หลอมเหลว | (v) melt, See also: smelt, Syn. หลอมละลาย, Ant. แข็งตัว | จุดหลอมเหลว | (n) melting point, Example: สารบริสุทธิ์เป็นสารเนื้อเดียวที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที่, Thai Definition: อุณหภูมิที่เกิดภาวะสมดุลระหว่างของแข็งกับของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ, อุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ, (อุณหภูมินี้เป็นอุณหภูมิเดียวกับจุดเยือกแข็งของสารเดียวกัน) |
|
| จุดหลอมเหลว | น. อุณหภูมิที่เกิดภาวะสมดุลระหว่างของแข็งกับของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, อุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, (อุณหภูมินี้เป็นอุณหภูมิเดียวกับจุดเยือกแข็งของสารเดียวกัน). | หลอมละลาย, หลอมเหลว | ก. เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว. | หลอมละลาย, หลอมเหลว | น. เรียกอุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ว่า จุดหลอมละลาย จุดหลอมเหลว ขีดหลอมละลาย หรือ ขีดหลอมเหลว. | จุดเยือกแข็ง | น. อุณหภูมิที่เกิดภาวะสมดุลระหว่างของแข็งกับของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, อุณหภูมิที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, (อุณหภูมินี้เป็นอุณหภูมิเดียวกับจุดหลอมเหลวของสารเดียวกัน). | โลห-, โลหะ | ธาตุซึ่งมีสมบัติสำคัญ คือ เป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่ดี มีขีดหลอมเหลวสูง ขัดให้เป็นเงาได้ ตีแผ่เป็นแผ่นหรือดึงให้เป็นเส้นลวดได้ เมื่อนำมาเคาะมีเสียงดังกังวาน เมื่ออยู่ในสภาพไอออนจะเป็นไอออนบวก. | สูญขี้ผึ้ง | น. กรรมวิธีหนึ่งในการหล่อโลหะ ใช้ขี้ผึ้งพอกหุ้มแกนทรายให้เป็นหุ่น แล้วทาไล้ด้วยดินเหนียวผสมขี้วัวและน้ำ จึงเข้าดินเป็นพิมพ์ นำไปเผาไฟสำรอกขี้ผึ้งให้ละลายออกจากพิมพ์ จากนี้เทโลหะหลอมเหลวเข้าแทนที่ขี้ผึ้ง. |
| | Deliquescent | สมบัติชื้นเหลว, หลอมเหลวได้ [การแพทย์] | Fusion | การรวมภาพจากสองนัยน์ตาให้เป็นภาพเดียว, การเชื่อมติดกัน, วิธีหลอม, รวมกัน, การเชื่อมรวมตัวกัน, การเชื่อม, การเชื่อมติด, รวมตัวกัน, การผ่าตัดเชื่อมข้อ, การหลอมเหลว, การหลอมสาร, การเชื่อมประสาน, ผนึกติดกัน, การหลอม [การแพทย์] | Fusion Molding | การหลอมเหลวแล้วใส่แบบพิมพ์ [การแพทย์] | Melting point | จุดหลอมเหลว [อุตุนิยมวิทยา] | salicylic acid | กรดซาลิซิลิก, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C6H4OH.COOH เป็นผลึกสีขาวมีจุดหลอมเหลว 159 °C ใช้เป็นยาระงับเชื้อและใช้เตรียมแอสไพริน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | benzoic acid | กรดเบนโซอิก, กรดอินทรีย์สูตรเคมีคือ C6H5COOH เป็นของแข็งสีขาว จุดหลอมเหลว 122 °C กรดนี้หรือเกลือของกรดนี้ใช้เป็นสารกันบูด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | cobalt | โคบอลต์, ธาตุแทรนซิชัน เลขอะตอม 27 สัญลักษณ์ Co เป็นโลหะสีขาวเงิน จุดหลอมเหลว 1, 480°C ใช้ทำโลหะผสม ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว และเครื่องปั้นดินเผา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | chromium | โครเมียม, ธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ มีเลขอะตอม 24 สัญลักษณ์ Cr จุดหลอมเหลว 1, 890°C ใช้ทำโลหะผสมและชุบโลหะ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | silica | ซิลิกา, สารประกอบชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ SiO2 จุดหลอมเหลว 1, 700°C จุดเดือด 2, 230°C เป็นของแข็งไม่มีสี ในธรรมชาติอยู่ในรูปของทราย ควอตซ์ และหินบางชนิด ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว เครื่องดินเผา และทำผงขัด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | xenon | ซีนอน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 54 สัญลักษณ์ Xe จุดหลอมเหลว -111.9 องศาเซลเซียส เป็นแก๊สเฉื่อย มีอยู่ในอากาศน้อยมาก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | dichloro-diphenyl-trichloroethane (DDT) | ไดคลอโรไดฟีนิลไตรคลอโรอีเทน (ดีดีที), สารเคมีชนิดเหนึ่ง มีจุดหลอมเหลว 108.5°C ละลายได้ดีในเอทานอล เป็นพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยง ใช้เป็นสารฆ่าแมลง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | copper | ทองแดง, ธาตุแทรนซิชัน มีเลขอะตอม 29 สัญลักษณ์ Cu เป็นโลหะสีแดงอ่อน จุดหลอมเหลว 1, 084oC เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | thorium | ทอเรียม, ธาตุแทรนซิชัน มีเลขอะตอม 90 สัญลักษณ์ Th เป็นโลหะจุดหลอมเหลว 3, 050 °C จุดเดือดประมาณ 4, 440 °C ในธรรมชาติมีปนอยู่ในแร่หลายชนิด เช่น ทอไรต์ ทอเรียไนต์ และโมนาไซต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | tungsten | ทังสเตน, ธาตุแทรนซิชัน เลขอะตอม 74 สัญลักษณ์ W จุดหลอมเหลว 3, 370°C จุดเดือด 5, 930°C ใช้ทำไส้หลอดไฟฟ้าและโลหะผสมอื่น ๆ ในธรรมชาติมีปนอยู่ในแร่วุลแฟรไมต์ (wolframite FeWO4 ) และซีไลต์ (scheelite CaWO4) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nickel | นิกเกิล, ธาตุทรานสิชัน เลขอะตอม 28 สัญลักษณ์ Ni เป็นโลหะสีขาว จุดหลอมเหลว 1453°C ใช้ทำโลหะผสม เช่น อัลนิโค นิโครม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | neon | นีออน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 10 สัญลักษณ์คือ Ne เป็นแก๊สเฉื่อย ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น จุดหลอมเหลว -248.6°C จุดเดือด -246.0°C พบในบรรยากาศประมาณร้อยละ 0.19 โดยปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nitrogen | ไนโตรเจน, ธาตุในหมู่ V ของตาราง ธาตุ เลขอะตอม 7 สัญลักษณ์ N เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีในอากาศประมาณร้อยละ 78.03 โดยปริมาตร จุดหลอมเหลว -209.9°C จุดเดือด -195.67°C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | paraffins | พาราฟิน, สารประกอบไฮโดรคาร์บอนในอนุกรมพาราฟินหรือแอลเคน สูตร เคมีทั่ว ๆ ไป คือ CnH2n+ 2 มีทั้งอยู่ในสถานะแก๊ส ของเหลวและของแข็ง พวกที่เป็นของแข็งและมีจุดหลอมเหลว 50 - 60°C นิยมเรียกว่าขี้ผึ้งพาราฟิน ซึ่งใช้ทำเทียนไข กระดาษไขและน้ำมันขัดพื้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | morphine | มอร์ฟิน, สารแอลคาลอยด์ที่ได้จากฝิ่น สูตรเคมีคือ C17H19NO3 เป็นผลึกไม่มีสี จุดหลอมเหลว 254oC มีสมบัติช่วยระงับความเจ็บปวด ทำให้นอนหลับ และเป็นยาเสพติด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | urea | ยูเรีย, สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมี คือ NH2CONH2 เป็นของแข็งสีขาว มีจุดหลอมเหลว 130oC ละลายน้ำได้ดี ใช้ทำปุ๋ยไนโตรเจน ในร่างกายสัตว์ยูเรียเกิดขึ้นจากกรดอะมิโนที่เปลี่ยนแปลงไปในกระบวนการเมแทบอลิซึมของโปรตีน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | zinc | สังกะสี, ธาตุแทรนซิชัน เลขอะตอม 30 สัญลักษณ์ คือ Zn เป็นโลหะสีขาวปนน้ำเงิน จุดหลอมเหลว 419.5°C จุดเดือด 907°C ในธรรมชาติเกิดอยู่ในแร่ต่าง ๆ เช่น คาลาไมน์(ZnCO3) ซิงค์ไซต์(ZnO) และซิงค์เบลนด์(ZnS) ใช้ทำโลหะผสมและชุบเหล็ก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | non-electrolyte | สารที่ไม่เป็นอิเล็กโทรไลต์, สารที่ไม่แตกตัวเป็นไอออนเมื่อหลอมเหลวหรือเป็นสารละลาย กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไม่ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | capillary tube | หลอดรูเล็ก, หลอดคะปิลลารี, หลอดแก้วใสที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กมากใช้ในการหาจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | oxygen | ออกซิเจน, ธาตุในหมู่ VI ของตารางธาตุ เลขอะตอม 8 สัญลักษณ์ 0 เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ช่วยในการเผาไหม้ จุดหลอมเหลว -218.9°C จุดเดือด -183°C มีในอากาศประมาณร้อยละ 21 โดยปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | aluminium | อะลูมิเนียม, ธาตุในหมู่ III ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 13 สัญลักษณ์ AI เป็นโลหะเบา สีขาว จุดหลอมเหลว 660oC เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดีใช้ทำอุปกรณ์และเครื่องใช้ต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | argon | อาร์กอน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 18 สัญลักษณ์ Ar เป็นแก๊สเฉื่อยไม่มีสีและกลิ่น มีปนอยู่ในอากาศร้อยละ 0.94 จุดหลอมเหลว -189.2oC จุดเดือด -185.7oC [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ethanol [ ethyl alcohol ] | เอทานอล, แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C2H5OH เป็นของเหลวไม่มีสี มีจุดหลอมเหลว -144oC จุดเดือด 78.4oC ละลายได้ในน้ำและตัวทำละลายบางชนิด ใช้เป็นเชื้อเพลิง ตัวทำละลาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุชนิดหนึ่ง เลขอะตอม 1 สัญลักษณ์คือ H เป็นแก๊สที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด ติดไฟได้ดี จุดหลอมเหลว -259.14oC จุดเดือด -252.7oC ไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คือ โพรเทียม ดิวเทอเรียม และทริเทียม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ozone | โอโซน, ออกซิเจนรูปหนึ่ง ในแต่ละโมเลกุลจะมี 3 อะตอม เป็นแก๊สไม่มีสี มีความว่องไวต่อการทำปฏิกิริยา จุดเดือด -112.4°C จุดหลอมเหลว - 249.7°C มีกลิ่นเฉพาะตัว ใช้เป็นตัวเติมออกซิเจนในปฏิกิริยาเคมี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | latent heat of fusion | ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว, ความร้อนแฝงที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว เช่น ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้าแข็งมีค่าเท่ากับ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 0 ํC ความดันปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | freezing point | จุดเยือกแข็ง, อุณหภูมิที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เช่น ที่ความดันปกติ น้ำบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง 0 ํC เป็นจุดเดียวกับจุดหลอมเหลวของน้ำแข็ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | melting point | จุดหลอมเหลว, อุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เช่น ที่ความดันปกติ น้ำแข็งมีจุดหลอมเหลว 0°C เป็นจุดเดียวกับจุดเยือกแข็งของน้ำบริสุทธิ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | fuse | ฟิวส์, อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งทำด้วยโลหะที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ ที่ใช้ทั่วไปเป็นโลหะผสมของดีบุกกับตะกั่ว มีหลายขนาดตามปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ต้องการควบคุม เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านมากเกินกำหนดจึงทำให้ฟิวส์หลอมละลายและตัดวงจรไฟฟ้า ป้องกันอันตรายและความเสียหายที่เกิดจากมีกระแสไฟฟ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | krypton | คริปทอน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ ใช้สัญลักษณ์ Kr เลขอะตอม 36 เป็นแก๊สเฉื่อยไม่มีสี มีจุดหลอมเหลว -156.7°C จุดเดือด -153.3°C มีอยู่ในบรรยากาศจำนวนน้อยมาก ใช้บรรจุในหลอดไฟฟ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | carbon | คาร์บอน, ธาตุในหมู่ VI มีน้ำหนักอะตอม 12.010 จุดหลอมเหลว 3, 600°C มีหลายรูป เช่น รูปมีผลึก ได้แก่ แกรไฟต์และเพชร รูปไม่มีผลึกได้แก่ ถ่าน ถ่านหิน เป็นธาตุองค์ประกอบสำคัญของสิ่งมีชีวิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nichrome | นิโครม, โลหะผสมชนิดหนึ่งประกอบด้วยนิกเกิล โครเมียม เหล็ก ไม่รวมตัวกับออกซิเจนในอากาศ มีจุดหลอมเหลวสูง นิยมใช้ทำเป็นขดลวดความร้อนในอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดให้ความร้อน เช่น เตารีด เตาไฟฟ้า เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | iodine | ไอโอดีน, ธาตุในหมู่ VII ของตารางธาตุมีเลขอะตอม 53 สัญลักษณ์ I เป็นของแข็งสีม่วงดำ และระเหิดได้ มีจุดหลอมเหลว 114°C จุดเดือด 184°C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | casting | การหล่อแบบ, การทำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ โดยการเทวัสดุเหลวหรือหลอมเหลวลงในแม่แบบ เช่น การทำเครื่องใช้พลาสติก โดยวิธีนำพลาสติกเหลวผสมกับสารซึ่งทำให้แข็งตัวเทลงในแม่แบบ เมื่อพลาสติกแข็งตัวก็จะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปทรงตามแม่แบบ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | graphite | แกรไฟต์, ผลึกรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอนที่เกิดในธรรมชาติ โครงสร้างมีลักษณะเป็นแผ่น ๆ ซ้อนกัน นำไฟฟ้าได้ดีในทิศทางที่ขนานกับชั้นของผลึก มีจุดหลอมเหลว 3730 °C ใช้ประโยชน์ทำไส้ดินสอ ขั้วไฟฟ้า และสารหล่อลื่น เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | magma | หินหนืด, แมกมา, หินที่อยู่ภายใต้เปลือกโลกซึ่งอยู่ในสภาพหลอมเหลวและร้อนจัด มีลักษณะข้นและหนืด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | vanilla | วานิลลา, พืชชนิดหนึ่งมีมากในอเมริกาใต้ นำเมล็ดมาสกัดได้สารอินทรีย์ สูตรเคมีคือC8H8O3 เป็นผลึกสีขาว จุดหลอมเหลว 81-82 °C จุดเดือด 285 °C มีกลิ่นหอม นิยมใช้ผสมอาหาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Melting Point | จุดหลอมเหลว, จุดละลาย, จุดหลอมเหลวของของแข็ง, จุดหลอมตัว [การแพทย์] | Melting Point, Maximum | จุดหลอมเหลวสูงกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ [การแพทย์] | Melting Point, Minimum | จุดหลอมเหลวต่ำกว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ [การแพทย์] | Melting Point, Mixed | จุดหลอมเหลวผสม [การแพทย์] | Melting Point, Normal | จุดหลอมเหลวปกติ [การแพทย์] | Melting Temperature | อุณหภูมิหลอมเหลว [การแพทย์] |
| | จุดหลอมเหลว | [jut lømlēo] (n, exp) EN: melting point FR: point de fusion [ m ] | หลอมเหลว | [lømlēo] (v) EN: melt ; smelt FR: fondre |
| | dissolve | (ดิซอลว') vi., vt. ละลาย, กระจายตัว, หลอมเหลว, กลายเป็นของเหลว, แตกตัว, ยุติ, สิ้นสุด, See also: dissolvability n. ดูdissolve dissolvable adj. ดูdissolve, Syn. divide, melt, disappear, fade, Ant. solidify, thicken, unite | fusibility | (ฟิวซบิล'ลิที) n. ความสามารถถูกหลอมเหลวได้, ลักษณะที่หลอมเหลวได้ | fusible | (ฟิว'ซะเบิล) adj. หลอมเหลวได้., See also: fusibleness n. fusibly adv. | fusil | (ฟิว'เซิล) n. ปืนคาบศิลา, เม็ดยาวรูปกระสวย adj. เกิดจากหลอมหล่อ, ซึ่งสามารถหลอมเหลวได้, หลอมเหลว, Syn. musket | fusion | (ฟิว'เชิน) n. การหลอมละลาย, การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมละลาย, การผสมของพรรคการเมือง, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่หนักขึ้น (nuclear, See also: fusion, Syn. coalescence, combine, Ant. separate | melt | (เมลทฺ) { melted, melted/molten, melting, melts } vi., vt. (ทำให้) ละลาย, หลอม, สูญไป, ผ่านไป, เปลี่ยนเป็น, ใจอ่อน. n. การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมเหลว, Syn. fuse | molten | (โมล'เทิน) adj. หลอมเหลว | slag | (สแลก) n., vt., vi. (เปลี่ยนเป็น, กลายเป็น) กากแร่, ขี้โลหะ, กากแร่หลอม, กากของหลอมเหลว. | smelt | (สเมลทฺ) vt. หลอม, หลอมเหลว, ถลุงแร่ |
| melt | (vi, vt) หลอมเหลว, ละลาย, สูญไป |
| 溶融点 | [ようゆうてん, youyuuten] (n) จุดหลอมเหลว, See also: R. melting point |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |