Search result for

*การอ่าน*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การอ่าน, -การอ่าน-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ(n, phrase) Business English Reading

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
เดินทุ่ง ๑ก. ตะลุยไป (ใช้ในการอ่าน แต่ง หรือแปลหนังสือ).
ตะกุกตะกักว. ติด ๆ ขัด ๆ, ไม่ราบรื่น, (มักใช้แก่การอ่านหรือพูด).
ตู่ตัวว. เพี้ยนตัว, ไม่ตรง, (ใช้ในการอ่านหนังสือ) เช่น อ่านตู่ตัว ด เป็นตัว ค.
แตกเรียกการอ่านหนังสือออกคล่อง ว่า อ่านหนังสือแตก, เรียกเสียงห้าวเมื่อเริ่มเป็นหนุ่ม ว่า เสียงแตก, เรียกอาการที่พูดจนแสบคอหรือตะโกนดังจนสุดเสียง ว่า พูดจนคอแตก ตะโกนจนคอแตก.
ทำนองเสนาะน. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน.
ยติ ๒น. การหยุดเป็นจังหวะตามกำหนดในการอ่านฉันท์.
หนอนหนังสือน. คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับการอ่านหนังสือ.
อักขรวิธีน. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร.
อักขรสมัย(อักขะหฺระสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน.
อักษรสมัย(อักสอนสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน.
อัธยายการอ่าน, การเล่าเรียน.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
amnesia, visual; alexia; aphasia, visual; blindness, wordภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
aphasia, visual; alexia; amnesia, visual; blindness, wordภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
alexia; amnesia, visual; aphasia, visual; blindness, wordภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
bradylexiaอาการอ่านช้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
blindness, word; alexia; amnesia, visual; aphasia, visualภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
demand readingการอ่านตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
destructive readingการอ่านแบบทำลาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
dyslexiaภาวะเสียการอ่านเข้าใจ, ภาวะเสียการอ่านรู้ความ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
visual amnesia; alexia; aphasia, visual; blindness, wordภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
visual aphasia; alexia; amnesia, visual; blindness, wordภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
word blindness; alexia; amnesia, visual; aphasia, visualภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Book and readingหนังสือและการอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Reader's advisory serviceบริการแนะนำการอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
T.A.B Telephonyการบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติ, การบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติของสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ผู้ฟังสามารถฟังการอ่านหนังสือเสียงโดยการโทรไปที่โทรศัพท์หมายเลข  ๐-๒๒๐๓-๙๑๐๐ ระบบจะจัดให้ผู้ฟังสามารถเลือกฟังหนังสือใดๆ ในระบบ [Assistive Technology]
Books and readingหนังสือและการอ่าน [TU Subject Heading]
Lipreadingการอ่านริมฝีปาก [TU Subject Heading]
Newspaper readingการอ่านหนังสือพิมพ์ [TU Subject Heading]
Oral interpretation of poetryการอ่านทำนองเสนาะ [TU Subject Heading]
Oral readingการอ่านออกเสียง [TU Subject Heading]
Readingการอ่าน [TU Subject Heading]
Reading (Early childhood)การอ่าน (วัยเด็กตอนต้น) [TU Subject Heading]
Reading (Elementary)การอ่าน (ประถมศึกษา) [TU Subject Heading]
Reading (Higher education)การอ่าน (อุดมศึกษา) [TU Subject Heading]
Reading (Kindergarten)การอ่าน (อนุบาล) [TU Subject Heading]
Reading (Preschool)การอ่าน (ก่อนวัยเรียน) [TU Subject Heading]
Reading (Secondary)การอ่าน (มัธยมศึกษา) [TU Subject Heading]
Reading comprehensionความเข้าใจในการอ่าน [TU Subject Heading]
Reading interestsความสนใจในการอ่าน [TU Subject Heading]
Reading promotionการส่งเสริมการอ่าน [TU Subject Heading]
Reading readinessความพร้อมในการอ่าน [TU Subject Heading]
Speed readingการอ่านเร็ว [TU Subject Heading]
Alexiaอ่านไม่ออก, ความลำบากในการอ่าน, อาการอ่านไม่ได้, การไม่สามารถเข้าใจความหมายของภาษาเขียน [การแพทย์]
Bibliotherapyการรักษาด้วยการอ่านหนังสือ;หนังสือบำบัด [การแพทย์]
Dyslexiaดีย์สเลกเซีย, ความผิดปกติในการอ่าน [การแพทย์]
Films, Unknownฟิล์มที่ต้องการอ่านค่า [การแพทย์]
solid state drive (SSD)เครื่องขับแบบโซลิดสเตต, อุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ล้วน มีหลักการทำงานเช่นเดียวกับหน่วยความจำแบบแฟลช ไม่ได้ใช้จานแม่เหล็กในการเก็บข้อมูล จึงไม่มีชิ้นส่วนที่ต้องเคลื่อนไหวในขณะบันทึกหรืออ่านข้อมูลเหมือนกับฮาร์ดดิสก์ ทำให้ประหยัดไฟกว่า การอ่านหรือบันทึกทำได้รว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
การอ่าน[kān ān] (n) EN: reading  FR: lecture [ f ]
การอ่านคำพิพากษา[kān ān khamphiphāksā] (n, exp) FR: lecture du verdict [ f ]
การอ่านลายมือ[kān ān lāimeū] (n, exp) EN: palmistry  FR: chiromancie [ f ]
การอ่านหนังสือ[kān ān nangseū] (n, exp) EN: reading  FR: lecture [ f ]
การอ่านตามความนิยม[kān ān tām khwām niyom] (n, exp) EN: modern pronunciation  FR: prononciation moderne [ f ]
การอ่านตามหลัก[kān ān tām lak] (n, exp) FR: prononciation ancienne [ f ] ; prononciation traditionnelle [ f ]

English-Thai: Longdo Dictionary
dyslacxia(n) โรคดิสเล็กเซีย คือ ความบกพร่องในการอ่าน มีปัญหาในการอ่าน อ่านได้บ้างไม่ได้บ้าง อ่านไม่คล่อง สะกดคำติดขัด ผสมคำไม่ได้ หรืออ่านไม่ได้เลย โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของเส้นประสาท

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
alexia(n) การสูญเสียความสามารถในการอ่าน, Syn. word blindness
browse(n) การอ่านคร่าวๆ, Syn. skim
erudition(n) ความรู้ (ที่ได้จากการเรียนและการอ่าน), Syn. education, knowledge, scholarship
illiteracy(n) การไม่รู้หนังสือ, See also: การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้, Syn. ignorance
learning(n) ความรู้ที่ได้มาจากการอ่านหรือการศึกษา, See also: ความรู้, Syn. knowledge, information
literacy(n) ความสามารถในการอ่านและเขียน
phonics(n) วิชาการอ่านออกเสียงและการสะกดคำศัพท์
read(adj) ซึ่งมีความรู้จากการอ่าน, See also: ซึ่งอ่านหนังสือมามาก
readable(adj) ซึ่งสามารถอ่านได้, See also: ง่ายต่อการอ่าน, อ่านง่าย, Syn. clear, legible
reader(n) หนังสือฝึกการอ่าน, Syn. schoolbook, textbook
reading(adj) ซึ่งใช้ในการอ่าน
reading(n) การอ่าน
reading age(n) ความสามารถในการอ่านของบุคคล
recital(n) การท่อง, See also: การอ่านออกเสียง
read in(phrv) เข้าใจ (ด้วยการอ่านหรือค้นคว้า)
well-read(adj) ซึ่งมีความรู้มากและถี่ถ้วนจากการอ่าน, Syn. erudite, knowledgeable

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
bar code optical scannerเครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น
begin of tapeจุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป
boot(บูท) { booted, booting, boots } n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า, รองเท้าบู๊ท, เครื่องหุ้มคล้ายปลอก, ฝาครอบป้องกัน, ปลอกหุ้มเบาะ, โครงรถ, เครื่องรัดทรมานข้อเท้า, การเตะ, การถีบ, การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท, เตะ, ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot"
bot1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป
card readerเครื่องอ่านบัตรหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้การอ่านรูที่เจาะในบัตรแล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านั้นทำได้ด้วยการใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นส่งเข้าไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป
cd-rom driveหน่วยขับซีดีรอมหมายถึง หน่วยบันทึกที่ใช้อ่านจานบันทึกอัดแน่น หรือซีดี ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากมีหน่วยบันทึกที่สามารถอ่านข้อมูลจากสื่อชนิดนี้ได้ แต่ยังคงบันทึกข้อมูลลงไปไม่ได้ ต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ความเร็วในการอ่านค่อนข้างสูงจนดูภาพเคลื่อนไหวได้ดีเหมือนดูภาพยนตร์ ในปัจจุบัน จานซีดีกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นทุกที ทำให้ราคาถูกลงมาก คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจึงมักจะมีหน่วยบันทึกชนิดนี้ติดตั้งไว้ด้วย
character readerเครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk)
cim(ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย
collation(โคเล'เชิน) n. การตรวจเทียบ, อาหารว่าง, การอ่านเรื่องนักบุญให้ฟังกัน, Syn. snack
computer input from microไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้)
direct accessการเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ
ibg(ไอบีจี) ย่อมาจาก interblock gap (ช่องว่างระหว่างบล็อก) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ
image scannerเครื่องตรวจภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านภาพหรือข้อความแล้วนำเข้าไปเก็บเป็น "ภาพ " ในหน่วยความจำ เพื่อนำมาใช้ในการประมวลผลต่อไป ดู scanner ประกอบ
immediate accessหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access
interblock gapช่องว่างระหว่างบล็อกใช้ตัวย่อว่า IBG (อ่านว่า ไอบีจี) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ
interrecord gapช่องว่างระหว่างระเบียนใช้ตัวย่อว่า IRG ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ
intonation(อินโทเน'เชิน) n. ลักษณะหรือท่วงทำนองเสียง, เสียงสูงต่ำ, การอ่านหรือออกเสียง สูงต่ำ, การเปล่งเสียงเฉพาะ., See also: intonational adj.
irg(ไออาร์จี) ย่อมาจาก interrecord gap ที่แปลว่า ช่องว่างระหว่างระเบียน ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ
magnetic ink character reเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น
main memoryหน่วยความจำหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storage
main storageหน่วยเก็บหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main memory
micr(เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น
ocrabbr. optical character recognition, optical character reader (แปลตรง ๆ ได้ว่า เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น
odd even checkการตรวจสอบภาวะคู่หรือคี่หมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจสอบแต่ละหน่วยข้อมูลไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) หรือเป็นคำ (word) ว่ามีจำนวนบิต (bit) ที่เป็น 1 เป็นจำนวนคู่หรือคี่ โดยการเพิ่มหนึ่งบิตที่เรียกว่า บิตเสริม (parity bit) เข้าที่ท้ายหรือต้นข้อมูลนั้น ๆ เพื่อให้จำนวนบิตที่เป็น 1 เป็นเลขคี่หรือคู่เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน, บันทึก, หรือถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริมก็จะถูกนำมาคำนวณและเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากันก็แปลว่าการอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้อ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน parity check
omrโอเอ็มอาร์ย่อมาจาก optical mark reader หรือที่แปลว่า เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านตัวพิมพ์ หรือเครื่องหมายต่าง ๆ ด้วยแสง นิยมใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) หรือตรวจข้อสอบแบบมีตัวเลือก (multiple choices) ฯ
optical character reecognการรับรู้อักขระด้วยแสงใช้ตัวย่อว่า OCR (อ่านว่า โอซีอาร์) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น
optical mark readerเครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสงใช้ตัวย่อว่า OMR (อ่านว่า โอเอ็มอาร์) หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านตัวพิมพ์ หรือเครื่องหมายต่าง ๆ ด้วยแสง นิยมใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) หรือตรวจข้อสอบแบบมีตัวเลือก (multiple choices) ฯ
paper tapeแถบกระดาษเทปกระดาษเป็นสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกของคอมพิวเตอร์เมนเฟรมในสมัยแรก ๆ โดยทั่วไป แถบกระดาษที่เคยนิยมใช้มีขนาดกว้าง 0.75 ถึง 1 นิ้ว แถบกระดาษม้วนหนึ่ง ๆ ยาว 30 - 1000 ฟุต ม้วนอยู่บนล้อวงกลม ลักษณะการบันทึก ใช้วิธีการเจาะเป็นรูกลม ๆ มีความจุประมาณ 10 ล้านตัวอักขระต่อเทป 1 นิ้ว ปัจจุบัน ไม่มีใครรู้จักแล้ว เพราะแก้ไขยาก ใช้ซ้ำไม่ได้เลย ทำให้สิ้นเปลืองมาก ในการอ่านข้อมูลบนแถบกระดาษ ใช้เครื่องอ่านแถบกระดาษ เรียกว่า paper tape reader ในการบันทึก ใช้เครื่องเจาะแถบกระดาษ ซึ่งเรียกว่า paper tape punch ซึ่งจะทำงานเมื่อได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง สามารถเจาะได้ประมาณ 10 - 150 แถวต่อวินาที
paper tape readerเครื่องอ่านแถบกระดาษเครื่องอ่านเทปกระดาษหมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการอ่านรูที่เจาะบนแถบกระดาษ แล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านี้ ทำได้โดยใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อทำหารประมวลผลต่อไปดู paper tape ประกอบ
parity checkการตรวจสอบภาวะเสริมหมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจแต่ละหน่วยข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) คำ (word) ว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน บันทึก หรือ ถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริม (parity bit) ก็จะถูกนำมาคำนวณแล้วเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากัน ก็แปลว่า การอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้มีการอ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน odd even check
perusal(พะรู'เซิล) n. การอ่าน, การอ่านตรวจ.
primary storageหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storageดู secondary storage เปรียบเทียบprint : พิมพ์หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้จากคอมพิวเตอร์ลงบนกระดาษ หรือแผ่นใส ฯ กับใช้เป็นรายการคำสั่งในโปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรม ที่จะให้คอมพิวเตอร์ทำการดังกล่าว ซึ่งมักจะมีคำถามตามมาอีกหลายคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) เป็นต้นว่า พิมพ์กี่ชุด พิมพ์หน้าไหนบ้าง ขยายหรือย่อขนาดกี่เปอร์เซ็นต์ ฯ รวมทั้งเป็นคำสั่งในโปรแกรมในภาษาต่าง ๆ เกือบทุกภาษาด้วย
reading(รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่าน, Syn. perusal, interpret
recitation(เรสซิเท'เ?ิน) n. การเล่นดนตรีเดี่ยว, การท่อง, การท่องให้ครูฟัง, บทเรียนท่องจำ, การบรรยายในห้องเรียน, การอ่านออกเสียง
scannerเครื่องกราดตรวจเครื่องกราดภาพตัวกราดตรวจตัวกราดภาพหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้สำหรับนำข้อความหรือภาพเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ ด้วยวิธีการกราดแสงผ่าน คอมพิวเตอร์สามารถนำข้อมูลที่ส่งเข้าไปนั้นมาแก้ไข ปรับแต่ง เพิ่มเติม จัดเก็บและแสดงผลออกมาได้ทั้งทางจอภาพและเครื่องพิมพ์ แต่เดิม เมื่อใช้เครื่องจับภาพอ่านข้อมูลที่เป็นเอกสารเข้าไป คอมพิวเตอร์จะนำไปเก็บในลักษณะของภาพ (image) กล่าวคือไม่สามารถนำข้อความนั้นมาแก้ไขได้ แต่ในปัจจุบัน การพัฒนาได้ก้าวไปไกล ถึงการที่สามารถแปลงตัวอักษรที่เป็นภาพ ให้มีลักษณะเป็นเอกสารที่นำมาแก้ไขตัวสะกดได้ โดยนำมาทำในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) เครื่องกราดภาพที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 แบบคือ แบบระนาบ (flatbed) กับแบบมือถือ (handheld) เช่น แบบที่ใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) ใช้ตามร้านสรรพสินค้า
serial processingการประมวลผลแบบลำดับหมายถึง การอ่าน ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ไปทีละแฟ้มข้อมูล โดยเรียงไปตามลำดับของแฟ้มที่เก็บไว้ ตรงข้ามกับการประมวลผลแบบขนาน (pararell processing) ดู pararell processing เปรียบเทียบ
system diskจานบันทึกระบบหมายถึง จานบันทึกที่บรรจุระบบปฏิบัติการ (ถ้าเป็นพีซี ก็หมายถึง MS DOS) สามารถนำมาใช้เริ่มเครื่องใหม่ได้ (boot) โดยใส่ในหน่วยบันทึก A : จานบันทึกระบบต้องมีโปรแกรม 3 โปรแกรม เป็นอย่างน้อย คือ lo.sys, Msdos.sys และ Command.com สองแฟ้มแรกจะถูกซ่อนอยู่ (hidden files) แม้ว่าจะใช้คำสั่ง Dir ก็จะไม่แสดงบนจอภาพโปรแกรม lo.Sys จะดูแลในเรื่องการนำข้อมูลเข้า และการแสดงผล ส่วน MSDOS.sys จะจัดการเกี่ยวกับเรื่องการอ่านและการบันทึกข้อมูลลงในแผ่นจานบันทุกนั้น ส่วน Command.com ก็จะมีคำสั่งพื้นฐานต่าง ๆ เช่น dir, copy, delete จานบันทึกระบบนี้มีความสำคัญมาก (โดยเฉพาะเครื่องที่ไม่มีฮาร์ดดิสก์) ถ้าไม่มีจานบันทึกนี้จะเริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ไม่ได้เลย ถ้ามีฮาร์ดดิสก์ อาจใช้ฮาร์ดดิสก์เป็นจานบันทึกระบบเลยก็ได้
tape driveหน่วยขับแถบบันทึกอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลจากหรือลงในแถบบันทึก (tape) การอ่านข้อมูลจากแถบบันทึกนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง หน่วยขับแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสุญญากาศ (อุปกรณ์นี้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) เท่านั้น)
tape unitหน่วยแถบบันทึกหมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) หรือบันทึกข้อมูลลงบนแถบบันทึก การอ่านข้อมูลจากเทปนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง แต่การบันทึกจะสามารถทำได้โดยเดินเทปไปข้างหน้าเพียงทิศทางเดียวเท่านั้น หน่วยขับเทปหรือแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสูญญากาศมีความหมายเหมือนกับ tape driveดู tape ประกอบ
well-read(เวล'เรด) adj. อ่านหนังสือมาก, ู้ดีจากการอ่าน

English-Thai: Nontri Dictionary
coding(n) การถอดรหัส, การอ่านรหัส
elocution(n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง
enunciation(n) การออกเสียง, การอ่านออกเสียง, การแถลง, การประกาศ, การสาธยาย
perusal(n) การอ่าน, การพินิจพิจารณา, การตรวจ
reading(n) การอ่าน, หนังสือสำหรับอ่าน
recitation(n) การอ่านออกเสียง, การสวด, การท่องอาขยาน, การบรรยาย

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Dyslexia(n) ความบกพร่องในการอ่าน หรือ ความบกพร่องในด้านการเรียนรู้
rying[ไร'อิง] (n) การอ่าน

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
今日は[こんにちは, konnichiwa, konnichiha , konnichiwa] สวัสดี (ใช้ได้โดยทั่วไป แต่ความหมายเฉพาะคือสวัสดีตอนสายถึงช่วงใกล้เวลาเย็น มักมีการอ่านผิดโดยสะกดตรงตัวเป็น konnichiha)

German-Thai: Longdo Dictionary
faulenzen(vi) |faulenzte, hat gefaulenzt| เกียจคร้าน ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ เช่น Am Wochenende habe ich oft gefaulenzt z.B. im Bett gelesen und ferngesehen. วันเสาร์อาทิตย์ฉันมักอยู่ว่างๆ เฉยๆ ตัวอย่างเช่น โดยการอ่านหนังสือบนเตียงและดูทีวี

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top