ประสิทธิภาพ | (n) efficiency, See also: capability, ability, capacity, Syn. ความสามารถ, สมรรถนะ, Example: เครื่องจักรไอน้ำมีประสิทธิภาพน้อยกว่าเครื่องจักรดีเซล, Thai Definition: ความสามารถที่ทำให้เกิดผลในการงาน | มีประสิทธิภาพ | (adj) effective, See also: efficient, Example: เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ | มีประสิทธิภาพ | (adv) effectively, See also: efficiently, Example: ถ้าโปรแกรมสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดจะนำไปสู่เป้าหมายได้ทันที โดยไม่ต้องเสียเวลา | มีประสิทธิภาพ | (v) be efficient, See also: be effective, Example: การทำงานเป็นชุดจะมีประสิทธิภาพดีกว่าการทำงานทีละรายการๆ | เพิ่มประสิทธิภาพ | (v) increase efficiency, See also: increase effectiveness, Example: บริษัทมีอัตราการเติบโตสูงสำหรับผลการดำเนินงานในช่วง 9 เดือน ทั้งนี้เป็นผลมาจากการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของช่องทางการจำหน่าย, Thai Definition: เพิ่มความสามารถที่ทำให้เกิดผลในการงาน | เพิ่มประสิทธิภาพ | (v) increase efficiency, See also: increase effectiveness, Example: บริษัทมีอัตราการเติบโตสูงสำหรับผลการดำเนินงานในช่วง 9 เดือน ทั้งนี้เป็นผลมาจากการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของช่องทางการจำหน่าย, Thai Definition: เพิ่มความสามารถที่ทำให้เกิดผลในการงาน | อย่างมีประสิทธิภาพ | (adv) efficiently, Example: หลักสูตรใหม่สอนนักเรียนให้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่, Thai Definition: อย่างที่ทำให้เกิดผลในการงานดียิ่ง |
| ประสิทธิภาพ | น. ความสามารถที่ทำให้เกิดผลในการงาน. | ดินระเบิด | น. วัตถุเคมีชนิดหนึ่ง มีประสิทธิภาพในการระเบิดทำลาย. | รัฐประศาสนศาสตร์ | (รัดถะปฺระสาสะนะสาด) น. วิชาว่าด้วยการบริหารและการปกครองประเทศเพื่อให้สัมฤทธิผลตามนโยบายของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด. |
|
| | Equipment | อุปกรณ์, เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาช่วยในการใช้วัสดุให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น เครื่องเล่นจานเสียง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายฟิล์มสติรป เป็นต้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Motor Octane Number | ค่าออกเทน, ค่าออกเทนที่มีประสิทธิภาพต่อด้านการน๊อคในเครื่องยนต์หลายสูบในขณะทำงานที่รอบสูง, Example: ใช้เครื่องยนต์ทดสอบมาตรฐานภายใต้สภาวะมาตรฐาน 900 รอบต่อนาที [ปิโตรเลี่ยม] | Research Octane Number | ค่าออกเทนที่มีประสิทธิภาพต่อต้านการน๊อคในเครื่องยนต์หลายสูบที่ทำงานอยู่ในรอบของช่วงหมุนต่ำ, Example: ใช้เครื่องยนต์ทดสอบมาตรฐานภายใต้สภาวะมาตรฐาน 600 รอบต่อนาที [ปิโตรเลี่ยม] | External efficiency | ประสิทธิภาพภายนอก [เศรษฐศาสตร์] | Educational efficiency | ประสิทธิภาพทางการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] | Efficiency | ประสิทธิภาพ [เศรษฐศาสตร์] | Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] | Efficiency | ประสิทธิภาพ [การจัดการความรู้] | Radiosensitizer | สารเพิ่มผลของรังสี, สารหรือยาเพิ่มประสิทธิภาพของรังสีในการทำลายเซลล์ เช่น ออกซิเจน สารไมโซนิดาโซล (misonidazole) และสาร 5-โบรโมดีออกซียูริดีน (5-bromodeoxyuridine) [นิวเคลียร์] | Radioprotector | สารลดผลของรังสี, สารหรือยาลดประสิทธิภาพของรังสีในการทำลายเซลล์ เช่น สารประกอบที่มีกลุ่มซัลฟ์ไฮดริล (sulfhydryl, -SH) ทั้งนี้เซลล์จะต้องมีสารกลุ่มนี้อยู่ในขณะที่ได้รับรังสีจึงจะเกิดผลในการป้องกันการทำลายเซลล์ ถึงแม้เซลล์ได้รับสารนี้ในทันทีหลังการได้รับรังสี ก็จะไม่มีผลในการป้องกันใดๆ [นิวเคลียร์] | Antiretroviral therapy, Highly active | การรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีประสิทธิภาพรุนแรง [TU Subject Heading] | Effective teaching | การสอนที่มีประสิทธิภาพ [TU Subject Heading] | Industrial efficiency | ประสิทธิภาพทางอุตสาหกรรม [TU Subject Heading] | Job enrichment | การเพิ่มประสิทธิภาพงาน [TU Subject Heading] | Rational expectations (Economic theory) | การคาดการณ์อย่างมีประสิทธิภาพ (ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์) [TU Subject Heading] | Combustion Efficiency, CE | ซีอี, ประสิทธิภาพการเผาไหม้, Example: ค่าที่ระบุถึงประสิทธิภาพในกระบวนการเผาไหม้ โดยวัดจากปริมาณ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในไอเสียที่เกิดขึ้น [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Coordinating Council | คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ทำหน้าที่ในการเตรียมการประชุมของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน และประสานงานกับคณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่าง ๆ เพื่อความสอดคล้องกันตามนโยบาย ประสิทธิภาพ และความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] | ASEAN Charter | กฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต] | ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] | Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] | Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] | Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] | International Telecommunica-tion Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | Look West Policy | นโยบายมองตะวันตก (ของไทย) เป็นแนวความคิดที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในทางการ เมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยสอดคล้องกับความเป็นจริงของยุคหลังสงครามเย็น ประเทศเป้าหมาย ได้แก่ ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา [การทูต] | Millennium Summit | การประชุมสุดยอดแห่งสหัสวรรษ การประชุมสุดยอดของประมุขของรัฐและหัวหน้ารัฐบาลที่จัดขึ้น ณ สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ระหว่างวันที่ 6-8 กันยายน 2543 (ค.ศ. 2000) เพื่อให้ผู้นำประเทศต่าง ๆ เสนอข้อคิดเห็นต่อการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่ 21 ให้สามารถเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงและสิ่งท้าทายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ [ ที่ประชุมยืนยันพันธกรณีร่วมกันที่จะเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สหประชา ชาติในการดำเนินการเรื่องสำคัญของมนุษยชาติ ดังระบุไว้ในปฏิญญาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Declaration) ] [การทูต] | Secretariat of the United Nations | คือสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสมัชชาตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ตามที่องค์การต้องการหน้าที่สำคัญของเลขาธิการสหประชา ชาติ คือ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การ นำเรื่องใดก็ตามเสนอต่อคณะมนตรีความมั่นคง ซี่งตามทรรศนะของเลขาธิการเห็นว่าเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคง ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ทำรายงานประจำปี และรายงานเพิ่มเติมใด ๆ ที่จำเป็นเสนอต่อสมัชชาสหประชาชาติ เกี่ยวกับงานขององค์การ สหประชาชาติคณะเจ้าหน้าที่ที่ทำงานช่วยเหลือเลขาธิการนั้น ถือเป็นเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศ ประกอบด้วยชนชาติต่าง ๆ ในการเกณฑ์เจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าทำงานกับสหประชาชาติ จะคัดแต่ผู้ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถ และความซื่อสัตย์ในระดับสูงสุด และคำนึงถึงเขตภูมิศาสตร์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการทำงานตามหน้าที่ ทั้งตัวเลขาธิการและคณะเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมงาน จะต้องไม่แสวงหรือรับคำสั่งจากรัฐบาลใด ๆ หรือจากผู้มีอำนาจหน้าที่อื่นใดที่อยู่นอกเหนือองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สมาชิกของสหประชาชาติได้ตกลงยอมรับนับถือความรับผิดชอบที่มีลักษณะระหว่าง ประเทศของสำนักเลขาธิการ และจักไม่แสวงใช้อิทธิพลใด ๆ ต่อสำนักเลขาธิการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเหล่านั้น [การทูต] | Team Thailand | ทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต] | อนุรักษ์พลังงาน | อนุรักษ์พลังงาน, ผลิตและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด [พลังงาน] | cost-effectiveness | ต้นทุน-ประสิทธิภาพ, Example: การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนของการใช้ทรัพยากรจำนวนหนึ่งของโครงการตามทางเลือกต่างๆ ที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเกิดผลประโยชน์อย่างเดียวกัน โดยจะเลือกทางเลือกที่มีต้นทุนน้อยที่สุด จะใช้ในกรณีที่มีทรัพยากรจำกัดหรือผลประโยชน์ที่ได้รับยากแก่การคิดเป็นตัวเงิน [เศรษฐศาสตร์] | economic efficiency | ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐศาสตร์, Example: การใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดผลสูงสุดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจจะเป็นการจัดสรรทรัพยากรการผลิตและสินค้าหรือบริการต่างๆ ที่ทำให้ผู้บริโภคได้รับความพึงพอใจสูงสุด การจะเกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจได้นั้น ที่สำคัญจะต้องมีการใช้ทรัพยากรโดยมีต้นทุนค่าเสียโอกาสต่ำสุด ซึ่งหมายความว่า ได้ผลผลิตสูงสุดจากทรัพยากรที่กำหนดให้ หรือ ใช้ทรัพยากรน้อยสุดจากผลผลิตที่ได้รับ [เศรษฐศาสตร์] | Activator | สารเคมีหรือส่วนผสมของสารเคมีทำหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของตัว เร่งปฏิกิริยาให้สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น ตัวอย่างของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ใช้กันมากที่สุดในอุตสาหกรรมยาง ได้แก่ ซิงก์ออกไซด์และกรดสเตียริก [เทคโนโลยียาง] | Internal mixer | เครื่องผสมยางระบบปิดเป็นเครื่องผสมยางที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน เครื่องผสมยางระบบปิดมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วนได้แก่ ห้องผสม (chamber) ตัวบดผสม (rotor) แท่งกด (ram) และระบบหล่อเย็น (cooling system) เครื่องผสมระบบปิดให้ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการผสมมากกว่าการใช้ Two-roll mill เพราะสารเคมีไม่ฟุ้งกระจายระหว่างการผสม ลดการสูญเสียสารเคมีขณะผสม และลดการผิดพลาดเนื่องจากการใช้แรงงานคนในการผสมสามารถผสมยางกับสารเคมีได้ ในปริมาณสูง เช่น 50-100 กิโลกรัม [เทคโนโลยียาง] | Kneader | นีดเดอร์ คือ เครื่องนวดยาง ซึ่งมีหลักการทำงานคล้ายกับเครื่องผสมแบบบานบูรี แต่มีประสิทธิภาพในการผสมที่ต่ำกว่า [เทคโนโลยียาง] | Mastication | ขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง] | Reinforcement | ความสามารถของสารตัวเติมในการเพิ่มประสิทธิภาพสมบัติเชิงกลเช่น มอดุลัส ความทนต่อแรงดึง ของยางให้สูงขึ้น โดยสารตัวเติมที่เติมลงไปนี้ไม่มีส่วนเข้าไปทำปฏิกิริยาในกระบวนการวัลคาไน ซ์ [เทคโนโลยียาง] | Reinforcing agent or reinforcing filler | สารตัวเติมเสริมแรง คือ สารตัวเติมที่เติมลงไปในยางแล้วช่วยเพิ่มประสิทธิภาพสมบัติเชิงกล เช่น มอดุลัส ความทนต่อแรงดึง ของยางให้สูงขึ้น ตัวอย่างสารตัวเติมเสริมแรง ได้แก่ เขม่าดำ และซิลิกา [เทคโนโลยียาง] | Barriers, Effective | เครื่องกีดขวางที่มีประสิทธิภาพ [การแพทย์] | Cardiac Deficiency | หัวใจหย่อนประสิทธิภาพ [การแพทย์] | Check, Double | ประสิทธิภาพในการแยกวิเคราะห์ [การแพทย์] | Cooling Effect | ลดความร้อน, ประสิทธิภาพการทำความเย็น [การแพทย์] | Cough, Effective | การไออย่างมีประสิทธิภาพ, ไอเอาเสมหะออก [การแพทย์] | Demand, Effective | อุปสงค์ที่มีประสิทธิภาพ [การแพทย์] | Diffusion Coefficient | ประสิทธิภาพการซึม, สัมประสิทธิ์การซึมซ่าน, ค่าสัมประสิทธิการแผ่, ค่าสัมประสิทธิ์การแพร่, สัมประสิทธิ์การแพร่ [การแพทย์] | Digestion, Efficiency of | ประสิทธิภาพของการย่อย [การแพทย์] | Effective, Maximum | ประสิทธิภาพสูงสุด [การแพทย์] | Effectiveness | ประสิทธิภาพทางทฤษฎี, ประสิทธิภาพ, ประสิทธิผล [การแพทย์] | Effectiveness, Classical Use | ประสิทธิภาพทางปฎิบัติ [การแพทย์] |
| | capability | (n) ความสามารถ, ขีดความสามารถ, ประสิทธิภาพ, สมรรถนะ, ปริมาณบรรจุ, See also: capacity, Syn. capableness | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | killer | (adj, slang) มีประสิทธิภาพอย่างมาก, น่าประทับใจมาก |
| audit | (n) การวัดประสิทธิภาพ | efficacy | (n) ความมีประสิทธิภาพ, See also: ความสามารถ, สมรรถภาพ, ประสิทธิภาพ, Syn. effectiveness, potency, productiveness | efficiency | (n) ความมีประสิทธิภาพ, See also: ความสามารถในการทำงานที่ใช้เวลา, พลังงานหรือเงินน้อยแต่มีประสิทธิภาพมาก, Syn. capability, capableness, competence | efficient | (adj) ซึ่งมีประสิทธิภาพ, See also: ที่ใช้เวลา, พลังงานหรือเงินน้อยแต่มีประสิทธิภาพมาก, Syn. competent, productive, proficient | efficiently | (adv) อย่างมีประสิทธิภาพ, See also: อย่างได้ผล | emasculate | (vt) ทำให้อ่อนกำลัง, See also: ทำให้เสื่อมประสิทธิภาพ, Syn. devitalize, enervate, weaken | ergonomics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการจัดวางรูปแบบของที่ทำงานและอุปกรณ์สำนักงานให้เหมาะสม สะดวก ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ, Syn. biotechnology, human engineering | eupepsia | (n) ระบบการย่อยอาหารที่มีประสิทธิภาพ | feckless | (adj) ซึ่งไร้ประสิทธิภาพ, See also: ซึ่งใช้การไม่ได้, ซึ่งไม่เอาไหน, ซึ่งไม่ได้เรื่อง, ขี้เกียจ, Syn. unconcerned | ginger up | (phrv) ทำให้มีชีวิตชีวา (คำไม่เป็นทางการ), See also: ทำให้มีประสิทธิภาพ, ทำให้มีผล | hi-fi | (n) เครื่องรับส่งคลื่นวิทยุที่มีประสิทธิภาพสูงและชัด | impractical | (adj) ซึ่งไม่มีประสิทธิภาพเมื่อนำมาใช้งานจริง, See also: ที่ใช้งานไม่ได้, Syn. unrealistic, unworkable, Ant. practical, realible, workable | inefficiency | (n) การไร้ประสิทธิภาพ, See also: ความไร้สมรรถภาพ, ความสูญเปล่า, Syn. incapability, incompetence, wastefulness | inefficient | (adj) ซึ่งไร้ประสิทธิภาพ, See also: ซึ่งสูญเปล่า, Syn. incompetent, incapable, ineffective | inoperative | (adj) ซึ่งไม่สามารถใช้งานได้, See also: ซึ่งไม่มีประสิทธิภาพ, ซึ่งไร้ประโยชน์, Syn. ineffective, unworkable, useless | maladministration | (n) การจัดการที่ไม่ดีหรือไม่ซื่อสัตย์, See also: การปรับตัวไม่ดี, การจัดการไม่มีประสิทธิภาพ, Syn. mismanagement, misrule | mishandling | (n) การจัดการผิดพลาด, See also: การจัดการไม่มีประสิทธิภาพ, การทำลวกๆ, Syn. abuse | power | (n) ความสามารถ, See also: ประสิทธิภาพ, สมรรถนะ, Syn. capability, ability | powerful | (adj) ที่มีประสิทธิภาพ | powerless | (adj) ที่ไม่มีประสิทธิภาพ | productively | (adv) อย่างก่อให้เกิดผล, See also: อย่างมีประสิทธิภาพ | shiftless | (adj) ซึ่งไม่เต็มใจทำ, See also: ขี้เกียจ, ซึ่งไม่มีประสิทธิภาพ idle; inactive | streamline | (vt) ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพขึ้น, Syn. make improvements | taut | (adj) รัดกุม (ถูกต้องและมีประสิทธิภาพในการใช้ภาษา), See also: รวบรัด |
| acoustics | (อะคู' สทิคซฺ) n. วิชาที่ว่าด้วยเสียง, โสตศาสตร์, ประสิทธิภาพของห้องที่มีต่อเสียง | active | (แอค' ทิฟว) adj. คล่องแคล่ว, กระตือรือร้น, สามารถเคลื่อนไหวเองได้, มีลักษณะเป็นกัมมันตภาพรังสี, มีประสิทธิภาพ, เป็นผลเร็ว, สมมันต์, สกรณ์ -activism n., Syn. energize | add-on program | โปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น) | adept | (adj. อะเดพทฺ', -n. แอด' เดพทฺ, อะเดพทฺ') ชำนาญ, มีประสิทธิภาพ, เชี่ยวชาญ, ผู้ชำนาญ | analogy | (อะแนล' โลจี) n. ความคล้ายคลึงกัน, ความเหมือนกัน, ภาวะอุปมาเหมือน, การเปรียบเหมือน, ประสิทธิภาพเหมือนกัน (resemblance) | ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ | appletalk | (แอปเปิลทอล์ค) ในปัจจุบัน มีการนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาใช้ร่วมกัน เพื่อทำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่เรียกว่า "ข่ายงาน" (network) การทำเช่นนี้จำเป็นจะ ต้องมีระบบประสานการใช้เครื่อง แอปเปิล ทอล์คนั้น ทำหน้าที่นี้ แต่ใช้สำหรับทำให้นำเครื่องแอปเปิลแมคอินทอชและเครื่องไอบีเอ็ม พีซีซึ่งมีระบบปฏิบัติการต่างกันมาใช้ร่วมกันในข่ายงานเดียวกันได้ เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุกเครื่องจะมีช่องต่อออก สำหรับแอปเปิลทอลค์ แต่ไอบีเอ็มพีซียังไม่มี ดู network ประกอบ | arcanum | (อาร์เค'นัม) n., (pl. -na) ความลี้ลับตำรับยาลับที่มีประสิทธิภาพสูง | assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) | brain damaged | ใช้การไม่ได้ไร้สมองหมายถึง อะไรก็ตามที่ภายนอกดูดี แต่ข้างในจริง ๆ นั้นแย่มาก ๆ เข้าทำนอง "ข้างนอกสุกใส ข้างในต๊ะติ่งโหน่ง" สำนวนภาษาไทย อีกสำนวนหนึ่งที่มีความหมายคล้ายกันก็คือ "สวยแต่รูป จูบไม่หอม" ถ้าใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็หมายถึงเครื่องที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพเหมือนกับที่โฆษณาเอาไว้ | businesslike | adj. เกี่ยวกับธุรกิจ, มีประสิทธิภาพ, เอาจริงเอาจัง | cache | (แค?) { cached, caching, caches } n. ที่ซ่อน, ที่เก็บ, สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน, เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory | capability | (เคพะบิล'ลิที) n. ประสิทธิภาพ, สมรรถภาพ, สมรรถนะ, ปริมาณบรรจุ | capacity | (คะแพซ'ซิที) n. ความสามารถที่จะรับ, ความจุ, ปริมาณ, สติปัญญา, ความสามารถ, สมรรถภาพ, ประสิทธิภาพ, การปฎิบัติหน้าที่, ความจุไฟฟ้า adj. จุเต็มที่, รับเต็มที่, Syn. size, power, position | chip | (ชิพ) 1. { chipped, chipping, chips } n. เศษไม้, เศษหิน, ชิ้น, แผ่นตัด, เศษ, เบี้ย, สิ่งเล็กสิ่งน้อย, สิ่งที่ไร้ค่าหรือมีค่าน้อย, ไม้ตอก, ก้อนมูลแห้ง, เงิน vt. ตัด, เลาะ, แกะ, แชะ, ขูด, สกัด, เจาะ, ทำปากแหว่ง, เฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ , พูดเหน็บแนม, พูดสอด, จิกให้ไข่แตก vi. แหว่ง, เป็นรอยร้า 2. n. หมายถึงวงจรรวม (integrated circuit) ทำหน้าที่ เหมือนสาร กึ่งตัวนำ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในไมโครคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน มีชิปแบบวีแอลเอสไอ (VLSI หรือ Very large scale integrated circuit) ซึ่งจะมีทรานซิสเตอร์เป็นพัน ๆ ตัว แต่มีขนาดเล็กนิดเดียว ราคาถูกลงทุกวัน แต่มีประสิทธิภาพสูงมาก ถ้าชิปใดมีทั้งหน่วยความจำ หน่วยคำนวณ และตรรกะ เราจะเรียกชิปนั้นว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (micro processor) ปัจจุบัน เราใช้ชิปกันมากในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เครื่องคิดเลข นาฬิกา เครื่องมือแพทย์ ฯ ดู microprocessor ประกอบ | coreldraw | (คอเรล ดรอว์) เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่ง ใช้ในการวาดภาพ มีผู้นิยมใช้กันมากในการสร้างสื่อโฆษณา ถือกันว่าเป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูงมากโปรแกรมหนึ่ง | disk | (ดิสคฺ) { disked, disking, disks } n. แผ่นกลม, แผ่นเสียง, จานกลม. vt. พรวนดินด้วยคราดกลม., Syn. disc, circle จานบันทึกหมายถึง อุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะกลม เหมือนจาน มีอยู่ 3 ชนิด1. จานอ่อน floppy disk มีลักษณะอ่อน บรรจุในซองกระดาษ มีขนาด 5.25x5.25 นิ้ว การเก็บรักษาค่อนข้างยาก จุข้อมูลได้ประมาณสามแสนหกหมื่นถึงหนึ่งล้านสองแสนตัวอักษร 2. จานบันทึกอีกชนิดหนึ่งมีลักษณะแข็งกว่าเพราะห่อหุ้มด้วยพลาสติกแข็ง มีขนาดเล็กกว่าแบบแรก มักเรียกกันว่า diskette มีขนาด 3.5x3.5 นิ้ว จุข้อมูลได้สูงสุดถึง 1.44 ล้านตัวอักษร ปัจจุบันเป็นที่นิยมมากกว่าแบบแรก เพราะเก็บรักษาได้ง่ายกว่า3. จานบันทึกแข็งหรือที่นิยมเรียกว่า ฮาร์ดดิสก์ hard disk มักจะบรรจุไว้ในกล่องพร้อมกับหน่วยขับ drive แล้วเก็บอยู่ภายในตัวเครื่องเลย ฮาร์ดดิสก์นั้นมีความจุสูงมากประมาณ 100-800 ล้านตัวอักษร เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เพราะมีประสิทธิภาพสูงและราคาลดลงทุกวัน ปัญหาเรื่องการเก็บรักษาเกือบจะไม่มีเลย แต่อาจจะมีปัญหาเรื่องเกี่ยวกับไวรัสได้นอกจาก 3 ชนิดที่ได้กล่าวถึงมาแล้ว ก็ยังมีอีกหลายชนิด เช่น จานบันทึกที่นำมาใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ mainframe ที่เรียกว่าชุดจานบันทึก disk pack ซึ่งจะมีแกนยึดติดกันตรงกลาง, จานแสงหรือจานเลเซอร์ optical or laser disk, จานวีดิทัศน์ vedio disk, จานบันทึกอัดแน่น compact disk ซึ่งล้วนแต่มีความจุสูงมาก ปัจจุบันจานบันทึกได้รับความนิยมมากกว่าสื่อบรรจุข้อมูลอื่น เพราะราคาถูก ใช้ซ้ำได้ และการค้นคืนข้อมูลทำได้รวดเร็วกว่าสื่อชนิดอื่น | disk pack | ชุดจานชุดจานบันทึกจานบันทึกที่ใช้กับเมนเฟรมมักจะมาเป็นชุด ๆ ละ 5-10 แผ่น มีแกนยึดให้ติดกันอยู่ตรงกลาง ชนิด (ที่เป็นแผ่นเดียวก็มี เรียกว่า disk cartridge) จานนี้ใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพมาก โดยปกติ จานบันทึกแต่ละชุดจะบรรจุข้อมูลได้ทั้งสองหน้า ยกเว้นจานแรกและจานสุดท้าย | duty | (ดิว'ที) n. ภาษี, อากร, หน้าที่, ภาระหน้าที่, ประสิทธิภาพของเครื่อง | efficacious | (เอฟฟะเค'เชิส) adj. มีประสิทธิภาพ, มีผล, ได้ผล., See also: efficaciousness n. | efficacy | (เอฟ'ฟะคะซี) n. ประสิทธิภาพ, ความสามารถที่ทำให้เกิดผล, Syn. effectiveness | efficiency | (อิฟิช'เชินซี) n. ความได้ผล, ประสิทธิภาพ, ประสิทธิผล, Syn. efficacy | efficient | (อิฟิช'เชินทฺ) adj. ซึ่งมีประสิทธิภาพ, มีความสามารถ, มีผลต่อ, ซึ่งรับภาระได้อย่างสบาย | emm | (อีเอ็มเอ็ม) ย่อมาจากคำ expanded memory manager เป็นชื่อของโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำให้หน่วยความจำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่วนมากจะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวประมวลผลเป็นชิป (chip) เบอร์ 80386 หรือ 80486 | esdi | (อีเอสดีไอ) ย่อมาจากคำว่า enhanced small device interface ใช้เป็นมาตรฐานในการเพิ่มประสิทธิภาพในการเป็นตัวประสานที่ใช้กับจานบันทึกแข็งหรือฮาร์ดดิสก์ (hard disk) | expanded memory manager | ชื่อโปรแกรมขยายหน่วยความจำใช้ตัวย่อว่า EMM (อีเอ็มเอ็ม) เป็นชื่อของโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำให้หน่วยความจำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่วนมากจะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวประมวลผลเป็นชิป (chip) เบอร์ 80386 หรือ 80486 | expansion bus | บัสส่วนขยายหมายถึง บัส (bus) เพิ่มพิเศษที่เครื่องคอมพิวเตอร์เตรียมไว้ให้เสียบแผ่นวงจรเพิ่มเข้าไป เพื่อที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คอมพิวเตอร์สมัยก่อนไม่มีส่วนนี้ ทำให้เพิ่มขีดความสามารถไม่ได้เลย คอมพิวเตอร์ปัจจุบันจะคำนึงถึงเรื่องนี้เป็นสำคัญ และจะมีเตรียมไว้ให้ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ | expansion card | แผ่นวงจรส่วนขยายหมายถึง แผ่นวงจรที่ออกแบบพิเศษให้ใช้เสียบเข้ากับบัสของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง ให้ทำงานเพิ่มขึ้นได้ในด้านต่าง ๆ เช่น ทำให้หน่วยความจำของเครื่องมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือทำให้เครื่องใช้กับซีดีรอม (CD ROM) ได้ หรือทำให้ใช้เป็นโมเด็มภายใน (internal modem) ได้ เป็นต้น | featuritis | การเพิ่มประสิทธิภาพเฉพาะด้านหมายถึง การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้นในแต่ละด้าน | flimsy | (ฟลิม'ซี) adj. ไม่มั่นคง, บอบบาง, อ่อนกำลัง, อ่อนแอ, ไม่เพียงพอ, ไม่มีประสิทธิภาพ. n. กระดาษบาง, สำเนารายงาน, สำเนา., See also: flimsily adv. flimsiness n., Syn. weak | fourth generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่คอมพิวเตอร์ในยุคที่สี่นี้มีขนาดของหน่วยความจำเล็กกว่ายุคที่สามลงไปอีก มีการนำไอซี (IC หรือ integrated circuit) หรือวงจรเบ็ดเสร็จมารวมกันเป็นแผงใหญ่ ๆ เรียกว่าแผงวงจรรวมความจุสูง (large scale integrated circuit) หรือบางทีเรียกกันว่าชิป (chip) ทำให้สร้างคอมพิวเตอร์ได้เล็กลงมาก จึงทำให้เกิดมีไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซีขึ้น ราคาขายในท้องตลาดก็ลดลงได้มาก ทำให้เป็นที่นิยมอย่างรวดเร็วในหมู่คนทั่วไป ไม่เฉพาะแต่นักคอมพิวเตอร์ ต่อมาปลายยุคที่สี่นี้ มีการนำพีซีหลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (network) ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นไปอีกดู generation ประกอบ | function | (ฟังคฺ'เชิน) หน้าที่, การปฏิบัติงาน, ภาระกิจ, งาน, พิธี, บทบาท, ประสิทธิภาพ, การชุมนุมใหญ่, (คณิตศาสตร์) จำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น, ฟังค์ชัน. vi. ปฏิบัติหน้าที่, กระทำ, ใช้ตำแหน่งหน้าที่, Syn. perform, work, do | hard disk | (ฮาร์ดดิสก์) จานบันทึกแบบแข็งหมายถึง จานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก ใช้เก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก ๆ โดยปกติจะบรรจุไว้ในกล่องมิดชิด บางที เรียก fixed disk เพื่อให้เห็นแตกต่างกับจานบันทึกขนาดเล็กที่นำไปไหนมาไหนได้ ที่เรียกว่า floppy disk ในปัจจุบัน ฮาร์ดดิสก์เป็นของจำเป็นมาก และมีอยู่ภายในไมโครคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ความจุขนาดปกติจะ มีตั้งแต่ 40 - 1, 000 เมกะไบต์ ยิ่งจุมาก ก็จะยิ่งทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น | hi-fi | (ไอ'ไฟ) n., adj. เครื่องรับส่งคลื่นวิทยุที่มีประสิทธิภาพสูง และชัด | home computer | คอมพิวเตอร์ระดับบ้านหมายถึง เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีราคาถูก และมีประสิทธิภาพดีพอจะใช้ในบ้านได้ (ใช้งานที่ไม่สลับซับซ้อนนัก) บางทีเรียก คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซี | indexed sequential access | วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนีใช้ตัวย่อว่า ISAM (อ่านว่า ไอแซม) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | ineffective | (อินอิเฟค'ทิฟว) adj. ไม่ได้ผล, ไร้ประสิทธิภาพ, ไร้ความสามารถ., See also: ineffectively adv. ineffectiveness n., Syn. futile, Ant. effective | inefficiency | (อินอิฟิช'เชินซี) n. การไม่มีประสิทธิภาพ, การไร้สมรรถภาพ | inefficient | (อินอิฟิช'เชินทฺ) adj. ไม่มีประสิทธิภาพ, ไร้สมรรถภาพ. | information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | isam | (ไอแซม) ย่อมาจาก indexed sequential access method (แปลว่า วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนี) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | low-level format | จัดรูปแบบอย่างต่ำหมายถึง การจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ของจานบันทึกว่าจะต้องจัดรูปแบบ การบันทึกแบบนี้เมื่อเราใช้จานแข็งเป็นครั้งแรก หลังจากนั้น ก็ต้องใช้คำสั่งFORMAT ในระบบดอสเพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สำหรับจานอ่อน (floppy disk) นั้น เราไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามกระบวนการนี้ | memory unit | หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่ | might | (ไมทฺ) n. อำนาจ, ความสามารถ, ประสิทธิภาพ, กำลังกาย, แรง, อำนาจหรือกำลังที่เหนือกว่า -Phr. (with might and main มีอำนาจเต็มที่) v. อดีตกาลของ may- | operation research | n. การวิจัยปฏิบัติการโดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาเป้าหมายและให้ได้ประสิทธิภาพที่มากที่สุด | organise | (ออร์'กะไนซ) vt., vi. สร้าง, ทำให้เป็นระบบ, จัดตั้ง, รวบรวม, ทำให้มีประสิทธิภาพ., See also: organisable adj. organizable adj. organisation n. organization n., Syn. systematize, sort | organize | (ออร์'กะไนซ) vt., vi. สร้าง, ทำให้เป็นระบบ, จัดตั้ง, รวบรวม, ทำให้มีประสิทธิภาพ., See also: organisable adj. organizable adj. organisation n. organization n., Syn. systematize, sort | pcmcia | (พีซีเอ็มซีไอเอ) ย่อมาจาก Personal Computer Memory Card International Association (สมาคมระหว่างประเทศเพื่อบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) แต่เดิมหมายถึงแผ่นวงจรที่ใช้บันทึกข้อมูล มีลักษณะเหมือนการ์ด ขนาดเท่าบัตรเครดิต (ยาว 8.5 ซม. กว้าง 5.4 ซม.) ต่อมาได้มีการพัฒนาให้นำมาใช้สอยได้มากขึ้น เช่น ใช้เป็นฮาร์ดดิสก์ก็ได้ เป็นการ์ดเพิ่มหน่วยความจำก็ได้ เป็นการ์ดแฟกซ์ หรือโมเด็มก็ได้ โครงสร้างของการ์ดนี้เป็นชิป (chip) ใช้เสียบเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก ๆ เช่น โน้ตบุ๊ก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ บางด้าน | personal computer memory | Personal Computer Memory Card International Association สมาคมระหว่างประเทศเพื่อ บัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลใช้ตัวย่อว่า PCMCIA (อ่านว่า พีซีเอ็มซีไอเอ) แต่เดิมหมายถึงแผ่นวงจรที่ใช้บันทึกข้อมูล มีลักษณะเหมือนการ์ด ขนาดเท่าบัตรเครดิต (ยาว 8.5 ซม. กว้าง 5.4 ซม.) ต่อมาได้มีการพัฒนาให้นำมาใช้สอยได้มากขึ้น เช่น ใช้เป็นฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ก็ได้ เป็นการ์ดเพิ่มหน่วยความจำก็ได้ เป็นการ์ดแฟกซ์ หรือโมเด็มก็ได้ โครงสร้างของการ์ดนี้เป็นชิป (chip) ใช้เสียบเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก ๆ เช่น โน้ตบุ๊ก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ บางด้าน |
| adept | (adj) ชำนาญ, เชี่ยวชาญ, มีประสิทธิภาพ, เก่ง | capability | (n) ความสามารถ, สมรรถภาพ, ประสิทธิภาพ, ฝีมือ | capable | (adj) สามารถ, มีฝีมือ, มีประสิทธิภาพ | effect | (n) ผล, ผลกระทบ, ประสิทธิภาพ, อิทธิพล, ปรากฏการณ์, ทรัพย์สิน | effective | (adj) มีประสิทธิภาพ, เป็นผล, ได้ผล, มีผลบังคับใช้ | efficacious | (adj) เป็นผลดี, ประสิทธิภาพดี, ได้ผลชะงัด | efficacy | (n) ความสามารถ, ประสิทธิภาพ, สมรรถภาพ | efficiency | (n) ประสิทธิภาพ, ความสามารถ, ประสิทธิผล, ความได้ผล | efficient | (adj) สามารถ, ซึ่งมีประสิทธิภาพ, ซึ่งได้ผลต่อ | flimsy | (adj) แบบบาง, โงนเงน, บอบบาง, ไม่มีแก่นสาร, ไม่มีประสิทธิภาพ | function | (n) การกระทำ, หน้าที่, ภารกิจ, งาน, บทบาท, ประสิทธิภาพ | ineffective | (adj) ไม่สามารถ, ไม่ได้ผล, ไม่มีประสิทธิภาพ | inefficiency | (n) ความไม่มีประสิทธิภาพ, ความไร้สมรรถภาพ | inefficient | (adj) ไร้สมรรถภาพ, ไม่มีประสิทธิภาพ | might | (n) กำลัง, ประสิทธิภาพ, อำนาจ, แรง, ความสามารถ | proficiency | (n) ประสิทธิภาพ, ความชำนาญ, ความคล่องแคล่ว, ความสามารถ | proficient | (adj) มีประสิทธิภาพ, ชำนาญ, จัดเจน, คล่องแคล่ว, สามารถ | strengthen | (vt) เพิ่มประสิทธิภาพ, ทำให้แข็งแรงขึ้น, ให้พลัง |
| 効果 | [こうか, kouka] (adj) มีประสิทธิภาพ | 強化 | [きょうか, kyouka] (n, vt) ทำให้แข็งแรง, เพิ่มประสิทธิภาพ |
| 性能 | [せいのう, seinou] (n) สมรรถภาพ, ประสิทธิภาพ | 効率 | [こうりつ, kouritsu] (adj) ประสิทธิภาพ |
| ワークステーション | [わーくすてーしょん, wa-kusute-shon] TH: เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง มักใช้ในงานวิจัย EN: workstation |
| Leistung | (n) |die, pl. Leistungen| ความสามารถ, ประสิทธิภาพ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |