ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รัสเซีย, -รัสเซีย- |
|
| รัสเซีย | น. ชื่อประเทศที่ส่วนหนึ่งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันออกและอีกส่วนหนึ่งอยู่ในทวีปเอเชียภาคเหนือและภาคกลาง, เรียกเต็มว่า สหพันธรัฐรัสเซีย. | จีน ๑ | น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับมองโกเลีย รัสเซีย เวียดนาม ลาว พม่า ภูฏาน เนปาล อินเดีย คีร์กีซ และคาซัคสถาน มีภาษาพูดและอักษรของตนเองใช้. | รัทเทอร์ฟอร์เดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๔ สัญลักษณ์ Rf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ในสหพันธรัฐรัสเซียเรียกชื่อธาตุนี้ว่า เคอร์ชาโทเวียม (kurchatovium) และใช้สัญลักษณ์ Ku. |
| Menshevism | ลัทธิเมนเชวิก (ลัทธิสังคมนิยมสายกลางของรัสเซีย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Cominform | สำนักข่าวสารคอมมิวนิสต์ (รัสเซีย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Art objects, Russian | ศิลปวัตถุรัสเซีย [TU Subject Heading] | Art, Russian | ศิลปะรัสเซีย [TU Subject Heading] | Arts, Russian | ศิลปกรรมรัสเซีย [TU Subject Heading] | Chechnia (Russia) | เชชเนีย (รัสเซีย) [TU Subject Heading] | Folk dancing, Russian | การเต้นรำพื้นเมืองรัสเซีย [TU Subject Heading] | Moscow (Russia) | มอสโก (รัสเซีย) [TU Subject Heading] | Political posters, Russian | แผ่นโฆษณาการเมืองรัสเซีย [TU Subject Heading] | Russia | รัสเซีย [TU Subject Heading] | Russia (Federation) | รัสเซีย (สหพันธรัฐ) [TU Subject Heading] | Russian language | ภาษารัสเซีย [TU Subject Heading] | Russian newspapers | หนังสือพิมพ์รัสเซีย [TU Subject Heading] | Russian poetry | กวีนิพนธ์รัสเซีย [TU Subject Heading] | Russo-Japanese War, 1904-1905 | สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น, ค.ศ. 1904-1905 [TU Subject Heading] | Short stories, Russian | เรื่องสั้นรัสเซีย [TU Subject Heading] | Asia Pacific Economic Cooperation | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก " เป็นกระบวนการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีเป้าหมายในการเปิดการค้าเสรีและการลงทุน ภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับสมาชิกพัฒนาแล้ว และปี พ.ศ. 2563 สำหรับสมาชิกกำลังพัฒนา ขณะนี้มีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน ดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกก่อตั้ง " [การทูต] | ASEAN-Russia Cooperation Fund | กองทุนความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย รัสเซียตกลงที่จะออกเงินสมทบกองทุนครั้งแรกเป็นจำนวนเงิน 5 แสนเหรียญสหรัฐ [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | ASEAN-Russia Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน มีคณะทำงาน 2 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ (2) ด้านเศรษฐกิจ [การทูต] | ASEAN Dialogue Partners | คู่เจรจาอาเซียน " ประกอบด้วย 9 ประเทศ 1 กลุ่มประเทศ และ 1 องค์การระหว่างประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี นิวซีแลนด์ รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยคู่เจรจาเหล่านี้ (ยกเว้นโครงการพัฒนาแห่งสห- ประชาชาติ) จะเข้าร่วมการประชุม PMC ด้วย " [การทูต] | Black Sea Economic Cooperation | กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศริมฝั่งทะเลดำ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 มีสมาชิก 11 ประเทศ ประกอบด้วยรัสเซีย แอลเบเนีย อาร์เมเนีย อาร์เซอร์ไบจาน จอร์เจีย บัลแกเรีย กรีซ มอลโดวา ตุรกี ยูเครนและโรมาเนีย [การทูต] | The Conference on Interaction and Confidence-Building Measures in Asia | การประชุมว่าด้วยการแสวงหามาตรการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (ด้านความมั่นคง) ในเอเชีย " CICA ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยความริเริ่มของคาซัคสถาน และมีสมาชิกเข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อินเดีย ปากีสถาน ปาเลสไตน์ รัสเซีย ตุรกี จีน อิสราเอล อิหร่าน อัฟกานิสถาน อียิปต์ อาเซอร์ไบจาน มองโกเลีย คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน และประเทศผู้สังเกตการณ์อีก 10 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยูเครน เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเลบานอน " [การทูต] | Commonwealth of Independent States | เครือรัฐเอกราช " กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย " [การทูต] | concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] | Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] | Diplomatic Language | ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] | Intelligence | เรื่องสืบราชการลับ กล่าวอย่างกว้าง ๆ คือ เรื่องลับไม่ว่าชนิดใด โดยเฉพาะที่จะมีประโยชน์แก่ผู้กำหนดนโยบาย หรือฝ่ายทหารที่มีหน้าที่ว่างนโยบายหรือวางแผนยุทธศาสตร์ ถือว่าเป็น Intelligence ทั้งสิ้น เช่น ในสหรัฐอเมริกามีองค์กรสืบราชการลับอยู่หลายแห่ง เช่น CIA (สำนักงานสืบราชการลับกลาง) The NSA (National Security Agency หรือองค์การรักษาความมั่นคงปลอดภัยแห่งชาติ) G-2 (ฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพบก) FBI (Federal Bureau of Investigation หรือหน่วยสืบสวนของรัฐบาลกลาง) Bureau of Intelligence and Research of the State Department หรือหน่วยสืบราชการลับและวิจัยของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ รวมทั้งฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ส่วนในโซเวียตรัสเซีย (ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่ารัสเซีย) แต่เดิมมีองค์การสืบราชการลับอยู่จำนวนหนึ่ง ที่สำคัญๆ ได้แก่ ฝ่ายสืบราชการลับทางทหารของกระทรวงกลาโหม หรือที่เรียกว่า YRU (Ylavnoe Razdevyvatelnoe Uptavlenie) และ KGB (Kommissariat Gosudatstvennoie Bezopastnotsi หรือ Commisariat of State Security) ในประเทศอังกฤษ มีฝ่ายสืบราชการลับเรียกว่า M15 (British Counter Intelligence) M16 เป็นหน่วยสาขาซึ่งทำงานด้านจารกรรมในต่างประเทศ และ M18 เป็นฝ่ายสืบราชการฝ่ายทหาร (Cryptographic Bureau of Military Intelligence) [การทูต] | International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] | Iron Curtain | ม่านเหล็ก เป็นศัพท์ที่อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ผู้ล่วงลับไปแล้ว คือ เซอร์วินสตัน เชอชิลล์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นหมายถึงเครื่องกีดขวางปิดกั้นเขต ซึ่งโซเวียตรัสเซียและประเทศคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกไม่ยอมให้มีการ ติดต่อหรือเดินทางเข้าไปในอาณาเขตของประเทศดังกล่าว ที่เรียกกันว่า ประเทศหลังม่านเหล็ก เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองในระหว่างสงครามเย็น แต่ภายหลังที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลาย ม่านเหล็กก็พลอยหมดสภาพไปในที่สุด [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | Shanghai Cooperation Organization | พัฒนามาจากเวทีการประชุม Shanghai Five ซึ่งจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ จีน รัสเซีย คาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กีซ และทาจิกิสถาน ต่อมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 อุซเบกิสถาน ได้เข้าเป็นสมาชิกด้วย จึงมีการเปลี่ยนชื่อกลไกความ ร่วมมือนี้เป็น Shanghai Cooperation Organization เดิมมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและแก้ไขข้อพิพาทเกี่ยวกับพรมแดนของประเทศสมาชิก และต่อมาได้ขยายขอบเขตความร่วมมือให้ครอบคลุม ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจการค้า วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม การศึกษา พลังงาน การคมนาคม [การทูต] | The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] | United Nations Security Council | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] | Encephalitis, Russian-Far-Eastern | รัสเซียนฟาร์อีสเทอร์นเอนเซฟาไลติส [การแพทย์] |
| It's rumoured they were shot down at high altitudes while they were penetrating Russian air space. | มีข่าวลือว่า พวกเขาถูกยิงตก จากท้องฟ้า... . ..ในขณะที่ พวกเขาบินลุกล้ำ น่านฟ้า รัสเซีย Squeeze (1993) | I bet Russian czars never paid that for a single horse. | ฉันเดิมพัน Czars รัสเซียไม่เคยจ่ายที่ม้าเดียว The Godfather (1972) | May Day's the Russian new year. We'll have a big parade and serve... | เมย์เดย์คือปีใหม่ของรัสเซียครับ เราจะมีขบวนแห่ใหญ่มากและก็เลี้ยง... Airplane! (1980) | A Russian craft flown by Russians carrying a few poor Americans who need our help.... | ฝีมือรัสเซียรัสเซียบินโดยการ ดำเนินการ ชาวอเมริกันที่ไม่ดีไม่กี่คนที่ ต้องการความช่วยเหลือของเรา 2010: The Year We Make Contact (1984) | The Russians are moving their big stuff in. | รัสเซียกำลังจะย้าย บางสิ่งใหญ่ของพวกเขา 2010: The Year We Make Contact (1984) | You got the Joint Chiefs screaming about Russian satellites with anti-missile lasers. | ตอนนี้คุณได้ร่วมของหัวหน้า กรีดร้องเกี่ยวกับ ดาวเทียมรัสเซียด้วยเลเซอร์ ป้องกันขีปนาวุธ เกี่ยวกับมัน ดังนั้นเราจึงต้องส่ง ได้ 2010: The Year We Make Contact (1984) | The Russians must be laughing their asses off. | รัสเซียจะต้องหัวเราะลาของ พวกเขาออก 2010: The Year We Make Contact (1984) | The Russians are gonna go aboard Discovery with or without us. | รัสเซียจะ ไปต่างประเทศดิสคัเฟอรีที่มี หรือไม่มีเรา ถามเขาว่าเขาต้องการให้พวก เขา 2010: The Year We Make Contact (1984) | Tell him, if we do go, we'll lie give the Russians false information. | บอกเขาว่าถ้าเราไม่ไปเราจะ นอน ให้รัสเซียข้อมูลที่เป็นเท็จ บอกเขาว่า เขาจะบอกว่ารัก 2010: The Year We Make Contact (1984) | The Russians tried to break it. | รัสเซียพยายามที่จะทำลายมัน 2010: The Year We Make Contact (1984) | -Hey, do you speak any Russian? | เฮย คุณจะพูดภาษารัสเซีย หรือไม่? ไม่ 2010: The Year We Make Contact (1984) | A typical Russian winter. | ว่าฤดูหนาวของรัสเซียทั่วไป 2010: The Year We Make Contact (1984) | It's terrifying hoping the Russians are less crazy than we are when they are clearly crazy. | ว่ารัสเซียจะบ้าน้อยกว่าเรา เมื่อพวกเขาจะบ้าอย่างชัดเจน 2010: The Year We Make Contact (1984) | Except for the Russian commonsense. | ยกเว้นในสามัญสำนึกของ รัสเซีย 2010: The Year We Make Contact (1984) | The United States has broken off diplomatic relations with Russia. | สหรัฐอเมริกาได้หักออก ความสัมพันธ์ทางการทูตกับ รัสเซีย 2010: The Year We Make Contact (1984) | All Russian personnel are similarly ordered to evacuate American territory. | บุคลากรรัสเซียทั้งหมดจะได้รับ คำสั่งในทำนองเดียวกัน อพยพไปยังดินแดนอเมริกัน 2010: The Year We Make Contact (1984) | No Russian citizen is allowed to remain on or allowed to enter the Discovery. | ไม่มีพลเมืองรัสเซียได้รับ อนุญาตให้อยู่ใน หรือได้รับอนุญาตที่จะเข้า สู่ดิสคัเฟอรี 2010: The Year We Make Contact (1984) | his last job before joining defense was fixing office copiers. he's good with hardware, got some Russian. | ก่อนหน้านี้ เป็นช่างซ่อมเครื่องถ่ายเอกสาร ชำนาญด้านฮาร์ดแวร์ ภาษารัสเซียพอได้ Spies Like Us (1985) | I'm sorry I'm late. | - นั่งลง! เริ่มทำข้อสอบได้ ขอโทษ [ หน่วยสืบราชการลับรัสเซีย KGB ย่อมาจากอะไร? Spies Like Us (1985) | that was a Russian wristwatch. I know the country of origin of every timepiece in the world. | เขาใส่นาฬิการัสเซีย ฉันรู้จักนาฬิกาทุกแบบ Spies Like Us (1985) | that was a Russian copy of a 1969 Timex digital. | มันเป็นนาฬิกา Timex ดิจิตอล ของรัสเซีย ปี 1969 Spies Like Us (1985) | right. aren't they in Russia? | - ถูกต้อง อยู่ในรัสเซียเหรอ? Spies Like Us (1985) | when she was a child in lithuania, her uncle used to tell a story about strange beings that came down from a disc and stole an ox which the village had put aside for roasting. | นายเรียนภาษารัสเซียมาจาก J. C. Penney รึไง? ตอนเธอเป็นเด็ก อยู่ในลิทัวเนีย ลุงเธอเคยเล่าเรื่อง สิ่งมีชีวิตประหลาด - แล้วจะไปหามาจากไหนล่ะ ทำตามฉัน สัญญาณ SatScram ส่งมาจากพื้นที่เป้าหมายครับ Spies Like Us (1985) | Maybe we should have stayed in Russia. | บางทีเราควรจะ อยู่รัสเซียมากกว่า An American Tail (1986) | There are no cats in America, but back home in Mother Russia... ohh... | ไม่มีแมว อยู่ในอเมริกา ผิดกับที่รัสเซีย แผ่นดินเกิดของพวกเรา เฮ้อ... An American Tail (1986) | If you think things were bad in Russia, you should see things in my country. | ถ้าพวกนายคิดว่า ที่รัสเซียแย่แล้วนะ พวกนายควรจะได้เห็น ที่บ้านเกิดของฉัน An American Tail (1986) | Where's Russia? | รัสเซีย อยู่ที่ไหนเหรอ ? Cinema Paradiso (1988) | Lucky thing Germany is closer than Russia. | โชคดีไปอย่างที่ เยอรมัน อยู่ใกล้กว่า รัสเซีย นะเนี่ย. Cinema Paradiso (1988) | Another sad page... in the tragedy of our men in Russia. | เรื่องเศร้าอีกเรื่อง... ในโศกนาฏกรรม ของทหารเขาเราใน รัสเซีย. Cinema Paradiso (1988) | But over two million civilians, mostly peasants farmers and their families, have been systematically slaughtered by invading Russian armies. | ประชากรมากกว่า 2 ล้านคน ส่วนใหญ่ก็เป็นเกษตรกร ชาวไร่Nชาวนากับครอบครัวพวกเขา กำลังถูกกองทัพรัสเซียรุกราน เข่นฆ่า Rambo III (1988) | Alexander the Great tried to conquer this country, then Ghenghis Khan, then the British, now Russia. | พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชNเคยพยายามเข้ามายึดครองดินแดนแห่งนี้ จากนั้นก็เจงกิสข่าน แล้วก็พวกอังกฤษ ตอนนี้ก็รัสเซีย Rambo III (1988) | His name is Juri. He's Russian. | เขาชื่อยูริ คนรัสเซีย Rambo III (1988) | A Russian friend of mine has written an important novel. | เพื่อนรัสเซียของฉันได้เขียนนวนิยายที่สำคัญ The Russia House (1990) | We smile, we kiss. Formal Russian kiss. | เรายิ้มเราจูบ จูบรัสเซียอย่างเป็นทางการ The Russia House (1990) | I believe in the new Russia. You may not, but I do. | ผมเชื่อว่าในรัสเซียใหม่ คุณอาจไม่ได้ แต่ฉันทำ The Russia House (1990) | Then I decided to give them all a rest from wonderful me, let them talk Russian for a while. | แล้วฉันตัดสินใจที่จะให้พวกเขามีส่วนที่เหลือทั้งหมดจากฉันยอดเยี่ยม ปล่อยให้พวกเขาพูดภาษารัสเซียในขณะที่ The Russia House (1990) | I'll back my Russia against yours any time. | ฉันจะกลับรัสเซียของฉันกับคุณตลอดเวลา The Russia House (1990) | It's everything we ever wanted to know about Russia and were afraid to ask. | มันเป็นทุกอย่างที่เราเคยต้องการที่จะรู้เกี่ยวกับรัสเซียและไม่กล้าถาม The Russia House (1990) | Some unidentified walk-in is telling us the Russians are way behind, they can't hurt us, we can pull in our horns. | บางส่วนที่ไม่ปรากฏชื่อเดินในจะบอกเรารัสเซียเป็นวิธีที่ด้านหลัง พวกเขาไม่สามารถทำร้ายเราเราสามารถดึงเขาของเรา The Russia House (1990) | The Russia House. | รัสเซียเฮ้าส์ The Russia House (1990) | Well, Niki said you were Russia's answer to the Venus de Milo. | ดีนิกิบอกว่าคุณมีคำตอบของรัสเซียที่จะวีนัสเดอไมโล The Russia House (1990) | Tell me about your new Russian book. | บอกฉันเกี่ยวกับหนังสือเล่มใหม่ของคุณรัสเซีย The Russia House (1990) | I've got 10, 000 enormously serious things to discuss with a beautiful Russian woman. | ฉันมีสิ่งที่ร้ายแรง 10, 000 มหาศาลเพื่อหารือเกี่ยวกับ กับผู้หญิงรัสเซียที่สวยงาม The Russia House (1990) | Oh, by the way, you asked why so many Russians use the word "convenient". | โอ้โดยวิธีการที่คุณถามว่าทำไมจำนวนมากดังนั้นรัสเซียใช้คำว่า "สะดวก" The Russia House (1990) | In Russian it's "udobno". But it also means "proper". | ในรัสเซียก็ "udobno" แต่มันยังหมายถึง "เหมาะสม" The Russia House (1990) | - Oh, Russia's top of the pops these days. | - โอ้ด้านบนของรัสเซียปรากฏวันนี้ The Russia House (1990) | Mention to the money boys that we want to build up a Russian list and they throw money at us. | พูดถึงเด็กผู้ชายเงินที่เราต้องการที่จะสร้างรายการของรัสเซีย และพวกเขาโยนเงินที่เรา The Russia House (1990) | Yuri, I want you to meet Len Wicklow, our new Russian-speaking specialist. | ยูริฉันต้องการให้คุณเพื่อตอบสนองความเลนวิกโคลว์รัสเซียที่พูดผู้เชี่ยวชาญใหม่ของเรา The Russia House (1990) | In Russia we don't ask that. It is not convenient. | ในรัสเซียที่เราไม่ได้ขอให้ จะไม่สะดวก The Russia House (1990) | Yakov said that the Russians would never stop the extraordinary reforms happening there. | ยาโคฟกล่าวว่ารัสเซียจะไม่เคยหยุด การปฏิรูปพิเศษที่เกิดขึ้นมี The Russia House (1990) |
| นกเด้าดินทุ่งพันธุ์รัสเซีย | [nok daodin thung phan Rassīa] (n, exp) EN: Blyth's Pipit FR: Pipit de Godlewski [ m ] ; Pipit de Blyth [ m ] | นกนางนวลหลังดำพันธุ์รัสเซีย | [nok nāng-nūan lang dam phan Rassīa] (n, exp) EN: Heuglin's Gull FR: Goéland d’Heuglin [ m ] | ภาษารัสเซีย | [phāsā Rassīa = phāsā Ratsīa] (n, prop) EN: Russian FR: russe [ m ] ; langue russe [ f ] | ประเทศรัสเซีย | [Prathēt Ratsīa] (n, prop) EN: Russia FR: Russie [ f ] | รัสเซีย | [Ratsīa = Rassīa] (n, prop) EN: Russia FR: Russie [ f ] | ตุ๊กตารัสเซีย | [tukkatā Ratsīa] (n, exp) EN: russian doll ; matryoshka doll ; Russian nested doll FR: poupées russes [ fpl ] ; poupées gigognes [ fpl ] |
| borscht | (n) น้ำซุปรัสเซีย, Syn. borsch | cosmonaut | (n) นักอวกาศของรัสเซีย | Kremlin | (n) พระราชวังเครมลินในเมืองมอสโคว์ (เป็นที่ทำการของรัฐบาลรัสเซีย) | Kremlinologist | (n) ผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบการปกครองของรัสเซีย, Syn. Sovietologist | Kremlinology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับระบบการปกครองของรัสเซีย, Syn. Sovietology | Lapland | (n) บริเวณตอนเหนือของทวีปยุโรป (ได้แก่ ตอนเหนือของนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์และแหลมโคลา ของรัสเซีย) | Moscow | (n) กรุงมอสโคว์ เป็นเมืองหลวงของรัสเซีย | mujik | (n) ชาวชนบทในรัสเซีย, Syn. muzhik | perestroika | (n) นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมืองรัสเซียของ Mikhail Gorbachev | rouble | (n) หน่วยเงินตราของรัสเซีย | ruble | (n) หน่วยเงินตราของรัสเซีย | Russia | (n) ประเทศรัสเซีย, See also: สหภาพโซเวียต, Syn. Russian Federation | Russian | (n) ชาวรัสเซีย, See also: ภาษารัสเซีย, Syn. Russ, Slavic, Slav | samovar | (n) กาน้ำชาโลหะ (ใช้ในรัสเซีย) | Tass | (n) หนังสือพิมพ์ของรัสเซีย | ukase | (n) พระบรมราชโองการ (ของพระเจ้าซาร์ในรัสเซีย), See also: คำสั่งเด็ดขาด, ประกาศของทางราชการ, Syn. decree, edict | vendace | (n) ปลาสีขาวเล็กแถบตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปและรัสเซีย | verst | (n) หน่วยวัดระยะทางของรัสเซียสมัยก่อน, See also: มีค่าเท่ากับ .663 ไมล์หรือ 1.067 กิโลเมตร | vodka | (n) เหล้าวอดกา, See also: เหล้ารัสเซีย ไม่มีสี |
| armenia | (อาร์มี'เนีย) n. ส่วนหนึ่งของรัสเซียทางเอเชียตะวันตก -Armenian adj., n. | azerbijan | (อาเซอะไบแจน') n. ชื้อดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย, ชื่อจังหวัดในอิหร่าน., Syn. Azerbaidzhan | bolshevik | (บอล'ชะ วิค) n. พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซียตั้งแต่ปี ค.ศ.1917, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์, ผู้ที่มีหัวรุนแรง, See also: bolshevism n. ดูBolshevik Bolshevism n. ดูBolshevik Boshevist n. ดูBolshevik bolshevistic | byelorussia | (ไบเอลโลรัช'เชีย) n. แคว้นหนึ่งของรัสเซียทางด้านตะวันตก. -S.Belorussia | commissar | (คอม'มิซาร์) n. หัวหน้าหน่วยงานของรัสเซีย, ผู้ตรวจการในรัสเซีย, ผู้บังคับการตำรวจ, นายทหารฝ่ายเกียกกาย | commissariat | (คอมมิแซ'เรียท) n. กองตรวจงานในรัสเซีย, วิธีการส่งอาหาร/อุปกรณ์/สัมภาระและอื่น ๆ ไปยังกองทัพ, กองเสบียง, กองเกียกกาย, กรมตำรวจ | cossack | (คอส'แซค) n. นักรบชาวสลาฟในรัสเซียเป็นทหารม้าที่มีชื่อเสียงในสมัยพระเจ้าซาร์ของรัสเซีย | curtain | (เคอร์'เทน) { curtained, curtaining, curtains } n. ม่าน, มู่ลี่, สิ่งที่เหมือนม่าน, ฉาก. -Phr. (curtains ความตาย, ที่สุด, ตอนจบ) . vt. ใส่ม่าน, ติดม่าน. -Phr. (the Bamboo Curtain ประเทศจีน, ม่านไม้ไผ่) -Phr. (the Iron Curtain ประเทศรัสเซีย, ม่านเหล็ก) คำที่มีความห | czar | (ซาร์) n. กษัตริย์, จักรพรรดิ, จักรพรรดิรัสเซีย | hammer and sickle | ตราประจำชาติของรัสเซียเป็นรูปค้อนกับเคียวและมีดาวอยู่ข้างบน | kremlin | (เครม'ลิน) n. ที่ทำการของรัฐบาลรัสเซียในกรุงมอสโก, ราชวังเครมลิน, รัฐบาลรัสเซีย | russia | (รัส'ชะ) n. รัสเซีย | russian | (รัส'เชิน) adj. เกี่ยวกับรัสเซีย (ผู้คน, ภาษา, วัฒนธรรมและอื่น ๆ) n. ชาวรัสเซีย, ภาษารัสเซีย | steppe | (สเทพ) n. ที่ราบกว้างใหญ่ (โดยเฉพาะที่ไม่มีต้นไม้) -Phr. (The Steppes ทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ในรัสเซีย) , =Kirghiz Steppe (ดู) | verst | (เวิร์สทฺ) n. หน่วยระยะทางของรัสเซียมีค่าเท่ากับ500ฟุตหรือ0.6629ไมล์หรือ1.067กิโลเมตร., Syn. verste | vodka | (วอด'คะ) n. เหล้ารัสเซียสีเขียว |
| commissar | (n) หัวหน้ากรมกอง, ตำแหน่งผู้ตรวจการในรัสเซีย | cossack | (n) ทหารม้าของรัสเซีย | Czar | (n) พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซีย | Russian | (adj) เกี่ยวกับประเทศรัสเซีย | Russian | (n) ภาษารัสเซีย, ชาวรัสเซีย |
| global positioning system | (n) GPS (global positioning system) จีพีเอส (ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูลตำแหน่งโลก คือ จีพีเอส ที่ทำให้เราทราบค่าตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของโลก โดยใช้อุปกรณ์รับสัญญาณคือ อุปกรณ์จีพีเอส ดาวเทียมกำหนดตำแหน่งบนโลก มีอยู่สามค่ายคือ 1. NAVSTAR เป็นของประเทศอเมริกา 2. GLONASS เป็นของประเทศรัสเซีย 3. GALILEO เป็นของยุโรป แต่ที่เราใช้สัญญาณในปัจจุบันด้วย จีพีเอสที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดนั้นใช้ของ NAVSTAR แต่เรานิยมเรียกของค่ายนี้ว่า ดาวเทียมจีพีเอส | muzhik | (n) ชาวนารัสเซีย (ช่วงก่อนปี 1917), See also: moujik, muzjik, Syn. mujik | Tsar | (n) ซาร์ เป็นชื่อเรียกตำแหน่งพระเจ้าแผ่นดินรัสเซีย |
| | Russie | (n) |f| ประเทศรัสเซีย, See also: russe | russe | (adj) |ใช้รูปเดียวกันทั้งที่ขยายนามเพศชายและหญิง|ที่เกี่ยวกับประเทศรัสเซีย | russe | (n) |m, เฉพาะเอกพจน์| ภาษารัสเซีย, See also: Russe | Russe | (n) |m, f| คนรัสเซีย, ชาวรัสเซีย |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |