Search result for

*โปรแกรม*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: โปรแกรม, -โปรแกรม-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bloatware(n) โปรแกรมที่มีความสามารถหลากหลายแต่ก็สิ้นเปลืองทรัพยากรของเครื่องมากเกินความจำเป็น

Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ(n, phrase) Computer Package at Work

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
โปรแกรม(n) program, See also: instruction, Syn. รายการ, Example: ไม่รู้ว่าโปรแกรมหนังเดือนนี้มีอะไรน่าสนใจบ้าง
โปรแกรม(n) program, See also: instruction, Syn. ชุดคำสั่ง, Example: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ในปัจจุบันมีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเก่ามาก, Count Unit: โปรแกรม, ชุด, Thai Definition: ชุดคำสั่งที่กำหนดระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
นักโปรแกรม(n) programmer, Example: ปัจจุบันตลาดแรงงานต้องการนักโปรแกรมที่มีฝีมือกันมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการทำโปรแกรม
โปรแกรมย่อย(n) function sub-program, See also: sub-program, subprogram, Example: การเขียนโปรแกรมในภาษาสูงบางครั้งจำเป็นต้องสร้างโปรแกรมย่อยในภาษาเครื่องขึ้นมาใช้งาน
โปรแกรมหลัก(n) main program
โปรแกรมเมอร์(n) programmer, Syn. นักเขียนโปรแกรม, Example: ์เมื่อนักวิเคราะห์ระบบวิเคราะห์งานเสร็จเรียบร้อยแล้วโปรแกรมเมอร์ก็ลงมือพัฒนาโปรแกรม, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์, Notes: (อังกฤษ)
โปรแกรมควบคุม(n) control program, Example: การปฏิบัติการกลุ่มระเบียนกระทำโดยใช้โปรแกรมควบคุมข้อมูลในโปรแกรมปฏิบัติการ, Count Unit: โปรแกรม, Thai Definition: โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยเฉพาะเพื่อใช้สำหรับวางกำหนดการและตรวจการปฏิบัติการของโปรแกรมต่างๆ
โปรแกรมใช้งาน(n) application program, Example: โปรแกรมใช้งานที่จะนำมาทดสอบนั้นต้องเป็นตัวเดียวกัน, Count Unit: โปรแกรม, ชุด, Thai Definition: ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปที่มีความสามารถทำงานเฉพาะอย่าง
โปรแกรมการประมวลผล(n) processing program, Example: ในการสรุปผล เราสามารถใช้โปรแกรมการประมวลผลได้ทันที
โปรแกรมคอมพิวเตอร์(n) computer program, Example: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ชื่อคุกเกอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รวบรวมเอาประสบการณ์การหุงต้มอาหารของนายซิมิโนไว้, Count Unit: โปรแกรม
โปรแกรมตรวจหาไวรัส(n) virus scan program, See also: virus checking program, Example: เวลาที่เราสงสัยว่ามีไวรัสอยู่ในเครื่องเราก็ต้องวิ่งโปรแกรมตรวจหาไวรัสเมื่อพบว่าแฟ้มใดถูกจู่โจม
โปรแกรมภาษาเครื่อง(n) object program, See also: target program, Example: โปรแกรมภาษาเครื่องไม่ได้จัดในรูปแบบที่ปฏิบัติการได้, Count Unit: โปรแกรม, Thai Definition: โปรแกรมที่ผ่านคอมไพเลอร์หรือแอสเซมเบลอร์แล้ว

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
โปรแกรมน. กำหนดการ
โปรแกรมรายการแสดง.
โปรแกรมคอมพิวเตอร์น. คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่นำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานหรือเพื่อให้ได้รับผลอย่างหนึ่งอย่างใด.
ไวรัสคอมพิวเตอร์น. ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถแพร่ไปสู่โปรแกรมอื่น ๆ ด้วยการสำเนาตัวเองไปไว้ในโปรแกรมนั้น ๆ ซึ่งอาจทำความเสียหายแก่โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูล.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
private libraryคลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
processing programmeโปรแกรมประมวลผล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
programmerนักเขียนโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
programming๑. การเขียนโปรแกรม๒. การสร้างโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
programming๑. การเขียนโปรแกรม๒. การสร้างโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
programming languageภาษาโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program flowchartผังงานโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program generatorตัวสร้างโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program generatorตัวสร้างโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
program library; libraryคลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program library; libraryคลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
programmable interrupt controller (PIC)ตัวควบคุมการขัดจังหวะแบบโปรแกรมได้ (พีไอซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
PIC (programmable interrupt controller)พีไอซี (ตัวควบคุมการขัดจังหวะแบบโปรแกรมได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
programmable read-only memory (PROM)หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้ (พร็อม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
programme๑. แผนงาน, กำหนดการ๒. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
programme controlการควบคุมด้วยโปรแกรม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
programmed checkการตรวจสอบด้วยโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
programmerนักเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
programmerนักเขียนโปรแกรม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
plug-in programโปรแกรมเสริม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
packageโปรแกรมสำเร็จ [ มีความหมายเหมือนกับ software package ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program๑. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง๒. สร้างโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
program๑. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง๒. สร้างโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
program address counterตัวนับเลขที่อยู่โปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
PROM (programmable read-only memory)พร็อม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
PROM programmerพร็อมโปรแกรมเมอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
link loaderโปรแกรมบรรจุเชื่อมโยง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
linkerโปรแกรมเชื่อมโยง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
logic programmingการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
loading program; loader; loading routineโปรแกรมบรรจุ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
loading program; loader; loading routineโปรแกรมบรรจุ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
library; program libraryคลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
library; program libraryคลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
loader; loading program; loading routineโปรแกรมบรรจุ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
relocatable programโปรแกรมย้ายที่อยู่ได้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
robust programโปรแกรมทนทาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
stored program control (SPC)การควบคุมด้วยโปรแกรม (เอสพีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
search engineโปรแกรมค้นหา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
statistical packageโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
symbolic programmingการเขียนโปรแกรมเชิงสัญลักษณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
server๑. เครื่องบริการ, ตัวบริการ๒. โปรแกรมบริการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
server๑. เครื่องบริการ, ตัวบริการ๒. โปรแกรมบริการ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
system libraryคลังโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
screen saverโปรแกรมถนอมหน้าจอ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
soft errorความผิดพลาดด้านโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
systems programmerนักเขียนโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
systems programmingการเขียนโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
sound playerโปรแกรมเล่นเสียง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
sound playerโปรแกรมเล่นเสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
service programโปรแกรมบริการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Compilerตัวแปลโปรแกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Computer programmingการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Optical characters recognitionการรู้จำตัวอักษร (โปรแกรมแปลงภาพเอกสารเป็นข้อความ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Enhanced machine controlโปรแกรมสำหรับควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกลให้สามารถทำงานได้อย่างอัตโนมัติตามรหัสคำสั่ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Nonlinear programmingการโปรแกรมไม่เชิงเส้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Accessโปรแกรมแอคเซส, Example: โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลที่ผลิตและนำออกจำหน่ายโดยบริษัทไมโครซอฟต์สำหรับใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในระบบวินโดวส์ [เศรษฐศาสตร์]
Computer programmingการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Assembly languageภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรม, Example: แต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์]
Course wareโปรแกรมบทเรียน, Example: โปรแกรมที่จัดทำขึ้นสำหรับใช้สอนเนื้อหาบทเรียนและเพื่อการฝึกอบรม [คอมพิวเตอร์]
Structured programmingการโปรแกรมโครงสร้าง [คอมพิวเตอร์]
Quadratic programmingการโปรแกรมเชิงกำลังสอง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Programming mathematicsการโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Integer programmingการโปรแกรมเชิงจำนวนเต็ม [คอมพิวเตอร์]
Logic programmingการโปรแกรมเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์]
Genetic programming (Computer science))การโปรแกรมเชิงพันธุกรรม [คอมพิวเตอร์]
Object-oriented programming (Computer science))การโปรแกรมเชิงวัตถุ [คอมพิวเตอร์]
Linear programmingการโปรแกรมเชิงเส้น [คอมพิวเตอร์]
Systems programming (Computer science))การโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์]
Installation programโปรแกรมติดตั้ง [คอมพิวเตอร์]
INSTALL.BATโปรแกรมติดตั้งเพื่อคลายโปรแกรมกลับสู่รูปแบบที่จะนำมาดำเนินการได้ [คอมพิวเตอร์]
Integrated programโปรแกรมเบ็ดเสร็จ [คอมพิวเตอร์]
Interactive programโปรแกรมแบบโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์]
Loaderโปรแกรมบรรจุ [คอมพิวเตอร์]
Paint programโปรแกรมระบาย [คอมพิวเตอร์]
Programmingการเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์]
Programmerนักเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์]
Program๑. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง ๒. สร้างโปรแกรม, ๑. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง ๒. สร้างโปรแกรม, Example: รายการคำสั่งที่ให้คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ [คอมพิวเตอร์]
Printer driverโปรแกรมขับเครื่องพิมพ์ [คอมพิวเตอร์]
Compiler (computer program)คอมไพเลอร์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์]
Sequence controller, Programmableเครื่องควบคุมต่อเนื่องแบบโปรแกรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Programmable controllerเครื่องควบคุมแบบโปรแกรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
routineรูทีน, โปรแกรมใช้ประจำ, Example: โปรแกรมที่อีกโปรแกรมหนึ่งเรียกไว้ใช้บ่อยๆ [คอมพิวเตอร์]
runดำเนินงาน, วิ่ง (โปรแกรม), Example: เริ่มให้โปรแกรมดำเนินงาน เมื่อเราวิ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมนั้นจากจานแม่เหล็กบรรจุโปรแกรมนั้นในหน่วยความจำ แล้วจึงให้โปรแกรมนั้นดำเนินงานจนได้ผลลัพธ์ [คอมพิวเตอร์]
screen saverโปรแกรมรักษาจอ, Example: หลังจากเปิดคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานจนได้ผลลัพธ์ หรือระหว่างใช้งานอยู่ และคอมพิวเตอร์กำลังแสดงข้อความบางอย่างบนจอนั้น ผู้ใช้อาจมีกิจธุระอื่น เช่น รับโทรศัพท์ หรือเดินไปห้องน้ำเป็นเวลานาน การปล่อยให้คอมพิวเตอร์แสดงข้อความขึ้นบนจอเป็นเวลานานๆ จุดภาพบนจอจะเสื่อมเพราะถูกยิงด้วยลำแสงอิเล็กตรอนตลอดเวลา ดังนั้นจึงมีโปรแกรมรักษาจอเอาไว้ใช้งาน โปรกรมรักษาจอนี้จะเปลี่ยนภาพที่ค้างบนจอให้กลายเป็นภาพอื่นที่มีการเคลื่อนไหว เช่น เป็นภาพปลากำลังว่ายน้ำไปมา เมื่อผู้ใช้ต้องการกลับมาทำงานต่อก็เพียงแต่เคาะแป้นใดแป้นหนึ่งเท่านั้น ภาพที่โปรแกรมรักษาหน้าจอแสดงอยู่ก็จะหายไป [คอมพิวเตอร์]
structural languageภาษาโครงสร้าง, เทคนิคในการใช้โครงสร้างควบคุมภายในภาษาโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่ได้ไม่ซับซ้อนมากเกินไป โครงสร้างควบคุมที่ใช้กันได้แก่ การทำงานตามลำดับ การทำงานซ้ำตามเงื่อนไข การเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เทคนิคนี้นิยมใช้กันในภาษาคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ [คอมพิวเตอร์]
structural programmingการเขียนโปรแกรมโครงสร้าง, การเขียนโปรแกรมโดยใช้เฉพาะโครงสร้างควบมากเกินไปคุมที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้โปรแกรมซับซ้อนมากเกินไป วิธีนี้ช่วยช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น อันจะทำให้แก้ไขดัดแปลงโปรแกรมได้ง่ายขึ้นด้วย [คอมพิวเตอร์]
subroutineโปรแกรมย่อย, โปรแกรมที่ถูกโปรแกรมอื่นเรียกใช้งาน [คอมพิวเตอร์]
syntax errorผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์]
Desktopโปรแกรมเดสก์ทอป, Example: โปรแกรมใดๆ ที่จัดแสดงเนื้อที่บนจอไว้ให้ทำงานเหมือนเนื้อที่บนโต๊ะ [คอมพิวเตอร์]
Device driverโปรแกรมขับอุปกรณ์, Example: โปรแกรมที่บอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะทำงานกับอุปกรณ์ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์นั้นอย่างไร เช่น โปรแกรมขับเครื่องพิมพ์เป็นตัวบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะสื่อสารกับเครื่องพิมพ์นั้นอย่างไรจึงจะเข้าใจกัน [คอมพิวเตอร์]
Diagnostic programโปรแกรมวินิจฉัย, Example: โปรแกรมที่ทดสอบคอมพิวเตอร์และช่วยให้เราค้นหาปัญหาที่ทำให้ระบบทำงานไม่ได้ตามที่ควร [คอมพิวเตอร์]
Documentผลงานใดๆ ที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมประยุกต์แล้วเก็บบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลในแผ่นดิสก์ [คอมพิวเตอร์]
Documentationเอกสารกำกับโปรแกรม, Example: เอกสารอธิบายรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์ [คอมพิวเตอร์]
Editorบรรณาธิการ หรือ โปรแกรมบรรณาธิการ [คอมพิวเตอร์]
Full-screen editorโปรแกรมบรรณาธิการแบบเต็มจอ [คอมพิวเตอร์]
utility programโปรแกรมอรรถประโยชน์, Example: โปรแกรมที่ช่วยให้เราใช้งานคอมพิวเตอร์ได้สะดวกขึ้น เช่น ช่วยจัดการแฟ้มข้อมูล วินิจฉัยและแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการใช้เครื่อง และการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ [คอมพิวเตอร์]
graphical user interfaceส่วนประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ลักษณะการแสดงคำสั่ง โปรแกรม หรือสิ่งอื่ีนๆ เป็นภาพกราฟิก (เรียกว่า icon หรือ สัญรูป) บนจอภาพ [คอมพิวเตอร์]
hypercardโปรแกรมแบบหนึ่งที่ใช้กับเครื่องแมคอินทอช [คอมพิวเตอร์]
Augmentative and Alternative Communication Programซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ "ปราศรัย" ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology]
Computer Aided Instructionสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, โปรแกรมบทเรียน ประกอบด้วย เนื้อหา แบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบ ที่ช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเองเมื่อนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ จัดว่าเป็นอุปกรณ์การสอนชนิดหนึ่ง [Assistive Technology]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ชุดโปรแกรมสำนักงาน[chut prōkraēm samnakngān] (n, exp) EN: office suite (software)  FR: suite bureautique [ f ]
ดาวน์โหลดโปรแกรม[dāolōt prōkraēm] (v, exp) FR: télécharger un logiciel
ฟรีโปรแกรม[frī prōkraēm] (n, exp) EN: freeware  FR: logiciel gratuit [ m ] ; programme gratuit [ m ] ; gratuiciel [ m ] ; freeware [ m ]
การเขียนโปรแกรม[kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: computing programming  FR: programmation (informatique) [ f ]
การติดตั้งโปรแกรม[kān tittang prōkraēm] (n, exp) FR: installation d'un logiciel [ f ] ; installation d'un programme [ f ]
ภาษาการเขียนโปรแกรม[phāsā kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: programming language  FR: langage de programmation [ m ]
ภาษาโปรแกรม[phāsā prōkraēm] (n, exp) EN: programming language  FR: langage de programmation [ m ]
พัฒนาโปรแกรม[phatthanā prōkraēm] (v, exp) FR: développer un programme ; développer une application
แปลโปรแกรม[plaē prōkraēm] (v) EN: compile  FR: compiler
โปรแกรม[prōkraēm] (n) EN: programme ; program (Am.) ; software  FR: programme [ m ] ; logiciel [ m ] ; application informatique [ f ]
โปรแกรมแอกเซส[prōkraēm Aēksēs] (tm) EN: MS Access ; Access  FR: Access [ m ] ; MS Access [ m ] ; logiciel Access [ m ]
โปรแกรมช่วย[prōkraēm chūay] (n, exp) FR: programme utilitaire [ m ] ; logiciel utilitaire [ m ] ; utilitaire [ m ]
โปรแกรมช่วยต่าง ๆ[prōkraēm chūay tāng tāng] (n, exp) FR: divers programmes utilitaires ; divers logiciels utilitaires ; divers utilitaires
โปรแกรมเอ็กเซล[prōkraēm Ēksēl] (tm) EN: MS Excel ; Excel  FR: Excel [ m ] ; MS Excel [ m ] ; tableur Excel [ m ]
โปรแกรมฟรี[prōkraēm frī] (n, exp) EN: freeware  FR: programme gratuit [ m ] ; logiciel gratuit [ m ] ; logiciel libre [ m ] ; gratuiciel [ m ]
โปรแกรมการฝึก[prōkraēm kān feuk] (n, exp) EN: training program = training programme (Am.)  FR: programme d'entraînement [ m ]
โปรแกรมคอมพิวเตอร์[prōkraēm khømphiūtoē] (n, exp) EN: computer program  FR: programme informatique [ m ] ; application informatique [ f ]
โปรแกรมค้นหา[prōkraēm khonhā] (n, exp) EN: search engine  FR: moteur de recherche [ m ]
โปรแกรมเมอร์[prōkraēmmoē] (n) EN: programmer ; computer programmer  FR: programmeur [ m ]
โปรแกรมแนนำ[prōkraēm naenam] (n, exp) FR: programme recommandé [ m ] ; programme conseillé [ m ]
โปรแกรมป้องกันไวรัส[prōkraēm pøngkan wairas] (n, exp) EN: antivirus program  FR: programme antivirus [ m ] ; antivirus [ m ]
โปรแกรมประมวลผลคำ[prōkraēm pramūanphon kham] (n, exp) EN: word processor  FR: (programme de) traitement de texte [ m ]
โปรแกรมสำนักงาน[prōkraēm samnak ngān] (n, exp) FR: logiciel de bureautique [ m ]
โปรแกรมวาดภาพ[prōkraēm wāt phāp] (n, exp) FR: logiciel de dessin [ m ]
โปรแกรมวาดภาพแบบเว็กเตอร์[prōkraēm wāt phāp baēp wektoē] (n, exp) FR: logiciel de dessin vectoriel [ m ]
ติดตั้งโปรแกรม[tittang prōkraēm] (v, exp) EN: install software  FR: installer un logiciel ; installer un programme
ตัวแปลโปรแกรม[tūa plaē prōkraēm] (n) EN: compiler  FR: compilateur [ m ]

English-Thai: Longdo Dictionary
MFC(name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL
paste(vt) วาง, แปะ (ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถ เลือก text หรือ object อื่นๆ, ตัด (cut) ลบออก หรือ ทำสำเนา (copy) (ซึ่งจะนำเก็บเข้าในกระดานทด หรือ clipboard ไว้ด้วย) แล้ว วาง, แปะ (paste) ไปยังที่อื่นๆ เป็นการย้าย หรือทำสำเนา text, object นั้นๆ)
skype(vt) สนทนาด้วยเสียงโดยใช้คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นกริยาที่ผันมาจากชื่อโปรแกรม Skype ที่ใช้ในการสนทนา ดังปรากฏใน USA Today (17 ธันวาคม 2004) ว่า "To 'Skype' is to call someone over your computer."
browser(n) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เปิดดูเว็บ (web browser) ตัวอย่าง เช่น Microsoft Internet Explorer, Mozilla Firefox, Opera, Safari, Konqueror, Google Chrome, Netscape เป็นต้น
instagram[อิน'สตาแกรม] (n) โปรแกรมฟิลเต้อร์และลูกเล่นในตัวกล้องถ่ายรูปเพื่อการตบแต่งภาพถ่ายอิเล็กทรอนิกส์ให้โทนสีแปลกไปตามต้องการ พร้อมช่วยให้เกิดความสะดวกแก่การเชื่อมต่อไปยัง Social Media ต่างๆ เช่น Facebook และ Twitter เป็นต้น
application(n) โปรแกรมประยุกต์ในระบบคอมพิวเตอร์ สามารถใช้คำทับศัพท์ แอปพลิเคชัน ได้

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
application(n) โปรแกรมคอมพิวเตอร์
application program(n) โปรแกรมใช้งาน
Basic(n) ภาษาเบสิก, See also: โปรแกรมภาษาของคอมพิวเตอร์
batch processing(n) การประมวลผลอย่างต่อเนื่องของโปรแกรมคอมพิวเตอร์, Syn. data processing
bill(n) รายการ, See also: โปรแกรม, Syn. outline, program
browser(n) โปรแกรมที่ช่วยค้นหาหรืออ่านเอกสารบนอินเตอร์เนต
code(vt) เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
driver(n) ตัวขับ (อุปกรณ์คอมพิวเตอร์), See also: โปรแกรมขับ
editor(n) โปรแกรมการจัดการข้อมูล (ของคอมพิวเตอร์)
exit(vt) จบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์, Syn. terminate
exit(vi) จบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์, Syn. terminate
hack(vi) เจาะเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างผิดกฎหมาย
hacker(n) ผู้ทำงานอย่างหามรุ่งหามค่ำ (ทางคอมพิวเตอร์), See also: ผู้เจาะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นคำที่ใช้ในหมู่นักเขียนโปรแกรมหมายถึงผู้แสดงหาควา
LAN(abbr) โครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะบริเวณ เช่น ในอาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านาจะทำงานร่วมกันได้ ดึงโปรแกรมหรือข้อมูลจากกันและกันได้ แต่การทำเช่นนี้จะต้องใช้ซอฟแวร์ช่วยด้วย (คำย่อของ local area network)
library(n) การเก็บรวมโปรแกรมของคอมพิวเตอร์
load(vt) ถ่ายข้อมูลหรือโปรแกรมในคอมพิวเตอร์
morph(vi) เปลี่ยนภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
morph(vt) เปลี่ยนภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
morphing(n) การเปลี่ยนภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
multitasking(n) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลากหลายในเวลาเดียวกัน, Syn. multi-tasking
program(n) แผนงาน, See also: โปรแกรม, แผนการ, Syn. schedule, agenda
program(vt) เขียนโปรแกรม, See also: เขียนชุดคำสั่ง
programer(n) นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
programer(n) ผู้จัดโปรแกรม
programme(vt) เขียนโปรแกรม
programmer(n) ผู้เขียนโปรแกรม, See also: ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์, โปรแกรมเมอร์, Syn. programer
programming(n) กระบวนการเขียนและทดสอบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์
app(sl) โปรแกรมใช้งาน, See also: ซอฟแวร์
translator(n) โปรแกรมแปลภาษา
tutorial(n) โปรแกรมการสอนในคอมพิวเตอร์
wallet(n) โปรแกรมการซื้อขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (ทางคอมพิวเตอร์)
Web Browser(n) โปรแกรมสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เนตหรือเวิลด์ไวด์เว็บ, See also: เว็บเบราเซอร์
processor(n) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้าง จัดเก็บ ตรวจแก้ พิมพ์คำ ข้อความ (ทางคอมพิวเตอร์), See also: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อความ
workfare(n) โปรแกรมการทำงานหรือฝึกอบรมที่รัฐจัดให้คนว่างงาน, See also: เพื่อตอบแทนที่รัฐบาลให้เงินสวัสดิการ

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
+เครื่องหมาย cross hairs เป็นรูปลักษณ์ของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) แบบหนึ่ง ที่แตกต่างกันออกไปในบางโปรแกรม เช่น ในโปรแกรมการวาดภาพในระบบวินโดว์ส มักมีลักษณะเป็นเส้นตัดกัน (+) แทนที่จะเห็นเป็นลูกศรตามปกติ
^<คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น
abc(เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด
access methodวิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ
accessoriesโปรแกรมประกอบหมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ ที่โปรแกรมระบบเตรียมให้มาไว้ใช้เป็นโปรแกรมประกอบ หรือโปรแกรมที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน เช่น โปรแกรมประกอบของโปรแกรม ระบบวินโดว์ 95 หรือ 98 จะมีโปรแกรม NotePad, Paint, WordPad , Multimedia, Calculator เป็นต้น
active windowวินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า
ada(เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800
add-on programโปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น)
adobe pagemakerโปรแกรมอโดบี เพจเมกเกอร์ <คำแปล>PageMakerเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง เดิมใช้ชื่อ Aldus PageMaker
adobe photoshopโปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น)
algol(แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal)
algorithm(แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้
all-purpose computerคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ
alpha testการทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ
alpha versionรุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ
ami proโปรแกรมอามิโพร <คำแปล>เป็นชื่อโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมหนึ่ง ไม่สู้เป็นที่นิยมนัก
ansi c(แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ
antivirusป้องกันไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ จะหมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ช่วยป้องกัน ตรวจหา และกำจัดไวรัสก่อนที่ไวรัสนั้นจะเข้ามาทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนมากจะสามารถระบุชื่อไวรัสได้ด้วยดู virus ประกอบ
api(เอพีไอ) ย่อมาจาก application program interface หมายถึงวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิม เช่น เอพีไอจะกำหนดขั้นตอนมาตรฐานให้โปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ทำงาน โดยวิธีให้ผู้ใช้เลือกจากรายการคำสั่ง (menu) หรือตอบคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) แทนที่จะต้องจำคำสั่งอย่างแต่ก่อน การใช้ระบบวินโดว์บนเครื่องพีซีก็ดี OS/2 ก็ดี หรือระบบของแมคอินทอช ก็ดี ล้วนเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของการนำเอพีไอมาใช้
apple menuเมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น
appleshare(แอปเปิลแชร์) หมายถึง โปรแกรมระบบปฏิบัติการที่จะใช้ในข่ายงาน (network) ที่บริษัทแอปเปิลสร้างขึ้นสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช (ดู networks ประกอบ)
application(แอพพลิเค'เชิน) n. การสมัคร, ความเกี่ยวข้อง, ความมีประโยชน์, การใช้, การร้องขอ, คำร้องขอ, ใบสมัคร, ความสนใจอย่างใกล้ชิด, การประยุกต์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับรูปแบบหนึ่งรูปแบบใด, Syn. administration, utility, request
application programโปรแกรมประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือ โปรแกรมทำคะแนน
application softwareซอฟต์แวร์ประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือโปรแกรมทำคะแนนมีความหมายเหมือน application program
application windowวินโดว์โปรแกรม <คำแปล>หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window)
arc(อาร์ค) 1. n. ส่วนโค้ง, ความโค้ง, สะพานเรืองแสงที่อยู่ระหว่างปลายหรือ conductors ทั้งสอง, สิ่งที่มีรูปคล้ายคันศร -S...curve, arch, bend 2. เป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการหลอมรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แฟ้มเข้าเป็นแฟ้มเดียวกัน เพื่อให้ใช้เนื้อที่ในการเก็บน้อยลง โปรแกรมนี้เคยได้รับความนิยมอย่างสูงมาก่อน ต่อมาความนิยมได้ลดลงเพราะมีโปรแกรมใหม่กว่า มีผู้นิยมใช้มากกว่า มีชื่อเรียกว่า ZIP โปรแกรมประเภทนี้จะสามารถอัด (compress) ข้อมูลจำนวนมาก ๆ ให้เก็บได้ในเนื้อที่น้อย ๆ เช่นในจานบันทึก (floppy disk) แต่เมื่อจะใช้ จะต้องนำมาขยายเป็นขนาดปกติก่อน เรียกว่า decompress (ดู compress)
ascii fileแฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
assemble(อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้
assemblerแอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language
assembly languageภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU)
attribute(อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น
authoring systemระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น
autocad(ออโตแคด) เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการออกแบบที่โด่งดังมากที่สุดในยุคนี้ ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมากว่าสิบปีแล้ว สามารถสร้างแบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติได้ สร้างแบบจำลอง (model) ได้โดยทำให้เหมือนจริง หมุนดูทิศทางต่าง ๆ ได้ นิยมใช้ในการออกแบบโครงสร้างอาคาร รถยนต์ เรือ เครื่องบิน ฯ เมื่อจะแสดงผลในกระดาษ ต้องใช้กับเครื่องวาด (plotter) ดู CAD ประกอบ
autoexec.batชื่อแฟ้มคำสั่งรวม <คำแปล>เป็นชื่อของแฟ้มเก็บคำสั่งรวม (batch file) แฟ้มหนึ่ง ถือเป็นแฟ้มพิเศษ เพราะคอมพิวเตอร์จะทำตามคำสั่งในแฟ้มที่ชื่อนี้ทันทีที่เปิดเครื่อง โดยมาก จะเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาหาว่า โปรแกรมที่ต้องการอยู่ในสารบบ (directory) ใด ใช้คำสั่งเข้าไปในสารบบนั้น แล้วจึงตามด้วยชื่อแฟ้มที่เป็นโปรแกรม แต่ผู้ใช้สามารถพิมพ์ชื่อโปรแกรมได้เลย ตัวอย่างแฟ้ม autoexec.bat ที่นำเข้าสู่ โปรแกรม FoxPro โดยผ่านโปรแกรม VTHAI อาจมีข้อความดังนี้ echo off cls cd FOXPRO25 VTHAI/U CD\ AUX : axis :
babbage, charles(ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ
backspace keyปุ่มย้อนถอยหลัง <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ บางทีมีขนาดยาวกว่าแป้นพิมพ์อื่น บางทีมีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรหันหัวลูกศรไปทางซ้าย (บางทีมีคำ BS) โปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรมกำหนดไว้ว่า การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ถอยไปทางซ้าย 1 ตัวอักษร และลบตัวอักษรทางซ้ายนั้นออกให้ด้วย
bak(แบ็ก) คำ ๆ นี้ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลเพื่อบ่งบอกว่า เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (backup file) เช่น autoexec.bak (แฟ้มข้อมูลเดิมชื่อ autoexec.bat) นี้ ในบางกรณี โปรแกรมจะสร้างนามสกุลให้แฟ้มข้อมูลเหล่านี้เองโดยไม่ต้องสั่ง โดยเฉพาะถ้ามีการเก็บแฟ้มข้อมูลที่นำมาแก้ไขแล้วซ้ำอีกครั้งหนึ่ง แฟ้มที่แก้ใหม่จะใช้ชื่อเดิม แต่แฟ้มเดิมจะกลายเป็นแฟ้มสำรอง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำบางโปรแกรม
basic(เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที
bbs(บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
bcd(บีซีดี) ย่อมาจาก binary coded decimal ถ้าแปลตรง ๆ ก็คือ เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง เป็นเทคนิคที่ใช้ใน การเขียนโปรแกรมเพื่อประกันความแม่นตรงของการคำนวณ โปรแกรมประเภท ตารางจัดการ (spreadsheet) มักใช้เทคนิคนี้
benchmarkการวัดเปรียบเทียบสมรรถนะเกณฑ์มาตรฐานหมายถึง การทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการประมวลผล หรือการทำงานของ โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน
beta testทดสอบรอบสองหมายถึง โปรแกรมที่ทำออกมาให้ลูกค้าทำการทดสอบเป็นครั้งที่สอง (ครั้งแรกเรียกว่า alpha test) เพื่อจะดูว่า โปรแกรมดังกล่าวปฏิบัติงานตามที่ต้องการได้เรียบร้อยครบถ้วนดีแล้วหรือยัง ก่อนที่จะนำออกขายในตลาด โปรแกรมที่นำออกมาทดสอบเหล่านี้มักจะมีเขียนบอกไว้ด้วย เพื่อให้ผู้ใช้รู้ว่า ยังเป็นโปรแกรมที่อยู่ในขั้นทดลองใช้ เช่น Alpha 1, Beta 5 ซึ่งหมายถึง รุ่น 1.0 หรือ 5.0 นั่นเองดู alpha test ประกอบ
bezier curveรูปโค้งเบซิเอร์หมายถึง รูปเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์รูปหนึ่ง เป็นโค้งที่ไม่มีรูปลักษณ์ที่มีกฏเกณฑ์เป็นสูตรกำหนด การสร้างเส้นโค้งในโปรแกรมบางโปรแกรม จะต้องเริ่มด้วยการลากเส้นตรงขึ้นมาเส้นหนึ่งก่อน แล้วสร้างจุดสองจุดบนเส้นตรงนั้น ใช้เมาส์ดึงแต่ละจุดขึ้นไป ในทิศทางที่ต่างกัน ก็จะได้โค้งแบบเบซีเอร์ ขึ้นมา
bill of faren. รายการสินค้า, โปรแกรม, บัญชีรายการอาหาร
bios(ไบออส) ย่อมาจาก Basic Input/Output System เป็นชื่อโปรแกรมชุดหนึ่งซึ่ง จะควบคมการทำงานของคอมพิวเตอร์ในส่วนที่เกี่ยวกับการนำข้อมูลเข้าไปเก็บและการแสดงผล (หน่วยบันทึก แผงแป้นอักขระ จอภาพฯ) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บไบออสนี้ไว้ในชิปตัวหนึ่งที่สร้างมาให้อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (built in) หรือที่เรียกว่า "รอม" (ROM) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะอ่านคำสั่งในไบออสก่อนเสมอ
bitmapped graphic(กราฟิกบิตแมป) หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped image
bitmapped imageภาพบิตแมป <คำแปล>หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped graphic
bookmarkn. ที่คั่นหนังสือ, ริบบิ้นหรือกระดาษคั่นหนังสือ ที่คั่นหนังสือคั่นหน้า1. การใช้ที่คั่นหนังสือนั้นเพื่อประโยชน์ในการกลับมาหาที่เก่าได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาค้นหา ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ทำไว้ให้ง่ายในการกลับมาค้นหา 2. เป็นคำสั่งในโปรแกรมบางโปรแกรมที่ช่วยให้กลับมาค้นหาง่าย กล่าวคือนำข้อความหรือคำสั่งมารวมไว้ หากต้องการสั่งก็จะหาพบได้ง่าย เช่น ในโปรแกรมเน็ตสเคป (ใช้อินเตอร์เน็ต) การเลือกคำสั่ง bookmark หมายถึงการนำชื่อโฮมเพจที่จะใช้บ่อย ๆ ไปเก็บรวมไว้ เมื่อต้องการกลับไปใช้อีก จะได้สั่งได้สะดวก
boolean logicตรรกะแบบบูลหมายถึง ค่า"จริง" (True) หรือ "ไม่จริง " (False) ใช้มากในการเขียนโปรแกรม เป็นหลัก พิชคณิต ที่ตั้งตามชื่อของผู้คิด คือ ยอร์ช บูล (George Boole) หลักทั่วไปคล้ายพิชคณิต ธรรมดา แต่ใช้ระบบเลขฐานสอง
bootstrapn. รูเชือกผูกรองเท้า ปลุกเครื่องเรียกย่อ ๆ ว่า boot1. หมายถึงการเปิดเครื่องด้วยการบรรจุซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) เข้าไปในหน่วยความจำหลัก (main memory) 2. อาจหมายถึงเทคนิควิธีในการบรรจุโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง (program) ทั้งปวงที่มีอยู่ ลงไปในหน่วยความจำหลัก

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
antispyware(n) การป้องกันสปายแวร์, การป้องกันโปรแกรมไม่พึงประสงค์
Backdoor account(n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้
Browse-wrap Contractหรือ Browse-wrap Agreement หมายถึงข้อสัญญาหรือข้อกำหนดการใช้ งานเว็บไซต์ที่โพสต์ใส่ไว้ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะทำเป็น hyperlink ไว้ด้านล่างของหน้าจอ ข้อสัญญาชนิดนี้ไม่ต้องมีการคลิก I agree หรือฉันตกลง สัญญาชนิด Browse wrap จึงไม่มีการแสดงความยินยอมของผู้ใช้อย่างชัดแจ้ง เพียงแต่มีการใช้งานเว็บไซต์หรือดาวน์โหลดโปรแกรมก็ถือว่าตกลงทำสัญญาแล้วได้
cyber securityความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
dynamic loading[ไดนามิก โหลดดิ้ง] (n) การมีใช้ตลอดเวลาในขณะที่ทำการรันโปรแกรม, See also: dynamic
garena(n) โปรแกรมจำลองระบบ Lan ใช้สำหรับเล่นเกมส์ Online
grid(n) ตารางในโปรแกรม Microsoft Excel, Syn. table
Image:
gridline(n) เส้นตารางในโปรแกรม Microsoft Excel
hackathonกิจกรรมสร้างสรรค์และพัฒนา มากจากกลุ่มนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาร่วมชุมนุมกันในการเจาะทดสอบระบบคอมพิวเตอร์ว่ามีจุดอ่อนหรือควรแก้ไขอย่างไรบ้าง
hard code(vi, slang) เป็นข้อปฏิบัติในการพัฒนาซอฟท์แวร์ โดยการแนบอินพุทและการตั้งค่าต่างๆเอาไว้ใน source code ของโปรแกรมโดยตรงเลย, See also: hardcode, hardcoding, hard-code, hard-coding
kerning[เคิน-นิ่ง] (n) การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัว "อักษรสองตัว" ให้มากขึ้นจากระยะปกติที่กำหนดไว้ในมาตรฐานของรูปแบบตัวอักษรนั้นๆ ส่วนใหญ่พบได้ในโปรแกรมพิมพ์งานต่างๆ เช่น Microsoft Word เป็นต้น เช่น การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัวอักษร "ก" กับ "า" ในคำว่า "การ" จะได้ผลเป็น "ก าร" (มีช่องว่างหนึ่งช่องระหว่าง ก ไก่ กับสระอา //อ้างอิงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Kerning, See also: tracking, Syn. kern
Image:
malware(n) Malicious software (mal-ware) is a form of computer program designed with malicious intent. This intent may be to cause annoying pop-up ads with the hope you click on one and generate revenue, or forms of spyware and viruses that can be used to steal your identity or track your activities. รูปแบบหนึ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ถูกออกแบบมาด้วยจุดประสงค์แอบแฝงบางอย่าง จุดประสงค์ดังกล่าวอาจจะเพื่อสร้างหน้าต่างโฆษณาที่เปิดขึ้นมาเองโดยอัติโนมัติ ด้วยความหวังที่ว่าจะให้คุณกดเข้าไปและสร้างรายได้ให้กับบุคคลเหล่านั้น หรือ รูปแบบของ spyware และ ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้เพื่อการขโมยตัวตนของคุณบนอินเตอร์เน็ต หรือ ติดตามกิจกรรมต่างของคุณ, Syn. Malicious software
msn[เอ็มเอสเอ็น] โปรแกรม Messenger สำหรับสนทนาระหว่าง อีเมลล์ ของ Hotmail และอื่นๆ สามารถโต้ตอบโดยผ่านสื่อได้หลายสื่อ เช่น กล้องเว็บแคม , ไมโครโฟน , Text , Short sound ฯลฯ
Shrink Wrap Licenseสัญญาอนุญาตให้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีลักษณะเป็นสัญญาตัวอย่าง (Model Contract) เพื่อให้ผู้ที่ประสงค์จะขออนุญาตใช้ลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวใช้เป็นแบบในการทำสัญญา
suite(n) ชุดโปรแกรม
syster softwareโปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทำงานทั่วไปของระบบคอมพิวเตอร์
WM wareเป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่
XCode[เอ็ก-โค้ด] (คำย่อ) กลุ่มของเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมในระบบปฎิบัติการ Mac OS X หรือ iOS
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
計画[けいかく, keikaku] TH: โปรแกรม  EN: program
プログラム[ぷろぐらむ, puroguramu] TH: โปรแกรม(คอมพิวเตอร์)

German-Thai: Longdo Dictionary
Programm(n) |das, pl. Programme| โปรแกรม
knacken(vt) |knackte, hat geknackt, etw.(A)| ถอดรหัส, เจาะเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างผิดกฎหมาย เช่น Die Passwörter wie 'Kitty' und 'Tokyo' kann man sich zwar leicht merken, sie sind aber eben auch genauso einfach zu knacken.

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Quellprogramm { n }(n) แหล่งที่มาของโปรแกรม
Quellprogramm { n }(n) แหล่งที่มาของคำสั่งในโปรแกรม

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top