ม) ใช้ในระบบดอส หมายถึงส่วนหนึ่งของจานบันทึกที่เป็นตารางสำหรับเก็บชื่อ ขนาด ความจุ และที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในจานบันทึกนั้น | field | (ฟีลดฺ) { fielded, fielding, fields } n. ทุ่ง, ทุ่งนา, ทุ่งกว้าง, เขตเหมืองแร่, สนาม, อาณาจักร, ขอบเขต, พื้น, ลาน vt. เก็บได้ลูก (บอล) , จับลูกได้ vi. เป็นคนรับลูกในการเล่น (บาสเก็ตบอล, คริคเก๊ต), Syn. area หมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละ เรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้ หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" record | file allocation table | ตารางการจัดสรรแฟ้มใช้ตัวย่อว่า FAT (อ่านว่า แฟ็ต) ใช้ในระบบดอส หมายถึงส่วนหนึ่งของจานบันทึกที่เป็นตารางสำหรับเก็บชื่อ ขนาด ความจุ และที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในจานบันทึกนั้น | file management | การจัดการแฟ้มข้อมูลหมายถึงการกำหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้างแฟ้มข้อมูล การปรับปรุงแฟ้ม และการเรียกหาข้อมูลมาใช้จากแฟ้ม | filter | (ฟิล'เทอะ) n. ที่กรอง, กระดาษกรอง, สารที่ใช้กรอง, บุหรี่ก้นกรอง. vt. กรองออก, กรอง vi. กรอง. adj. เกี่ยวกับบุหรี่ก้นกรอง., See also: filterer n., Syn. strainer, sieve, sift ตัวกรองหมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบ format การเก็บข้อมูลหรือภาพให้ เป็นรูปแบบที่ต้องการใช้ ส่วนมากโปรแกรมนี้จะมีแทรกอยู่ในโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ หรือโปรแกมการจัดพิมพ์ ฯ ที่มักจะมีการโอนแฟ้มข้อมูล ประเภทอื่น เช่น จากโปรแกรม dBASE หรือ Lotus เข้ามา ถ้าไม่มีตัวกรองเตรียมไว้ ก็จะโอนเข้ามา ไม่ได้ นอกจากนั้น ยังเป็นคำสั่งในระบบปฏิบัติการ คำสั่งหนึ่งที่สั่งให้ประมวลผล ข้อมูลเสียก่อนที่จะทำอย่างอื่นต่อไป ตัวกรองของระบบดอส จะประกอบด้วยคำสั่ง More, Find, และ Sort คำสั่ง More เป็นคำสั่งให้แสดงผลไปเรื่อย ๆ จอภาพ ก็จะเลื่อนไปเรื่อย ๆ เพื่อแสดงผลต่อไปจนกว่าจะหมด find เป็นคำสั่งให้หาแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ และ sort ก็เป็น คำสั่งให้เรียงลำดับแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกี ASCII | footwork | n. ฟุตเวิร์ค, การใช้เท้า, จังหวะเท้า, การเดินทางด้วยการเดิน, การก้าวเท้า, งานที่ต้องเดิน, วิธีการจัดการ | gantt chart | แผนภูมิแกนต์หมายถึง แผนผังคุมกำหนดงาน มักใช้ในด้านการจัดการโครงการ ผังในลักษณะนี้จะแสดงถึงปริมาณงานและกำหนดเวลาที่จะต้องใช้ เพื่อทำงานนั้นให้ลุล่วง | governance | n. การปกครอง, การควบคุม, ระบบการจัดการ | green pc | พีซีประหยัดไฟหมายถึงคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการจัดสร้างให้ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยที่สุด เช่น ถ้าไม่ใช้แป้นพิมพ์หรือเมาส์ชั่วระยะหนึ่ง จอภาพก็จะมืด (ไม่มีแสงสว่าง) |
| administration | (n) การจัดการ, การปกครอง, การบริหาร | administrative | (adj) เกี่ยวกับการจัดการ, เกี่ยวกับการบริหาร | alignment | (n) การจัดแถว, การวางแนว, การจัดขบวน | alinement | (n) การจัดแถว, การวางแนว, การจัดขบวน | allocation | (n) การจัดสรร, การแจกจ่าย, การแบ่งสรร | allotment | (n) การแบ่งสันปันส่วน, การแจกจ่าย, การจัดแบ่ง, การให้ | appropriation | (n) การถือเอา, การจัดสรร, เงินที่ตั้งไว้ | arrangement | (n) การจัดการ, การเตรียม, การเตรียมการ | assortment | (n) การจัดพวก, การแบ่งประเภท, การเลือกสรร | classification | (n) การแบ่งประเภท, การจัดหมวดหมู่, การแยกประเภท | collocation | (n) การจัดระเบียบ, การจัดวาง | combination | (n) การรวมกัน, การจัดกลุ่ม, พันธมิตร | deal | (n) การซื้อขาย, การตกลง, การติดต่อ, การจัดการ, ส่วนใหญ่ | disbursement | (n) การชำระเงิน, การจัดสรร, การแบ่งสรร | dispensation | (n) การจ่ายยา, การจัดการ, การแบ่งสรร, การให้ | disposal | (n) การจำหน่าย, การจัดการ, การกำจัด, การจัด, การใช้จ่าย | disposition | (n) อารมณ์, การจัดการ, การกำหนด, ความประสงค์, โองการ | equipment | (n) การจัดเตรียมไว้, อุปกรณ์, บริภัณฑ์, เครื่องมือเครื่องใช้ | execution | (n) การบริหารงาน, การดำเนินการ, การปฏิบัติ, การทำให้สำเร็จ, การจัดการ | federation | (n) สหพันธ์, กลุ่มการเมือง, การจัดตั้งพรรคการเมือง, การรวมกัน | institution | (n) การจัดตั้งขึ้น, หน่วยงาน, สถาบัน | management | (n) การปกครอง, การบริหาร, การจัดการ | manipulation | (n) การจัดทำ, การจัดการ, การยักย้าย | manoeuvre | (n) การซ้อมรบ, การจัดทำ, การออกอุบาย, การวางแผน | misconduct | (n) การจัดการผิด, การประพฤติผิด, การผิดประเวณี | misgovernment | (n) การปกครองไม่ดี, การจัดการไม่ได้ | mismanagement | (n) การจัดการไม่ดี, การจัดการผิด | organization | (n) การจัดระเบียบ, การจัดตั้ง, องค์กร, คณะ, องค์การ | predisposition | (n) การจัดการล่วงหน้า, ความมีใจโน้มเอียง | provision | (n) การจัดหาให้, เสบียง, ข้อกำหนด, การเตรียมการ, บทบัญญัติ | purveyance | (n) การป้อนเหยื่อ, การจัดหาให้, สัมภาระ, เสบียง | readjustment | (n) การปรับปรุงใหม่, การจัดใหม่ | rearrangement | (n) การปรับปรุงใหม่, การจัดแจงใหม่, การจัดใหม่ | reorganization | (n) การปรับปรุง, การจัดใหม่, การปฏิรูป | running | (n) การแข่งขัน, การวิ่ง, การวิ่งเต้น, การเคลื่อนที่, การจัดการ, ความต่อเนื่อง | settlement | (n) การจัดการ, การตกลงกัน, ถิ่นฐาน, การชำระเงิน, กองทุน, ทรัพย์สิน | standardization | (n) การทำให้ได้มาตรฐาน, การจัดมาตรฐาน | superintendence | (n) การควบคุม, การจัดการ, การดูแล, การอำนวยการ | supervision | (n) การควบคุม, การดูแล, การจัดการ, การอำนวยการ, การตรวจตรา | supervisory | (adj) เกี่ยวกับการจัดการ, เกี่ยวกับการควบคุมดูแล, เกี่ยวกับการตรวจตรา | supply | (n) เสบียง, การจัดหา, การให้, ค่าใช้สอย, ผู้ทำการแทน | tabulation | (n) การทำเป็นตาราง, การจัดระเบียบ, การทำให้ราบ | undertaking | (n) ภาระ, ธุระ, การจัดงานศพ, งาน, กิจการ |
| hierachy | hierachy [ N ] ; การจัดระบบตามลำดับขั้น Related. การจัดระบบตามลำดับชั้น. | Carbonic Anhydrase Inhibitors (CAIs) | เป็นชั้นของยาที่ระงับกิจกรรมของคาร์บอ ในทางการใช้ทางคลินิกได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นตัวแทนของโรคต้อหิน, ยาขับปัสสาวะ, ยากันชัก, ในการจัดการของเข่มาภูเขา, กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กเป็นแผล, ความผิดปกติของระบบประสาท, หรือโรคกระดูกพรุน | catering | [แคท เทอ ริ่ง] (n) การจัดอาหารให้ในงานเลี้ยง, บริการจัดเตรียมอาหาร, จัดเลี้ยง | folksonomy | (n) การจัดกลุ่ม หรือ แบ่งกลุ่ม อย่างไม่เป็นทางการ มีที่มาจากคำว่า folk + taxonomy | Hepatobiliary scintigraphy (HIDA) | เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี | hierarchy of genres | [ไฮ-รา-คี-ออฟ-เจ็น-เรส] (n) การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ เป็นทฤษฎีการจัดประเภทของศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญที่ระบุไว้เช่นในการจัดของสมาคมศิลปะแห่งฟลอเรนซ์ และในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอังเดร เฟลิเบียงแห่งสถาบันศิลปะฝรั่งเศสที่ลำดับเป็นห้าลำดับ: ภาพประวัติศาสตร์และศาสนา, ภาพเหมือน, ภาพชีวิตประจำวัน, ภาพภูมิทัศน์ และภาพนิ่ง (Source: visual-arts-cork.com) | Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข | knowledge management | (n) เป็นวิชาที่ว่าด้วยการจัดการความรู้ มีตัวอักษรย่อ (KM) คือ การจัดการความรู้ในองค์กรไม่ให้หายไป (สมองไหล) - เมื่อมีสมาชิกในองค์กรคนหนึ่งคนใดหายไปเพื่อไม่ให้ความรู้หายไปด้วย | LC | ระบบการจัดหมวดหมู่แบบรัฐสภาอเมริกัน | rollout | (n) (เครื่องบิน)การนำออกแสดงเป็นครั้งแรก, การนำ(สินค้า ฯลฯ) ออกส่สายตาประชาชนเป็นครั้งแรก อจจะด้วยการจัดนิทรรศการ/การโฆษณา | run-off | (n) ๑. [ countable ] การจัดการเลือกตั้งหรือการแข่งขันในครั้งที่ ๒ เนื่องจากไม่มีผลแพ้ชนะที่ชัดเจนในรอบรอก ตัวอย่างเช่น a run-off election ๒. [ uncountable ] น้ำหรือของเหลวอย่างอื่นที่ไหลลงแม่น้ำ | Silverman | [ซิล-เวอร์-แมน] (org) Silverman เป็นแพลตฟอร์มด้านการบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์, ก่อตั้งขึ้นในปี 2018 ได้สร้างและพัฒนาระบบแบบ all-in-1 ที่ดีที่สุด ที่พร้อมรองรับทุกความต้องการทั้งการจัดการอสังหาริมทรัพย์และการจัดการที่อยู่อาศัยสำหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์ทุกประเภท ได้แก่ บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม อพาร์ตเมนต์ เซอร์วิสอพาร์ตเมนต์ หอพักและอาคารสำนักงาน | triage | (n) การจัดหาทรัพยากรพื้นฐานสำหรับปัญหาต่างๆ เช่น อาหารสำหรับผู้ประสบภัย | typology | (n) การจัดกลุ่ม |
| 発送 | [はっそう, hassou] (n) การจัดส่ง, การส่งต่อ | 解決 | [かいけつ, kaiketsu] (vt) การแก้ปัญหา / การจัดการกับ ปัญหาหรือความลำบากหรือความยุ่งยาก ให้ดีขึ้นหรือหมดไป / ทางออกของปัญหา |
| 荷造する | [にづくりする, nizukurisuru] (n, vt) การจัดของเพื่อการขนย้าย | 荷造 | [にづくり, nizukuri] การจัดของเพื่อการขนย้าย | 荷造り | [にづくり(する), nizukuri ( suru )] (n, vt) การจัดของสำหรับขนย้าย | 成立 | [せいりつ, seiritsu] (n) การจัดการ, การคงอยู่, การก่อตั้ง, การทำให้สมบูรณ์, การทำให้สำเร็จ | 分類 | [ぶんるい, bunrui] (n) การจัดแบ่งประเภท | 格好 | [かっこう, kakkou] (n, vi, vt) (เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ | 配達 | [はいたつ, haitatsu] (n) การจัดส่ง | 配達先 | [はいたつさき, haitatsusaki] (n) สถานที่ปลายทางในการจัดส่ง | 総務部 | [そうむぶ, soumubu] (n) ผู้จัดการทั่วไป การจัดการทั่วไป | 物流 | [ぶつりゅう, butsuryuu] การจัดส่ง, การกระจาย (สินค้า) | 創業費 | [そうぎょうひ, sougyouhi] ค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งบริษัท | 安全衛生管理 | [かんぜんえいせいかんり, kanzen'eiseikanri] (n) การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขอนามัย | 地方自治法 | [かんぜんえいせいかんり, chihoujichi hou] พระราชญัติว่าด้วยการปกครองตนเองของท้องถิ่น(พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองท้องถิ่น ประเภทต่างๆ เช่น จังหวัด เทศบาล และบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่นเหล่านั้นเป็นต้น) | 設置 | [せっち, setchi] (n, vt) การติดตั้ง, การจัดตั้ง |
| 調節 | [ちょうせつ, chousetsu] TH: การจัดให้เป็นระเบียบหรือเหมาะสม EN: regulation (vs) | 開催 | [かいさい, kaisai] TH: การจัดงานขนาดใหญ่เป็นทางการ EN: holding a meeting | 処理 | [しょり, shori] TH: การจัดการ EN: management (vs) | 運営 | [うんえい, un'ei] TH: การจัดการ EN: management | 整え | [ととのえ, totonoe] TH: การจัดเตรียม EN: prepare |
| | tiefbau | Tiefbau ist das Fachgebiet des Bauwesens, das sich mit der Planung und Errichtung von Bauwerken befasst, die an oder unter der Erdoberfläche bzw. unter der Ebene von Verkehrswegen liegen. Tiefbau เป็นสาขาจำเพาะของของการก่อสร้าง ที่เกี่ยวกับการวางแผนและการจัดการสิ่งก่อสร้าง ในส่วนที่อยู่ใต้ดิน หรืออยู่ใต้ระดับของ ผิวการจราจร |
| contre-mesure | (n) |f| นโยบายหรือมาตรการ ในการจัดการแก้ไขปัญหาหรือเพื่อต่อต้านสิ่งที่ไม่ดีงาม |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |